SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1
บทที่ 1 ตอนที่ 2
ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ค ว า ม สำา คัญ ข อ ง ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ
สำานักงาน (Office Information Systems)
ผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน (ต่อ)
คุณสมบัติ
ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานจะต้องมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ใน
พื้นฐานต่างๆ ทางธุรกิจ ทั้งนี้เนื่องจาก “การจัดการบริหารสำานักงาน” มี
ธรรมชาติหลักคือ การให้ความสนับสนุน และ ถูกวางรูปแบบของลักษณะ
งานไว้เพื่อช่วยให้บุคลากรอื่นๆ ภายในองค์การ ได้บรรลุเป้าหมายส่วน
บุคคลหรือเป้าหมายขององค์การ ดังนั้นพื้นฐานที่ดีในด้านต่างๆ เช่น การ
บัญชี การตลาด การจัดการทั่วไป สถิติ เศรษฐศาสตร์ และ จิตวิทยา เป็นสิ่ง
จำาเป็นสำาหรับบุคคลที่จะมาทำางานในด้านนี้ ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานที่
รับผิดชอบในด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบจะพบว่า ความเข้าใจ
อย่างถ่องแท้ในเนื้องานของงานในสายงานตามหน้าที่ต่างๆ เช่น การผลิต
การตลาด และ การเงิน เป็นประโยชน์มาก
ความรู้เฉพาะทางในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ มีความสำาคัญเช่นกัน คือ
การทำาให้งานนั้นๆ เข้าใจง่าย (work simplification)
การวัดผลของงาน (work measurement)
การกำาหนดมาตรฐานงาน (work standards)
การจัดการด้านการจัดเก็บบันทึก (records management)
การประมวลผลข้อมูล (data processing)
การวิเคราะห์งาน (job analysis)
การประเมินงาน (job evaluation)
การออกแบบสำานักงาน (office layout)
ด้านอุปกรณ์สำานักงาน (office equipment)
การควบคุมค่าใช้จ่าย (cost control)
การประเมินผลดำาเนินงาน (performance appraisal)
การคัดเลือกบุคลากร (employee selection)
การปรับปรุงเพิ่มผลผลิต (productivity improvement)
การประมวลผลคำา (word processing) และ
สำานักอัตโนมัติ (office automation)
ความเป็นผู้นำาเป็นคุณสมบัติที่สำาคัญอีกประการหนึ่ง ความจำาเป็นที่
ต้องมีทักษะที่ดีในการเป็นผู้นำาเพิ่มขึ้นตามระดับความรับผิดชอบดูแลที่เพิ่ม
ขึ้น ความมีประสิทธิผลในทักษะความเป็นผู้นำาทำาให้บุคคลผู้นั้นสามารถ
ชักชวนและกระตุ้นให้ผู้อื่นคล้อยตามหรือกระทำาตามและยังเป็นการปลูกฝัง
ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความต้องการที่จะกระทำาการไปในทิศทางที่ตอบ
สนองต่อความต้องการสูงสุดขององค์การ ซื่อสัตว์ต่อองค์การ และให้ความ
ร่วมมือ นอกจากนี้ทักษะในการดำาเนินความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ก็เป็นสิ่ง
จำาเป็นอย่างยิ่งสำาหรับผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน
บทนำา OIS
oisLC1-2
2
คุณสมบัติทางด้านการเป็นผู้มีพฤติกรรมทางศีลธรรมจรรยาที่ดี เป็น
อีกคุณสมบัติหนึ่งที่ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานต้องมี องค์การต่างๆ เริ่มมี
ความใส่ใจในเรื่องศีลธรรมจรรยาและการแสดงออกถึงพฤติกรรมเหล่านั้น
ระหว่างบุคคลมากกว่าช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ความขาดแคลนในพฤติกรรม
ที่มีศีลธรรมและจรรยาระหว่างบุคลากรทำาให้เกิดการสูญเสียทั้งด้าน
ทรัพย์สินและชื่อเสียงต่อองค์การจำานวนหนึ่ง
ความสามารถในการกระจายความรับผิดชอบเป็นคุณสมบัติที่สำาคัญ
อีกข้อหนึ่งของผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ
และการสื่อสารเป็นทักษะที่จำา เป็นเช่นเดียวกัน ผู้จัดการงานบริหาร
สำานักงานจำาเป็นต้องยอมรับมุมมองของคนอื่นๆ และสามารถทำาการตัดสิน
อย่างเหมาะสมที่สุด ยิ่งไปกว่านั้นผู้จัดการบริหารสำานักงานต้องมีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์และต้องการที่จะเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบมือ
อาชีพ ทั้งนี้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบมืออาชีพนั้น หนทางที่ดีที่สุด
สำาหรับผู้จัดการงานบริหารสำานักงานที่จะเพิ่มเติมความเป็นมืออาชีพก็คือ
การเข้าร่วมกับองค์การระดับมืออาชีพหรือสมาคมต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ประกาศนียบัตร เช่น ประกาศนียบัตรผู้จัดการงานบริหารทั่วไป (the
Certified Administrative Manager) – C.A.M. ซึ่งเป็นหลักสูตรระดับ
ประกาศนียบัตรสำาหรับผู้จัดการงานบริหารทั่วไป ซึ่งการเข้าสอบเพื่อรับ
ประกาศนียบัตรดังกล่าว มีกฎเกณฑ์ดังนี้ ต้องมีประสบการณ์อย่างน้อย 2 ปี
ทางด้านการจัดการงานบริหารทั่วไป ผ่านการทดสอบระดับต้นคือ
ประกาศนียบัตรสำาหรับผู้จัดการ และต้องผ่านการทดสอบในขั้นที่ 2 ที่มี
เนื้อหาครอบคลุมหลักการต่างๆ เช่น การจัดการระบบสำานักงาน (office
systems management) การจัดการระบบสารสนเทศ (information
systems management) และ การจัดการด้านการเงิน (financial
management)
พื้นฐานการศึกษา
การที่จะเป็นผู้จัดการงานบริหารสำานักงานที่ประสบความสำาเร็จได้นั้น
