SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ศิระ ศรีโยธิน
Veridian E-Journal, Sipakorn University
การสร้างแบรนด์ภายในองค์กร และความได้เปรียบในการแข่งขัน
Internal Branding and Competitive Advantage
Veridian E-Journal
ศิระ ศรีโยธิน
Silpakorn University
Veridian E-Journal, Sipakorn University
การสร้างแบรนด์ภายในองค์กรเปนครืองมือสําคัญของการสร้างแบรนด์องค์กร
โดยมุ่งทีจะให้ความสําคัญกับพนักงานภายในองค์กร เพือให้พวกเขาสามารถถ่ายทอดพันธะ
สัญญาของแบรนด์องค์กรไปสู่ลูกค้าให้ได้ ซึงจะนํามาซึผลดีกับธุรกิจในเรืองการสร้างความได้
เปรียบในการแข่งขัน โดยองค์ประกอบสําคัญของแนวคิดการสร้างแบรนด์ภายในองค์กร
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.) การสือสารพันธะสัญญาของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้าไปยัง
พนักงาน 2) การสร้างทัศนคติเกียวกับแบรนด์ให้เกิดขึนกับพนักงาน ซึงประกอบไปด้วยความ
มุ่งมันของพนักงานทีมีต่อเปาหมายของแบรนด์ ความรู้สึกว่าแบรนด์เปนส่วนหนึงของตนเอง
ของพนักงานและ ความจงรักภักดีของพนักงานทีมีต่อแบรนด์ 3) พฤติกรมของพนักงานใน
การนําเสนอแบรนด์ไปยังลูกค้าทังนีการสือสารพันธะสัญญาของแบนด์องค์กร จะส่งผลต่อ
การสร้างทัศนคติเกียวกับแบรนด์ของพนักงานและมีอิทธิพลให้พนักงานนําเสนอพฤติกรรม
เกียวข้องกับพันธะสัญญาของแบรนด์ไปสู่ลูกค้าในทีสุด
บทคัดย่อ
บทนํา
Alan ประธานบริษัททีปรึกษาทางธุรกิจ (Inward Strategic Consulting) ได้ให้นิยาม การสร้างแบรนด์
ภายในองค์กร (Internal Branding) ไว้ว่า เปนการเปลียนแปลงของวัฒนธรรมภายในองค์กร ทีมุ่งเน้นให้ความ
สําคัญไปทีพนักงานภายในองค์กรมากกว่าลูกค้า และเปาหมายทางธุรกิจอืนๆ (Allan, 2004, p. 9) ซึงสะท้อนให้
เห็นถึงความแตกต่างของการสร้างแบรนด์องค์กรจากในอดีตทีผ่านมา ทีให้ความสําคัญกับลูกค้าเปนอันดับหนึง
เปลียนมาเปนให้ความสําคัญกับพนักงานในองค์กรให้มากขึน การสร้างแบรนด์ภายในองค์กร คือแนวคิดสําคัญที
ทําให้ธุรกิจประสบความสําเร็จในการสร้างแบรนด์องค์กร(Corporate Branding) พนักงานภายในองค์กร คือ
ผู้ทีจะนําความสําเร็จในการสร้างแบรนด์องค์กรมาให้กับธุรกิจเหตุเพราะ พนักงานจะเปนผู้ทีทําให้สิงทีลูกค้าคาด
หวังจะได้รับจากสินค้าและบริการ (Customer Expectations) หรือทีนักการตลาดเรียกว่า พันธะสัญญาของ
แบรนด์เปนจริง ซึงส่งผลให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจเกิดการซือสินค้าและบริการซํา ซึงทําให้องค์กรสามารถรักษา
ลูกค้าเก่าขององค์กรได้อย่างยังยืนและความได้เปรียบในการแข่งขัน
บทนํา
การสร้างแบรนด์ภายในองค์กร คือกลยุทธ์สําคัญทีสุดของธุรกิจในอุตสาหกรรมบริการ
เนืองจากอุตสาหกรรมดังกล่าวจําเปนต้องอาศัยความสามารถของพนักงานในการนําเสนอบริการทีมีคุณภาพ
ตามทีลูกค้าคาดหวัง ดังนันระดับคุณภาพของการบริการของพนักงานจะส่งผล โดยตรงต่อความพึงพอใจ
ของลูกค้า และกลับมาใช้บริการซําของลูกค้าซึงเปนทีมาของความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจบริการ
นันเอง ส่วนแนวคิดการสร้างแบรนด์ภายในองค์กรช่วยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และมีความสําคัญ