จำาเป็นจะต้องมีพื้นฐานการศึกษาขั้นตำ่าเฉพาะทางผนวกกับประสบการณ์
การทำางานที่เหมาะสม โดยทั่วไปผู้จัดการงานบริหารสำานักงานมักไม่ใช่
ตำาแหน่งงานที่เป็นการรับสมัครแล้วคัดเลือกเข้าไปทำาหน้าที่โดยตรง ส่วน
ใหญ่ผู้ที่ได้ตำาแหน่งนี้มักจะต้องไต่เต้ามาตามระดับขั้นและได้ทำาหน้าที่เป็น
” ”หัวหน้างานด้านใดด้านหนึ่งของงาน การจัดการบริหารสำานักงาน เช่น
งานประมวลผลข้อมูลมาก่อน นอกจากนี้ความรู้ในวิชาต่างๆ ต่อไปนี้ที่สอน
ในระดับวิทยาลัยก็เป็นประโยชน์อย่างมากต่อผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน
วิชาเหล่านี้ได้แก่ บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมายธุรกิจ การเงิน สถิติ รวมทั้ง
ด้านการจัดการบริหารสำานักงาน นอกจากนี้ยังมีวิชาที่มีประโยชน์อื่นๆ เช่น
จิตวิทยา สังคมวิทยา และ มนุษย์สัมพันธ์
โพรไฟล์ (Profile)
โพรไฟล์ของผู้จัดการงานบริหารสำา นักงาน คือ เพศชาย อายุ
ประมาณ 40 – 50 ปี เงินเดือนประมาณ สองแสนบาท วุฒิปริญญาตรี และ
บทนำา OIS
oisLC1-2
3
ต้องเคยเป็นหัวหน้างานที่ดูแลทีมงานตั้งแต่ 3 – 14 คน ประสบการณ์ใน
การทำางาน 10 –15 ปี และอยู่ในตำาแหน่งผู้จัดการงานบริหารสำานักงานมา
ประมาณ 5 ปีหรืออาจน้อยกว่านั้น
จากการเพิ่มมากขึ้นของสถานบันการศึกษาต่างๆ ในหลักสูตร “ระบบ
”สำานักงาน และ “ ”การจัดการบริหารสำานักงาน ทำาให้ผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชา
นี้มีโอกาสในงานดังกล่าวโดยตรง กล่าวคือ ผู้ที่จบการศึกษาในด้านนี้มา
โดยตรงแต่ยังมีประสบการณ์การทำางานในด้านนี้หรือใกล้เคียงยังไม่มากนัก
มีโอกาสที่จะเข้ามาสู่สายอาชีพนี้ได้เร็วขึ้น และพวกเขาพบว่าการได้รับการ
ศึกษาอบรมมาโดยตรงในด้านนี้ทำาให้พวกเขาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากกว่าผู้ที่อยู่ในสายอาชีพนี้ในยุคก่อนพวกเขา
บทบาทและทักษะ
ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานรับผิดชอบงานในบทบาทและทักษะ
ต่างๆ ภายในองค์การของพวกเขา ในส่วนของบทบาท (roles) หมายถึง
กลุ่มของพฤติกรรมและงานที่ได้รับมอบหมายต่างๆ ที่พวกเขาถูกคาดหมาย
ให้ดำาเนินการ ทักษะ (skill) ในทางตรงกันข้าม หมายถึง ความสามารถ
ส่วนบุคคลที่แต่ละคนมีและช่วยให้พวกเขาดำาเนินบทบาทต่างๆ ได้ดี
ตัวอย่างของบทบาทที่สำาคัญๆ ของผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน
ได้แก่ บทบาทการตัดสินใจ (decision-making roles) บทบาทการ
จัดการสารสนเทศ (information-management roles) และการบริหาร
ค น (interpersonal roles) ผู้ จั ด ก า ร ง า น บ ริ ห า ร สำา นั ก ง า น ที่ มี
ประสิทธิภาพสามารถตัดสินใจในเรื่องบุคลากร การปฏิบัติการ และ
ทรัพยากรต่างๆ โดยธรรมชาติของงานในตำาแหน่งนี้ทำาให้พวกเขาต้องรับ
ผิดชอบในการบำารุงรักษาและใช้ข้อมูลในการดำาเนินงานสำาคัญๆ และใน
ขณะเดียวกันพวกเขายังต้องจัดการข้อมูลในระดับองค์การอย่างมี
ประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน และสิ่งสุดท้าย พวกเขาต้องร่วมงานกับผู้ใต้บังคับ
บัญชา ผู้ที่อยู่ในแวดวงเดียวกัน และหัวหน้าอย่างมีประสิทธิภาพด้วย
ส่วนทักษะสำาคัญๆ ที่พวกเขาจำาเป็นต้องมี คือ ทักษะทางด้านเทคนิค
ทักษะทางด้านแนวคิดหลักการ และทักษะเกี่ยวกับคน กล่าวคือ จาก
เทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา ผู้จัดการต้องสามารถใช้เทคโนโลยีเหล่านั้น
ได้ดีและต้องช่วยให้บุคคลอื่นใช้ประโยชน์จากเทคนิคเหล่านั้นได้สูงสุดด้วย
เช่นกัน ส่วนทักษะทางด้านหลักการและแนวคิดช่วยให้ผู้จัดการงานบริหาร
สำานักงานสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ที่หลากหลายได้ทั้งที่เป็นทาง
ด้านเทคนิคและไม่ใช่ทางด้านเทคนิคเพื่อวางแนวทางในการแก้ปัญหา
สำาหรับทักษะเกี่ยวกับคนทำาให้พวกเขาสามารถทำางานผ่านคนอื่นหรือ
ทำางานกับคนอื่น ผู้ใต้บังคับบัญชา บุคคลร่วมวงการ และหัวหน้างาน ได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ความรับผิดชอบของผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน
ทางด้านการวางแผน (Planning Function)
การวางแผน (Planning) คือหน้าที่ของการจัดการอย่างหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้อง
กับการกำาหนดเป้าหมายและการกำาหนดกลยุทธ์สำาหรับการปฏิบัติงานของ
บทนำา OIS
oisLC1-2
4
องค์การในอนาคตและการตัดสินใจในงาน รวมทั้งทรัพยากรที่ใช้
ประโยชน์ตามความต้องการเพื่อให้บรรลุผลสำาเร็จ
ปัจจัยภายนอกมีผลต่อการวางแผน การวางแผนทำาได้โดยอาศัย
พื้นฐานจากการคาดคะเนหรือการพยากรณ์ โดยอาศัยข้อมูลในอดีต การ
รวบรวมความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ในการวางแผนทุกอย่างจะต้องยืดหยุ่น
และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีการดำาเนินการต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเริ่ม
แรกที่ได้ตั้งไว้
1. สร้างเป้าหมายและจุดมุ่งหมายสำาหรับงานในแต่ละหน้าที่และการ
บริการต่างๆ รวมถึงการออกแบบ
สิ่งแวดล้อม การสื่อสารโทรคมนาคม การประมวลคำา ระบบอัตโนมัติ
การประมวลข้อมูลอีเลกทรอนิกส์ การจัดการบันทึกต่างๆ การ
ออกแบบแบบฟอร์มต่างๆ การทำาสำาเนาเอกสาร บริการไปรษณีย์ และ
การควบคุมในปฏิบัติการต่างๆ
2. ต้องพัฒนาตนให้ตามทันกับพัฒนาการใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในสาขา และ
ตัดสินใจว่ามีการเปลี่ยนแปลงใดๆ บ้างในงานหน้าที่ต่างๆ หรือ
บริการต่างๆ ที่ต้องดำาเนินการเพื่อให้องค์การเป็นหนึ่งในผู้ลำ้ายุค
3. ประเมินความจำาเป็นในการออกแบบและนำาไปใช้จริงของงานใน
หน้าที่หรือบริการใหม่ๆ
4. พัฒนานโยบายที่จะช่วยเป็นหลักประกันในการไปถึงยังเป้าหมายและ
จุดมุ่งหมาย
5. กำาหนดวิถีทางที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการนำาการเปลี่ยนแปลงใดๆ
ไปทำาให้เป็นผล
6. สร้างงบประมาณของหน่วยงาน
7. กำาหนดความต้องการด้านบุคลากร
8. กำาหนดความต้องการด้านสถานที่และอุปกรณ์ที่ต้องการ
9. ออกแบบระบบปฏิบัติการใหม่ๆ
ทางด้านการจัดองค์การ (Organizing Function)
การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึงการกำาหนดกิจกรรมต่าง ๆ ใน
สำานักงาน กำาหนดว่าใครทำาอะไรบ้าง และภายใต้สิ่งแวดล้อมอะไร เป็นการ
จัดใต้สิ่งแวดล้อมของงาน การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ การจัดหา
วัสดุและเครื่องจักรที่จำาเป็น การสร้างความสัมพันธ์ที่เหมาะสมภายในหน่วย
งานและระหว่างบุคลากร การจัดองค์การในสำานักงานประกอบด้วยกิจกรรม
ดังต่อไปนี้
1. กำาหนดวิถีทางที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการจัดการทรัพยากร
ต่างๆ เพื่อให้องค์การบรรลุ
เป้าหมายและจุดมุ่งหมาย
2. กำาหนดวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำาหรับบุคลากรในการ
ดำาเนินงานใดๆ โดยเฉพาะ
3. ออกแบบวิธีการและขั้นตอนการดำาเนินการที่มีประสิทธิภาพ
บทนำา OIS
oisLC1-2
5
4. ทำำ ให้แน่ใจได้ว่ำมีกำรใช้อุปกรณ์ต่ำงๆ ขององค์กำรอย่ำงมี
ประโยชน์สูงสุด
5. พัฒนำเทคนิคต่ำงๆ เพื่อสร้ำงผลผลิตสูงสุดของบุคลำกรหรือของ
องค์กำร
6. พัฒนำวิธีกำรหรือเทคนิคต่ำงๆ ในกำรนำำควำมเปลี่ยนแปลงต่ำงๆ ไป
เริ่มใช้
7. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรประเมินอุปกรณ์ต่ำงๆ ก่อนมี
กำรจัดนำำมำใช้
ทำงด้ำนจัดสรรบุคลำกร (Staffing Function)
กำรจัดบุคคลเข้ำทำำงำน (Staffing) เป็นกำรสรรหำ คัดเลือกบุคคลที่เหมำะ
สม และกำรพัฒนำเพื่อให้มั่นใจว่ำองค์กำรมีพนักงำนที่มีควำมสำมำรถทุก
ระดับงำน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กำรทั้งในระยะสั้นและระยะยำว
ประกอบด้วยหน้ำที่ที่สำำคัญดังนี้
1. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำมีขบวนกำรคัดสรรบุคลำกรที่มีประสิทธิภำพ รวมทั้ง
กำรวำงตำำแหน่งงำนและ
กำรปฐมนิเทศ
2. จัดให้มีโอกำสในกำรเติบโตและประสบกำรณ์ในสำยงำนอย่ำงเหมำะ
สมเพียงพอ
3. จัดให้มีกำรฝึกอบรมเชิงประสบกำรณ์อย่ำงเหมำะสม
4. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำมีกำรประเมินผลบุคลำกรอย่ำงมีประสิทธิภำพ
5. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำมีกำรกำำหนดรำยละเอียดหน้ำที่กำรงำนที่ดำำเนิน
งำนได้จริง
ทำงด้ำนกำรสั่งกำร (Directing Function)
กำรอำำนวยกำรหรือกำรสั่งกำร (Direct or command) เป็นกระบวนกำร
ที่ผู้บังคับบัญชำแจ้งผู้ใต้บังคับบัญชำทรำบถึงสิ่งที่ต้องกระทำำกำรอำำนวย
กำรใช้หลักกำรต่อไปนี้
1. หลักกำรมีผู้บังคับบัญชำเพียงคนเดียว (Unity of Command)
คือหลักกำรบริหำรซึ่งระบุว่ำผู้ใต้บังคับบัญชำแต่ละคนควรรำยงำนต่อผู้
บังคับบัญชำเพียงคนเดียวโดยแต่ละแผนกจะมีหัวหน้ำของตนเอง มีภำระรับ
ผิดชอบในกำรวิเครำะห์ขั้นสุดท้ำยนำำเสนอผู้อำำนวยกำรและนำำเสนอต่อกร
รมกำรบริหำรต่อไป
2. หลักกำรกระจำยอำำนำจหน้ำที่ (Authority) เป็นกำรมอบหมำย
หน้ำที่ควำมรับผิดชอบไปสู่ผู้ใต้บังคับบัญชำแต่ละระดับที่ได้รับกำรกระจำ
ยงำนจะต้องมีภำระหน้ำที่ (accountability) อันเป็นกระบวนกำรซึ่งผู้ใต้
บังคับบัญชำจะต้องรำยงำนกำรใช้ทรัพยำกรต่อผู้บังคับบัญชำตำมสำยงำน
1. ใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภำพในกำรดูแลบุคลำกร
บทนำำ OIS
oisLC1-2
6
2. ใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภำพในกำรกระตุ้นให้กำำลังใจในกำรทำำงำนต่อ
บุคลำกร
3. ออกแบบสำยกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงหน่วยงำนที่มีประสิทธิภำพ
4. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำบุคลำกรมีกำรดำำเนินกำรเป็นไปตำมนโยบำยและ
ขบวนกำรขององค์กำร
5. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำผลกำรดำำเนินงำนของบุคลำกรเป็นไปตำมที่คำด
หวัง
6. ช่วยบุคลำกรในกำรแก้ปัญหำที่เกี่ยวข้องกับกำรทำำงำน
7. ใช้กฎเกณฑ์หรือหลักเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรมและยุติธรรมในกำรปรับ
อัตรำเงินเดือนบุคลำกร
ทำงด้ำนกำรควบคุม (Controlling Function)
กำรควบคุม (Control) คือกระบวนกำรตรวจสอบกิจกรรมเพื่อให้เกิด
ควำมมั่นใจว่ำสำมำรถบรรลุวัตถุประสงค์ตำมแผนและมีกำรแก้ไขสิ่งที่