ทังในการพัฒนาวิชาการทางการตลาด และในการนําแนวคิดไปประยุทธ์ใช้ทางธุรกิจจากความสําคัญของ
แนวคิดการสร้างแบรนด์ภายในองค์กร (Internal Branding) บทความนีจึงมีวัตถุประสงค์หลัก ทีจะอธิบาย
แนวคิดพืนฐานของการสร้างแบรนด์ภายในองค์กรตลอดจนอธิบายองค์ประกอบของแนวคิดการสร้าง
แบรนด์ภายในองค์กรทีประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่
บทนํา
การสือสารพันธะสัญญาของ
แบรนด์ทีมีต่อลูกค้าไปยังพนักงาน
(Communicating the Brand Promise)
การสร้างทัศนคติเกียวกับ
แบรนด์ให้เกิดขึนกับพนักงาน
(Employee Brand Attitudes)
โดยหวังให้ผู้ประกอบการธุรกิจในประเทศไทย นําแนวคิดดังกล่าวไปใช้ในการพัฒนา
ธุรกิจเพือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage)
แนวคิด Internal Branding
Internal Branding คือ พฤติกรรมของพนักงานภายในองค์กร ในการถ่ายทอด
คุณค่าของแบรนด์ไปสู่ลูกค้า ดังนันเราจึงสามารถสรุปได้ว่า เปนกระบวนการในการ
สร้างแบรนด์องค์กร โดยพยายามให้พนักงานภายในองค์กรมีความข้าใจในคุณค่า
ของแบรนด์ขององค์กรทีต้องการมอบให้กับลูกค้า ซึงนักการตลาดเรียกว่า พันธะ
สัญญาของแบรนด์ และกระตุ้นให้พนักงานเหล่านันแสดงพฤติกรรมเพือนําเสนอ
พันธะสัญญาของแบรนด์ไปสู่ลูกค้าภายนอก
แนวคิด
Internal Branding
สรุปกระบวนการของ Internal Branding ประกอบด้วย
3 องค์ประกอบดังต่อไปนี
การหล่อหลอมให้พนักงาน ให้เกิดความข้าใจและซาบซึงในคุณค่า
ของแบรนด์ขององค์กรนัน ซึงนักการตลาดเรียกว่าการสร้าง
ทัศนคติเกียวกับแบรนด์ให้เกิดขึนกับพนักงาน
(Employee Brand Attitudes) (Bergstrom et al., 2002)
การสือสาคุณค่ของแบรนด์ขององค์กร ไปสู่พนักงานภายในองค์กร
ซึงนักการตลาดเรียกว่าการสือสารพันธะสัญญของแบรนด์ทีมีต่อ
ลูกค้าไปยังพนักงาน
(Communicating the Brand Promise) (Bergstrom et al., 2002)
พนักงานในองค์กรนําเสนอคุณค่าของแบรนด์เหล่านันไปสู่ลูกค้า
ผ่านพฤติกรรมทีสอดคล้องกับคุณค่านัน ซึงนักการตลาดเรียกว่า
พฤติกรรมของพนักงานในการนําเสนอแบรนด์ไปยังลูกค้า
(Employee Brand Behaviour) (Bergstrom et al., 2002)
แผนภาพที 1 : องค์ประกอบพืนฐานของ
แนวคิด Internal Branding
การสือสารพันธะสัญญของแบรนด์
ทีมีต่อลูกค้าไปยังพนักงาน
(Communicating the Brand Promise)
(Bergstrom et al., 2002)
การสร้างทัศนคติเกียวกับแบรนด์
ให้เกิดขึนกับพนักงาน
( Employee Brand Attitudes)
(Bergstrom et al., 2002)
ความมุ่งมันของพนักงานทีมีต่อเปา
หมายของแบรนด์
(Employees' Brand Commitment)
(Bergstrom et al., 2002)
การสือสารพันธะสัญญของแบรนด์
ทีมีต่อลูกค้าไปยังพนักงาน
พันธะสัญญาของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้า (Brand Promise)
หมายถึง ชุดประสบการณ์ทีลูกค้ากลุ่มปาหมายคาดหวังว่าพวกเขาจะได้รับจากองค์กร ซึง
สามารถใช้อธิบายได้ถึงตําแหน่งทางการตลาดหรือคุณค่าขององค์กรทีมีอยู่ในใจของลูกค้า
ซึงแบรนค์องค์กรทีแข็งแกร่งนันจะต้องสามารถมอบสิงทีเปนพันธะสัญญาทีให้ไว้กับลูกค้า
ได้ตามทีคาดหวัง ซึงจะส่งผลต่อการซือซํา และไม่ไปซือสินค้าและบริการจากคู่แข่งขัน
Smith & Rupp’s (2002)
(Communicating the Brand Promise)
การสร้างทัศนคติเกียวกับแบรนด์
ให้เกิดขึนกับพนักงาน