แตกต่ำงที่เป็นปัญหำสำำคัญขององค์กำรให้ประสบควำมสำำเร็จตำมเป้ำ
หมำยได้
1. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรควบคุมทั้งคุณภำพและ
ประสิทธิภำพของงำนในด้ำนใดๆ
ที่ผู้จัดกำรงำนบริหำรสำำนักงำนรับผิดชอบ
2. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรกำำหนดตำรำงทำำงำน
3. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรกำำหนดสถำนภำพของงำนที่ยัง
ไม่เสร็จสมบูรณ์
4. ดูแลจัดกำรงบประมำณของหน่วยงำน
5. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำวิธีกำรและขบวนกำรต่ำงๆ มีควำมคุ้มค่ำต่อค่ำใช้
จ่ำยที่ใช้ไป
6. มีกำรกระตุ้นบุคลำกรในคำำนึงและระมัดระวังถึงค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆ
7. พัฒนำขบวนกำรประเมินผลในกำรกำำหนดว่ำทำำไมผลงำนดำำเนิน
งำนจริงถึงได้แตกต่ำงจำกผลที่เกิดจำกควำมคำดหวัง
8. พัฒนำขบวนกำรที่มีประสิทธิภำพในกำรจัดกำรกับบุคลำกรที่ทำำผิด
กฎหรือนโยบำยต่ำงๆ ขององค์กำร
9. พัฒนำขบวนกำรในกำรดำำเนินกำรแก้ไขใดๆ ณ สถำนที่และเวลำที่
จำำเป็นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ระบบสำรสนเทศสำำนักงำน
บทนำำ OIS
oisLC1-2
7
The Office Information Management Technology program prepares students to serve as
administrative support personnel. In general, most will assist managers and supervisors in the areas
of written, oral, and electronic communications, document preparation and processing, desktop
publishing, business presentations, and information/records management using efficient office
procedures and integrated software.
Virtually all businesses and civil service offices employ administrative support personnel, making it
possible to find employment in all parts of the country.
Graduates of this program are prepared for certification testing including Office Professional
Assessment Certification (OPAC) and Microsoft Office User Specialist (MOUS). With experience, the
graduate can test for the Certified Professional Secretary (CPS) rating.
http://www.osu-okmulgee.edu/ois/
The Office Information Systems Program prepares students with a foundation
in technology utilized in the office environment. This foundation can lead to
supervisory positions and leadership opportunities. Students learn skills and
knowledge related to selecting and maintaining software applications and
office systems.
Certificate: Office Information Systems; Information
Processing Assistant
Degree: Associate in Science with a major in Office
Information Systems
http://smccd.net/accounts/skyline/bus/ois.html
Opportunities in Office Information Systems
The office specialist now participates more directly in the conduct of business than in
the past and is a highly valued employee in any office. The Olive-Harvey Office
Information Systems program will teach you the latest advances in word processing,
desktop publishing and office management techniques while improving your
communications skills vital to the area. When you leave the program you will have
keyboarding skills with sufficient accuracy and speed that will make employment
possible. Many graduates seek jobs with titles similar to secretary, and the job
opportunities are great. According to the US Department of Labor Bureau of Labor
Statistics, "Secretaries held 3,324,000 jobs in 1992, making this one of the largest
occupations in the US economy...employment opportunities should be quite
บทนำำ OIS
oisLC1-2
8
plentiful...The very large size of the occupation, coupled with moderate turnover,
generates several hundred thousand secretarial positions each year." The certificate
programs qualify students for entry-level positions such as office assistants,
receptionists, general office clerks, data entry or word processing operators.
http://www.ccc.edu/oliveharvey/acaddep/business/ois/in
dex.htm
OFFICE INFORMATION SYSTEMS (undergraduate - leading
to a Bachelor of Science in Business Administration degree)
The program places heavy emphasis on end-user computing with
program requirements based on the Organizational Systems
Research Association curriculum model. Graduates are
prepared to manage human resources, plan for and implement
new techniques, analyze office environments, and evaluate the
impact of technology on an organization's policies and
procedures.
http://cob.bloomu.edu/beois/beoismainpage.htm#ois
บทนำำ OIS
oisLC1-2