( Employee Brand Attitudes)
ความมุ่งมันของพนักงานทีมีต่อเปาหมายของแบรนด์ (Employees' Brand Commitment)
ความรู้สึกว่าแบรนด์เปนส่วนหนึงของตนเองของพนักงาน (Employees' Brand ldentification)
ความจงรักภักดีของพนักงานทีมีต่อแบรนด์ (Employees'Brand Loyalty)
การสือสารพันธะสัญญาของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้า (Brand Promise) ไปยังพนักงานนัน
ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของพนักงานในการถ่ายทอดพันธะสัญญาดังกล่าวไปสู่ลูกค้า เมือพิจารณา
ถึงผลลัพธ์เกียวกับทัศนคติทีเกิดขึนกับพนักงาน (Employee Brand Attitudes) เมือมีการสือสารพันธะสัญญา
ของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้าพบว่า ผลลัพธ์ทางด้านทัศนคติเกียวกับแบรนด์ของพนักงาน ตามแนวคิดของการสร้าง
แบรนด์ภายในองค์กร สามารถจําแนกออกได้เปน 3 ทัศนคติ ได้แก่
(Asha & Jyothi, 2013; Backhaus & Tikoo, 2004; Foreman & Argenti, 2005; Ind, 2003
Punjaisri et al., 2009; King & Grace, 2012; Sharma & Kamalanabhan, 2012)
ความมุ่งมันของพนักงานทีมีต่อ
เปาหมายของแบรนด์
(Employees' Brand Commitment)
Employee Commitment หมายถึง อารมณ์ และความรู้สึกของพนักงานเกียวกับองค์กร
ทีส่งผลให้เกิดความพยายามทีจะปฏิบัติหน้าทีเพือให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรในระยะยาว
อารมณ์และความรู้สึกของพนักงานทีมีต่อแบรนด์ ส่งผลให้พนักงานพยายามจะปฏิบัติงานเพือให้
บรรลุเปาหมายทีแบรนด์ได้วางแผนไว้ (Punjaisri et al., 2009)
ความสัมพันธ์ระหว่างการสือสารภายในองค์กร และความมุ่งมันของพนักงานทีมีต่อเปาหมาย
ของแบรนด์ นันเมือมีการสือสารภายในองค์กรทีมีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้พนักงานได้รับข้อมูล
เกียวกับสิงทีแบรนด์องค์กร ต้องการจะได้รับจากพนักงานเพือให้บรรลุเปาหมายทีได้วางแผนไว้
ทําให้พนักงานในองค์กรพยายามทีจะปรับทัศนคติของตนให้สอดคล้องกับคุณค่าของแบรนด์และ
การศึกษาของ Khan (2009) และ Punjaisri & Wilson (2007) พบว่า ความมุ่งมันของพนักงาน
ทีมีต่อเปาหมายของแบรนด์ ส่งผลต่อคุณภาพของพฤติกรรมของพนักงานในการนําเสนอพันธะ
สัญญาของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้านันเอง
BrandCommitment
Employees
ความได้เปรียบทางการ
แข่งขัน
ผลลัพธ์ของพฤติกรรมของพนักงานในการนําเสนอแบนด์ไปยังลูกค้า
(Employee Brand Behaviour)
(Competitive Advantage)
ความได้เปรียบทางการแข่งขัน หมายถึง แนวคิดทางธุรกิจทีพยายามทําให้องค์กร
ธุรกิจนันมีศักยภาพในด้านต่างๆทีเหนือกว่าคู่แข่งขัน องค์กรสามารถสร้างความ
ได้เปรียบทางการแข่งขันได้ 2 วิธีหลัก ได้แก่ การเปนผู้นําด้านต้นทุน
(Cost Advantage) และการสร้างความแตกต่าง (Differentiation)
(Chaharbaghi & Lynch, 1999; Porter, 1985)
ความได้เปรียบทางการ
แข่งขัน
การเปนผู้นําด้านต้นทุน
การเปนผู้นําด้านต้นทุน หมายถึง การพยายามให้องค์กรธุรกิจมี
ต้นทุนทีตํากว่าคู่แข่งขันในกรณีทีองค์กรธุรกิจสามารถผลิตสินค้าและ
บริการได้เหมือนกับคู่แข่งขันเกือบทุกย่าง สิงทีจะสร้างความได้เปรียบ
ได้ คือการมีต้นทุนทีตํากว่า
(Chaharbaghi & Lynch, 1999; Porter, 1985)