More Related Content

Viewers also liked

ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 
Classificació estàndard dels videojocs
Classificació estàndard dels videojocsClassificació estàndard dels videojocs
Classificació estàndard dels videojocsMarc Forcada Sánchez
 
Al user guide 201012(PPT)
Al user guide 201012(PPT)Al user guide 201012(PPT)
Al user guide 201012(PPT)小琪 郭
 
ผลไม้ต้านมะเร็ง
ผลไม้ต้านมะเร็งผลไม้ต้านมะเร็ง
ผลไม้ต้านมะเร็งPrapasri Chuy-o
 
Al user guide 201012(PDF)
Al user guide 201012(PDF)Al user guide 201012(PDF)
Al user guide 201012(PDF)小琪 郭
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]Prapasri Chuy-o
 

Viewers also liked (15)

ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
บีเกิล
บีเกิลบีเกิล
บีเกิล
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
บีเกิล
บีเกิลบีเกิล
บีเกิล
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
Classificació estàndard dels videojocs
Classificació estàndard dels videojocsClassificació estàndard dels videojocs
Classificació estàndard dels videojocs
 
บีเกิล
บีเกิลบีเกิล
บีเกิล
 
บีเกิล
บีเกิลบีเกิล
บีเกิล
 
Al user guide 201012(PPT)
Al user guide 201012(PPT)Al user guide 201012(PPT)
Al user guide 201012(PPT)
 
ผลไม้ต้านมะเร็ง
ผลไม้ต้านมะเร็งผลไม้ต้านมะเร็ง
ผลไม้ต้านมะเร็ง
 
Al user guide 201012(PDF)
Al user guide 201012(PDF)Al user guide 201012(PDF)
Al user guide 201012(PDF)
 
ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]ผลไม้ต้าน..[1]
ผลไม้ต้าน..[1]
 
Va de mestres
Va de mestresVa de mestres
Va de mestres
 

Similar to Ois lc1 2

นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานการพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานSiriporn Tiwasing
 
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)Nat Thida
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)pattarawadee
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 

Similar to Ois lc1 2 (20)

บทความ1
บทความ1บทความ1
บทความ1
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Competency
CompetencyCompetency
Competency
 
%Ba%b
%Ba%b%Ba%b
%Ba%b
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 
Handbook Development
Handbook DevelopmentHandbook Development
Handbook Development
 
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานการพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
 
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
Human capital analytics
Human capital analyticsHuman capital analytics
Human capital analytics
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 

Ois lc1 2

  • 1. 1 บทที่ 1 ตอนที่ 2 ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ค ว า ม สำา คัญ ข อ ง ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ สำานักงาน (Office Information Systems) ผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน (ต่อ) คุณสมบัติ ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานจะต้องมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ใน พื้นฐานต่างๆ ทางธุรกิจ ทั้งนี้เนื่องจาก “การจัดการบริหารสำานักงาน” มี ธรรมชาติหลักคือ การให้ความสนับสนุน และ ถูกวางรูปแบบของลักษณะ งานไว้เพื่อช่วยให้บุคลากรอื่นๆ ภายในองค์การ ได้บรรลุเป้าหมายส่วน บุคคลหรือเป้าหมายขององค์การ ดังนั้นพื้นฐานที่ดีในด้านต่างๆ เช่น การ บัญชี การตลาด การจัดการทั่วไป สถิติ เศรษฐศาสตร์ และ จิตวิทยา เป็นสิ่ง จำาเป็นสำาหรับบุคคลที่จะมาทำางานในด้านนี้ ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานที่ รับผิดชอบในด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบจะพบว่า ความเข้าใจ อย่างถ่องแท้ในเนื้องานของงานในสายงานตามหน้าที่ต่างๆ เช่น การผลิต การตลาด และ การเงิน เป็นประโยชน์มาก ความรู้เฉพาะทางในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ มีความสำาคัญเช่นกัน คือ การทำาให้งานนั้นๆ เข้าใจง่าย (work simplification) การวัดผลของงาน (work measurement) การกำาหนดมาตรฐานงาน (work standards) การจัดการด้านการจัดเก็บบันทึก (records management) การประมวลผลข้อมูล (data processing) การวิเคราะห์งาน (job analysis) การประเมินงาน (job evaluation) การออกแบบสำานักงาน (office layout) ด้านอุปกรณ์สำานักงาน (office equipment) การควบคุมค่าใช้จ่าย (cost control) การประเมินผลดำาเนินงาน (performance appraisal) การคัดเลือกบุคลากร (employee selection) การปรับปรุงเพิ่มผลผลิต (productivity improvement) การประมวลผลคำา (word processing) และ สำานักอัตโนมัติ (office automation) ความเป็นผู้นำาเป็นคุณสมบัติที่สำาคัญอีกประการหนึ่ง ความจำาเป็นที่ ต้องมีทักษะที่ดีในการเป็นผู้นำาเพิ่มขึ้นตามระดับความรับผิดชอบดูแลที่เพิ่ม ขึ้น ความมีประสิทธิผลในทักษะความเป็นผู้นำาทำาให้บุคคลผู้นั้นสามารถ ชักชวนและกระตุ้นให้ผู้อื่นคล้อยตามหรือกระทำาตามและยังเป็นการปลูกฝัง ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความต้องการที่จะกระทำาการไปในทิศทางที่ตอบ สนองต่อความต้องการสูงสุดขององค์การ ซื่อสัตว์ต่อองค์การ และให้ความ ร่วมมือ นอกจากนี้ทักษะในการดำาเนินความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ก็เป็นสิ่ง จำาเป็นอย่างยิ่งสำาหรับผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน บทนำา OIS oisLC1-2
  • 2. 2 คุณสมบัติทางด้านการเป็นผู้มีพฤติกรรมทางศีลธรรมจรรยาที่ดี เป็น อีกคุณสมบัติหนึ่งที่ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานต้องมี องค์การต่างๆ เริ่มมี ความใส่ใจในเรื่องศีลธรรมจรรยาและการแสดงออกถึงพฤติกรรมเหล่านั้น ระหว่างบุคคลมากกว่าช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ความขาดแคลนในพฤติกรรม ที่มีศีลธรรมและจรรยาระหว่างบุคลากรทำาให้เกิดการสูญเสียทั้งด้าน ทรัพย์สินและชื่อเสียงต่อองค์การจำานวนหนึ่ง ความสามารถในการกระจายความรับผิดชอบเป็นคุณสมบัติที่สำาคัญ อีกข้อหนึ่งของผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ และการสื่อสารเป็นทักษะที่จำา เป็นเช่นเดียวกัน ผู้จัดการงานบริหาร สำานักงานจำาเป็นต้องยอมรับมุมมองของคนอื่นๆ และสามารถทำาการตัดสิน อย่างเหมาะสมที่สุด ยิ่งไปกว่านั้นผู้จัดการบริหารสำานักงานต้องมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์และต้องการที่จะเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบมือ อาชีพ ทั้งนี้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบมืออาชีพนั้น หนทางที่ดีที่สุด สำาหรับผู้จัดการงานบริหารสำานักงานที่จะเพิ่มเติมความเป็นมืออาชีพก็คือ การเข้าร่วมกับองค์การระดับมืออาชีพหรือสมาคมต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง ประกาศนียบัตร เช่น ประกาศนียบัตรผู้จัดการงานบริหารทั่วไป (the Certified Administrative Manager) – C.A.M. ซึ่งเป็นหลักสูตรระดับ ประกาศนียบัตรสำาหรับผู้จัดการงานบริหารทั่วไป ซึ่งการเข้าสอบเพื่อรับ ประกาศนียบัตรดังกล่าว มีกฎเกณฑ์ดังนี้ ต้องมีประสบการณ์อย่างน้อย 2 ปี ทางด้านการจัดการงานบริหารทั่วไป ผ่านการทดสอบระดับต้นคือ ประกาศนียบัตรสำาหรับผู้จัดการ และต้องผ่านการทดสอบในขั้นที่ 2 ที่มี เนื้อหาครอบคลุมหลักการต่างๆ เช่น การจัดการระบบสำานักงาน (office systems management) การจัดการระบบสารสนเทศ (information systems management) และ การจัดการด้านการเงิน (financial management) พื้นฐานการศึกษา การที่จะเป็นผู้จัดการงานบริหารสำานักงานที่ประสบความสำาเร็จได้นั้น จำาเป็นจะต้องมีพื้นฐานการศึกษาขั้นตำ่าเฉพาะทางผนวกกับประสบการณ์ การทำางานที่เหมาะสม โดยทั่วไปผู้จัดการงานบริหารสำานักงานมักไม่ใช่ ตำาแหน่งงานที่เป็นการรับสมัครแล้วคัดเลือกเข้าไปทำาหน้าที่โดยตรง ส่วน ใหญ่ผู้ที่ได้ตำาแหน่งนี้มักจะต้องไต่เต้ามาตามระดับขั้นและได้ทำาหน้าที่เป็น ” ”หัวหน้างานด้านใดด้านหนึ่งของงาน การจัดการบริหารสำานักงาน เช่น งานประมวลผลข้อมูลมาก่อน นอกจากนี้ความรู้ในวิชาต่างๆ ต่อไปนี้ที่สอน ในระดับวิทยาลัยก็เป็นประโยชน์อย่างมากต่อผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน วิชาเหล่านี้ได้แก่ บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมายธุรกิจ การเงิน สถิติ รวมทั้ง ด้านการจัดการบริหารสำานักงาน นอกจากนี้ยังมีวิชาที่มีประโยชน์อื่นๆ เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา และ มนุษย์สัมพันธ์ โพรไฟล์ (Profile) โพรไฟล์ของผู้จัดการงานบริหารสำา นักงาน คือ เพศชาย อายุ ประมาณ 40 – 50 ปี เงินเดือนประมาณ สองแสนบาท วุฒิปริญญาตรี และ บทนำา OIS oisLC1-2