(Cost Advantage)
การสร้างความแตกต่าง
การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) หมายถึง การพยายามทีจะผลิตและ
นําเสนอสินค้าและบริการทีดีกว่าคู่แข่งขันโดยเฉพาะในมุมมองของลูกค้าเปา
หมาย การสร้างความได้เปรียทางการแข่งขัน (Competitive Advantage)
พบว่า แนวทางการสร้าง "Differentiation" จะส่งผลต่อความได้เปรียบในการ
แข่งขันของธุรกิจบริการในระยะยาวมากกว่าแนวทางของ "Cost Advantage"
(Chaharbaghi & Lynch, 1999; Porter, 1985)
(Differentiation)
การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน จากการศึกษาของ Lee, Kim, & Kim
(2013) พบว่า พฤติกรรมของพนักงานในการนําเสนอแบรนด์ไปยังลูกค้า มีความ
สัมพันธ์โดยตรงกับผลประกอบการขององค์กร โดยพวกเขาได้อธิบายว่า การสร้าง
แบรนด์ภายในองค์กร จะนํามาซึงการหล่อหลอมพฤติกรรมของพนักงาน เข้ากับ
พันธะสัญญาของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้า และส่งผลให้พนักงานบริการลูกค้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ ผ่านพฤติกรรมของพนักงานในการนําเสนอแบรนด์ไปยังลูกค้า ซึงจะ
สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าในทีสุดการนําเสนอแบนด์ไปยังลูกค้ากับผลประกอบ
การของธุรกิจเช่นเดียวกัน โดย Lai & Hsu (2015) ศึกษากับธุรกิจบริการประเภท
สถาบันการเงินสองแห่งเปรียบเทียบกันแล้วพบว่า พฤติกรรมของพนักงานใน
การนําเสนอแบนด์ไปยังลูกค้าทีดีกว่า สามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้
มากกว่า
บทสรุป
บทสรุป การสร้างแบรนด์ภายในองค์กร และความได้เปรียบในการแข่งขัน
(Internal Branding and Competitive Advantage)
บทสรุป
ความมุ่งมันของพนักงานทีมีต่อเปาหมายของแบรนด์ (Employees' brand commitment)
ความรู้สึกว่าแบรนด์เปนส่วนหนึงของตนเองของพนักงาน(Employees' brand identification)
และ ความจงรักภักดีของพนักงานทีมีต่อแบรนด์ (Employees' brandloyalty)
ในมุมมองของแนวคิดการสร้างแบรนด์ภายในองค์กร (Internal Branding) มองว่า การสือสารพันธะสัญญา
ของแบรนด์ทีมีต่อลูกค้าไปยังพนักงาน คือจุดเริมต้นของแนวคิดนี เพราะจะมีอิทธิพลส่งผลให้เกิดการสร้าง
ทัศนคติเกียวกับแบรนด์ให้เกิดขึนกับพนักงาน ซึงประกอบไปด้วย
ส่วนทัศนคติทีเกียวกับแบรนด์ของพนักงานเหล่านี จะส่งผลต่อพฤติกรรมของพนักงานในการนําเสนอแบรนด์
ไปยังลูกค้าในทีสุด ซึงจะทําให้เกิดความพึงพอใจของลูกค้าทีได้รับสินค้าและบริการตามพันธะสัญญาทีให้ไว้ จนเกิด
การซือสินค้าและบริการซํา และพัฒนาไปสู่ลูกค้าทีมีความจงรักภักดีต่อแบรนด์ ซึงส่งผลให้ธุรกิสามารถสร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) เหนือกว่าคู่แข่งขันได้ในทีสุด
Allen, D. G., Scotter, J. R., & Otondo, R. F. (2004)
อ้างอิง
ศิระ ศรีโยธิน
Sira Sriyothin
Silpakorn University
Veridian E-Journal, Sipakorn University
ฉบับภาษาไทย มนุษย์ศาสตร์ สัมคมศาสตร์ และศิลปะ หน้า 1011-1024
ปที10 ฉบับที 2 เดือน พฤษภาคม - สิงหาคม 𝟐𝟓𝟔𝟎
นางสาว อาทิติยา สุดชาติ
𝟔𝟐𝟏𝟐𝟑𝟑𝟐𝟐𝟎𝟔𝟒
AIMM 2201
กลุ่มเรียน (002)
กลยุทธ์การบริหารตราผลิตภัณฑ์
จัดทําโดย นางสาว อาทิติยา สุดชาติ
เสนอ
อ.ดร.ดุษฎี นิลดํา