  • 3. 3 ต้องเคยเป็นหัวหน้างานที่ดูแลทีมงานตั้งแต่ 3 – 14 คน ประสบการณ์ใน การทำางาน 10 –15 ปี และอยู่ในตำาแหน่งผู้จัดการงานบริหารสำานักงานมา ประมาณ 5 ปีหรืออาจน้อยกว่านั้น จากการเพิ่มมากขึ้นของสถานบันการศึกษาต่างๆ ในหลักสูตร “ระบบ ”สำานักงาน และ “ ”การจัดการบริหารสำานักงาน ทำาให้ผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชา นี้มีโอกาสในงานดังกล่าวโดยตรง กล่าวคือ ผู้ที่จบการศึกษาในด้านนี้มา โดยตรงแต่ยังมีประสบการณ์การทำางานในด้านนี้หรือใกล้เคียงยังไม่มากนัก มีโอกาสที่จะเข้ามาสู่สายอาชีพนี้ได้เร็วขึ้น และพวกเขาพบว่าการได้รับการ ศึกษาอบรมมาโดยตรงในด้านนี้ทำาให้พวกเขาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากกว่าผู้ที่อยู่ในสายอาชีพนี้ในยุคก่อนพวกเขา บทบาทและทักษะ ผู้จัดการงานบริหารสำานักงานรับผิดชอบงานในบทบาทและทักษะ ต่างๆ ภายในองค์การของพวกเขา ในส่วนของบทบาท (roles) หมายถึง กลุ่มของพฤติกรรมและงานที่ได้รับมอบหมายต่างๆ ที่พวกเขาถูกคาดหมาย ให้ดำาเนินการ ทักษะ (skill) ในทางตรงกันข้าม หมายถึง ความสามารถ ส่วนบุคคลที่แต่ละคนมีและช่วยให้พวกเขาดำาเนินบทบาทต่างๆ ได้ดี ตัวอย่างของบทบาทที่สำาคัญๆ ของผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน ได้แก่ บทบาทการตัดสินใจ (decision-making roles) บทบาทการ จัดการสารสนเทศ (information-management roles) และการบริหาร ค น (interpersonal roles) ผู้ จั ด ก า ร ง า น บ ริ ห า ร สำา นั ก ง า น ที่ มี ประสิทธิภาพสามารถตัดสินใจในเรื่องบุคลากร การปฏิบัติการ และ ทรัพยากรต่างๆ โดยธรรมชาติของงานในตำาแหน่งนี้ทำาให้พวกเขาต้องรับ ผิดชอบในการบำารุงรักษาและใช้ข้อมูลในการดำาเนินงานสำาคัญๆ และใน ขณะเดียวกันพวกเขายังต้องจัดการข้อมูลในระดับองค์การอย่างมี ประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน และสิ่งสุดท้าย พวกเขาต้องร่วมงานกับผู้ใต้บังคับ บัญชา ผู้ที่อยู่ในแวดวงเดียวกัน และหัวหน้าอย่างมีประสิทธิภาพด้วย ส่วนทักษะสำาคัญๆ ที่พวกเขาจำาเป็นต้องมี คือ ทักษะทางด้านเทคนิค ทักษะทางด้านแนวคิดหลักการ และทักษะเกี่ยวกับคน กล่าวคือ จาก เทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา ผู้จัดการต้องสามารถใช้เทคโนโลยีเหล่านั้น ได้ดีและต้องช่วยให้บุคคลอื่นใช้ประโยชน์จากเทคนิคเหล่านั้นได้สูงสุดด้วย เช่นกัน ส่วนทักษะทางด้านหลักการและแนวคิดช่วยให้ผู้จัดการงานบริหาร สำานักงานสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ที่หลากหลายได้ทั้งที่เป็นทาง ด้านเทคนิคและไม่ใช่ทางด้านเทคนิคเพื่อวางแนวทางในการแก้ปัญหา สำาหรับทักษะเกี่ยวกับคนทำาให้พวกเขาสามารถทำางานผ่านคนอื่นหรือ ทำางานกับคนอื่น ผู้ใต้บังคับบัญชา บุคคลร่วมวงการ และหัวหน้างาน ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความรับผิดชอบของผู้จัดการงานบริหารสำานักงาน ทางด้านการวางแผน (Planning Function) การวางแผน (Planning) คือหน้าที่ของการจัดการอย่างหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้อง กับการกำาหนดเป้าหมายและการกำาหนดกลยุทธ์สำาหรับการปฏิบัติงานของ บทนำา OIS oisLC1-2
  • 4. 4 องค์การในอนาคตและการตัดสินใจในงาน รวมทั้งทรัพยากรที่ใช้ ประโยชน์ตามความต้องการเพื่อให้บรรลุผลสำาเร็จ ปัจจัยภายนอกมีผลต่อการวางแผน การวางแผนทำาได้โดยอาศัย พื้นฐานจากการคาดคะเนหรือการพยากรณ์ โดยอาศัยข้อมูลในอดีต การ รวบรวมความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ในการวางแผนทุกอย่างจะต้องยืดหยุ่น และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีการดำาเนินการต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเริ่ม แรกที่ได้ตั้งไว้ 1. สร้างเป้าหมายและจุดมุ่งหมายสำาหรับงานในแต่ละหน้าที่และการ บริการต่างๆ รวมถึงการออกแบบ สิ่งแวดล้อม การสื่อสารโทรคมนาคม การประมวลคำา ระบบอัตโนมัติ การประมวลข้อมูลอีเลกทรอนิกส์ การจัดการบันทึกต่างๆ การ ออกแบบแบบฟอร์มต่างๆ การทำาสำาเนาเอกสาร บริการไปรษณีย์ และ การควบคุมในปฏิบัติการต่างๆ 2. ต้องพัฒนาตนให้ตามทันกับพัฒนาการใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในสาขา และ ตัดสินใจว่ามีการเปลี่ยนแปลงใดๆ บ้างในงานหน้าที่ต่างๆ หรือ บริการต่างๆ ที่ต้องดำาเนินการเพื่อให้องค์การเป็นหนึ่งในผู้ลำ้ายุค 3. ประเมินความจำาเป็นในการออกแบบและนำาไปใช้จริงของงานใน หน้าที่หรือบริการใหม่ๆ 4. พัฒนานโยบายที่จะช่วยเป็นหลักประกันในการไปถึงยังเป้าหมายและ จุดมุ่งหมาย 5. กำาหนดวิถีทางที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการนำาการเปลี่ยนแปลงใดๆ ไปทำาให้เป็นผล 6. สร้างงบประมาณของหน่วยงาน 7. กำาหนดความต้องการด้านบุคลากร 8. กำาหนดความต้องการด้านสถานที่และอุปกรณ์ที่ต้องการ 9. ออกแบบระบบปฏิบัติการใหม่ๆ ทางด้านการจัดองค์การ (Organizing Function) การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึงการกำาหนดกิจกรรมต่าง ๆ ใน สำานักงาน กำาหนดว่าใครทำาอะไรบ้าง และภายใต้สิ่งแวดล้อมอะไร เป็นการ จัดใต้สิ่งแวดล้อมของงาน การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ การจัดหา วัสดุและเครื่องจักรที่จำาเป็น การสร้างความสัมพันธ์ที่เหมาะสมภายในหน่วย งานและระหว่างบุคลากร การจัดองค์การในสำานักงานประกอบด้วยกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. กำาหนดวิถีทางที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการจัดการทรัพยากร ต่างๆ เพื่อให้องค์การบรรลุ เป้าหมายและจุดมุ่งหมาย 2. กำาหนดวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำาหรับบุคลากรในการ ดำาเนินงานใดๆ โดยเฉพาะ 3. ออกแบบวิธีการและขั้นตอนการดำาเนินการที่มีประสิทธิภาพ บทนำา OIS oisLC1-2
  • 5. 5 4. ทำำ ให้แน่ใจได้ว่ำมีกำรใช้อุปกรณ์ต่ำงๆ ขององค์กำรอย่ำงมี ประโยชน์สูงสุด 5. พัฒนำเทคนิคต่ำงๆ เพื่อสร้ำงผลผลิตสูงสุดของบุคลำกรหรือของ องค์กำร 6. พัฒนำวิธีกำรหรือเทคนิคต่ำงๆ ในกำรนำำควำมเปลี่ยนแปลงต่ำงๆ ไป เริ่มใช้ 7. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรประเมินอุปกรณ์ต่ำงๆ ก่อนมี กำรจัดนำำมำใช้ ทำงด้ำนจัดสรรบุคลำกร (Staffing Function) กำรจัดบุคคลเข้ำทำำงำน (Staffing) เป็นกำรสรรหำ คัดเลือกบุคคลที่เหมำะ สม และกำรพัฒนำเพื่อให้มั่นใจว่ำองค์กำรมีพนักงำนที่มีควำมสำมำรถทุก ระดับงำน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กำรทั้งในระยะสั้นและระยะยำว ประกอบด้วยหน้ำที่ที่สำำคัญดังนี้ 1. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำมีขบวนกำรคัดสรรบุคลำกรที่มีประสิทธิภำพ รวมทั้ง กำรวำงตำำแหน่งงำนและ กำรปฐมนิเทศ 2. จัดให้มีโอกำสในกำรเติบโตและประสบกำรณ์ในสำยงำนอย่ำงเหมำะ สมเพียงพอ 3. จัดให้มีกำรฝึกอบรมเชิงประสบกำรณ์อย่ำงเหมำะสม 4. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำมีกำรประเมินผลบุคลำกรอย่ำงมีประสิทธิภำพ 5. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำมีกำรกำำหนดรำยละเอียดหน้ำที่กำรงำนที่ดำำเนิน งำนได้จริง ทำงด้ำนกำรสั่งกำร (Directing Function) กำรอำำนวยกำรหรือกำรสั่งกำร (Direct or command) เป็นกระบวนกำร ที่ผู้บังคับบัญชำแจ้งผู้ใต้บังคับบัญชำทรำบถึงสิ่งที่ต้องกระทำำกำรอำำนวย กำรใช้หลักกำรต่อไปนี้ 1. หลักกำรมีผู้บังคับบัญชำเพียงคนเดียว (Unity of Command) คือหลักกำรบริหำรซึ่งระบุว่ำผู้ใต้บังคับบัญชำแต่ละคนควรรำยงำนต่อผู้ บังคับบัญชำเพียงคนเดียวโดยแต่ละแผนกจะมีหัวหน้ำของตนเอง มีภำระรับ ผิดชอบในกำรวิเครำะห์ขั้นสุดท้ำยนำำเสนอผู้อำำนวยกำรและนำำเสนอต่อกร รมกำรบริหำรต่อไป 2. หลักกำรกระจำยอำำนำจหน้ำที่ (Authority) เป็นกำรมอบหมำย หน้ำที่ควำมรับผิดชอบไปสู่ผู้ใต้บังคับบัญชำแต่ละระดับที่ได้รับกำรกระจำ ยงำนจะต้องมีภำระหน้ำที่ (accountability) อันเป็นกระบวนกำรซึ่งผู้ใต้ บังคับบัญชำจะต้องรำยงำนกำรใช้ทรัพยำกรต่อผู้บังคับบัญชำตำมสำยงำน 1. ใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภำพในกำรดูแลบุคลำกร บทนำำ OIS oisLC1-2
  • 6. 6 2. ใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภำพในกำรกระตุ้นให้กำำลังใจในกำรทำำงำนต่อ บุคลำกร 3. ออกแบบสำยกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงหน่วยงำนที่มีประสิทธิภำพ 4. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำบุคลำกรมีกำรดำำเนินกำรเป็นไปตำมนโยบำยและ ขบวนกำรขององค์กำร 5. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำผลกำรดำำเนินงำนของบุคลำกรเป็นไปตำมที่คำด หวัง 6. ช่วยบุคลำกรในกำรแก้ปัญหำที่เกี่ยวข้องกับกำรทำำงำน 7. ใช้กฎเกณฑ์หรือหลักเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรมและยุติธรรมในกำรปรับ อัตรำเงินเดือนบุคลำกร ทำงด้ำนกำรควบคุม (Controlling Function) กำรควบคุม (Control) คือกระบวนกำรตรวจสอบกิจกรรมเพื่อให้เกิด ควำมมั่นใจว่ำสำมำรถบรรลุวัตถุประสงค์ตำมแผนและมีกำรแก้ไขสิ่งที่ แตกต่ำงที่เป็นปัญหำสำำคัญขององค์กำรให้ประสบควำมสำำเร็จตำมเป้ำ หมำยได้ 1. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรควบคุมทั้งคุณภำพและ ประสิทธิภำพของงำนในด้ำนใดๆ ที่ผู้จัดกำรงำนบริหำรสำำนักงำนรับผิดชอบ 2. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรกำำหนดตำรำงทำำงำน 3. พัฒนำขั้นตอนที่มีประสิทธิภำพในกำรกำำหนดสถำนภำพของงำนที่ยัง ไม่เสร็จสมบูรณ์ 4. ดูแลจัดกำรงบประมำณของหน่วยงำน 5. ทำำให้มั่นใจได้ว่ำวิธีกำรและขบวนกำรต่ำงๆ มีควำมคุ้มค่ำต่อค่ำใช้ จ่ำยที่ใช้ไป 6. มีกำรกระตุ้นบุคลำกรในคำำนึงและระมัดระวังถึงค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆ 7. พัฒนำขบวนกำรประเมินผลในกำรกำำหนดว่ำทำำไมผลงำนดำำเนิน งำนจริงถึงได้แตกต่ำงจำกผลที่เกิดจำกควำมคำดหวัง 8. พัฒนำขบวนกำรที่มีประสิทธิภำพในกำรจัดกำรกับบุคลำกรที่ทำำผิด กฎหรือนโยบำยต่ำงๆ ขององค์กำร 9. พัฒนำขบวนกำรในกำรดำำเนินกำรแก้ไขใดๆ ณ สถำนที่และเวลำที่ จำำเป็นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ระบบสำรสนเทศสำำนักงำน บทนำำ OIS oisLC1-2
  • 7. 7 The Office Information Management Technology program prepares students to serve as administrative support personnel. In general, most will assist managers and supervisors in the areas of written, oral, and electronic communications, document preparation and processing, desktop publishing, business presentations, and information/records management using efficient office procedures and integrated software. Virtually all businesses and civil service offices employ administrative support personnel, making it possible to find employment in all parts of the country. Graduates of this program are prepared for certification testing including Office Professional Assessment Certification (OPAC) and Microsoft Office User Specialist (MOUS). With experience, the graduate can test for the Certified Professional Secretary (CPS) rating. http://www.osu-okmulgee.edu/ois/ The Office Information Systems Program prepares students with a foundation in technology utilized in the office environment. This foundation can lead to supervisory positions and leadership opportunities. Students learn skills and knowledge related to selecting and maintaining software applications and office systems. Certificate: Office Information Systems; Information Processing Assistant Degree: Associate in Science with a major in Office Information Systems http://smccd.net/accounts/skyline/bus/ois.html Opportunities in Office Information Systems The office specialist now participates more directly in the conduct of business than in the past and is a highly valued employee in any office. The Olive-Harvey Office Information Systems program will teach you the latest advances in word processing, desktop publishing and office management techniques while improving your communications skills vital to the area. When you leave the program you will have keyboarding skills with sufficient accuracy and speed that will make employment possible. Many graduates seek jobs with titles similar to secretary, and the job opportunities are great. According to the US Department of Labor Bureau of Labor Statistics, "Secretaries held 3,324,000 jobs in 1992, making this one of the largest occupations in the US economy...employment opportunities should be quite บทนำำ OIS oisLC1-2
  • 8. 8 plentiful...The very large size of the occupation, coupled with moderate turnover, generates several hundred thousand secretarial positions each year." The certificate programs qualify students for entry-level positions such as office assistants, receptionists, general office clerks, data entry or word processing operators. http://www.ccc.edu/oliveharvey/acaddep/business/ois/in dex.htm OFFICE INFORMATION SYSTEMS (undergraduate - leading to a Bachelor of Science in Business Administration degree) The program places heavy emphasis on end-user computing with program requirements based on the Organizational Systems Research Association curriculum model. Graduates are prepared to manage human resources, plan for and implement new techniques, analyze office environments, and evaluate the impact of technology on an organization's policies and procedures. http://cob.bloomu.edu/beois/beoismainpage.htm#ois บทนำำ OIS oisLC1-2