More Related Content

Similar to Internal branding and competitive advantage

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
praphol
 
การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models
 การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models
การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models
maruay songtanin
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
maruay songtanin
 
การจัดการแบบบูรณาการ The integrated management system
การจัดการแบบบูรณาการ The integrated management systemการจัดการแบบบูรณาการ The integrated management system
การจัดการแบบบูรณาการ The integrated management system
maruay songtanin
 
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
maruay songtanin
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
BussakornHiranchai
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
weeraya
 
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
porche123
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Ronnarit Junsiri
 

Similar to Internal branding and competitive advantage (20)

Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models
 การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models
การมุ่งเน้นบุคลากร Workforce from role models
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
ให้เวลากับการคิด A time to think
ให้เวลากับการคิด A time to thinkให้เวลากับการคิด A time to think
ให้เวลากับการคิด A time to think
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กรการสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
 
การสร้างแบรนด์นางจ้าง:กลยุทธ์การดึงดูดและรักษาผู้มีสามารถสูง
การสร้างแบรนด์นางจ้าง:กลยุทธ์การดึงดูดและรักษาผู้มีสามารถสูงการสร้างแบรนด์นางจ้าง:กลยุทธ์การดึงดูดและรักษาผู้มีสามารถสูง
การสร้างแบรนด์นางจ้าง:กลยุทธ์การดึงดูดและรักษาผู้มีสามารถสูง
 
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าCustomer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
การจัดการแบบบูรณาการ The integrated management system
การจัดการแบบบูรณาการ The integrated management systemการจัดการแบบบูรณาการ The integrated management system
การจัดการแบบบูรณาการ The integrated management system
 
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
 
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
 
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
Research-PP
Research-PPResearch-PP
Research-PP
 

Internal branding and competitive advantage