SlideShare a Scribd company logo
สด 102 ความเข้าใจสื่อดิจิทัล
 Understanding Digital Media




          สื่อดิจิทัล
          ตอนที่ 3
ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
องค์ประกอบของสื่อดิจิทัล

 1. ข้อความ (Text)
 2. ภาพนิ่ง (Still Image)
 3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
 4. เสียง (Sound)
 5. ภาพวิดีิโอ (Video)
ภาพเคลื่อนไหว ( Animation)
                       คือ
เป็นการทำให้วัตถุเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆเช่น รถแล่นไปบน
     ถนน การเคลื่อนที่ของแมลง การเคลื่อนไหวของมนุษย์
Animation
หมายถึง การสร้างการเคลื่อนไหว ด้วยการนำาภาพนิ่ง
มาเรียงลำาดับกัน และแสดงผลอย่างต่อเนื่อง ทำาให้
ดวงตาเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหว แม้ว่าแอนิเมชั่นจะใช้
หลักการเดียวกันกับวิดีโอ แต่แอนิเมชั่นจะเป็นการนำา
ภาพวาดหรือภาพกราฟฟิกต่างๆมาใช้ในการเคลื่อนไหว
ภาพเคลื่อนไหว
      ( Animation)
จะถูกสร้างและควบคุมโดยโปรแกรมต่างๆเช่น



       QuickTime                  การ์ตูนแอนิเมชั่น


                                  ภาพยนตร์แอนิเมชั่น


                                   สื่อโฆษณาแอนิเมชั่น
การ์ตูนแอนิเมชั่น
 http://www.youtube.com/watch?
 v=kvui1v_l_7g&feature=endscreen&NR=1
ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
http://www.youtube.com/watch?v=3x2ekhJrf30
สื่อโฆษณาแอนิเมชั่น
http://www.youtube.com/watch?
v=CW4DryAbHy4&feature=related
ทำาไมแอนิเมชั่นจึงเกิดภาพเคลื่อนไหวได้



                      นำภาพนิ่งมาเรียงลำดับกัน


                              ภาพติดตา
                         Persistance of Vision

เมื่อตามนุษย์มองเห็นภาพนิ่งที่ฉายต่อเนื่อง เรตินาจะรักษาภาพนี้ไว้ในระยะ
 เวลาสั้นๆ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพอื่นแทรกเข้ามาในระยะเวลาดัง
  กล่าว สมองของมนุษย์จะเชื่อมโยงภาพทั้งสองเข้าด้วยกันทำาให้เห็นเป็น
                  ภาพเคลื่อนไหวที่มีความต่อเนื่องกัน
ทำาไมแอนิเมชั่นจึงเกิดภาพเคลื่อนไหวได้



      แอนิเมชั่นใช้หลักการเดียวกับวิดีโอ



แต่แอนิเมชั่นจะเป็นการนำาภาพวาดหรือกราฟฟิก
        มาใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว
แอนิเมชั่นในยุคเริ่มต้น




แอนิเมเตอร์จะวาดเหตุการณ์ที่สำาคัญลงไปบน Keyframe ส่วนเหตุการณ์
    ระหว่างสองKeyframe นั้นผู้ช่วยแอนิเมเตอร์จะเป็นคยวาด โดย
       กระบวนการระหว่าง 2 Keyframe นั้นเรียกว่า Tweening
การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานแอนิเมชั่น
เมื่อแอนิเมเตอร์กำาหนด Keyframe แล้ว เฟรมที่เป็น Tweening
จะถูกสร้างขึ้นโดยซอฟต์แวร์โดยอัตโนมัติ




     โดยซอฟต์แวร์จะใช้หลักการของเซลแอนิเมชั่นด้วยการสร้างการเคลื่อนไหวของวัตถุบน Timeline
Adobe Flash




  ปล่อยให้โปรแกรมสร้างการเคลื่อนไหวให้กับอ็อบเจ็กต์ที่อยู่ระหว่างคีย์
                     เฟรมทั้งสองโดยอัตโนมัติ
Adobe Flash
การเคลื่อนไหวแบบทวีนใน flash มี 2 ประเภท


                                       Tween


          Motion Tween                             Shape Tween
          (Motion Path)
    การสร้างการเคลื่อนไหวที่กำาหนด
     การเคลื่อนที่ หมุน ย่อ โดยที่             การสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีการ
       วัตถุไม่มีการเปลี่ยนแปลง                 เปลี่ยนแปลงรูปทรงของวัตถุ
ประเภทของ Animation
 1. Cel Animation หรือ Traditional Animation




 เป็นการใช้แผ่นใสสำาหรับการวาดรูปในแต่ละเฟรม โดยคำาว่า
Cel มาจากคำาว่า Celluloid การใช้แผ่นใสทำาให้เกิดการทำางาน
   ที่เรียกว่า Layer ทำาให้การทำางานได้อย่างเป็นอิสระ ยก
     ตัวอย่างการทำางานแบบ Cel เช่น animation ของ
                         Walt Disney
ประเภทของ Animation

                   2. Path Animation




เป็นการใช้สร้างแอนิเมชั่นบนคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีกำาหนดเส้น
ทางการเคลื่อนที่ (Motion Path) ให้กับภาพ เช่นการกระเด้ง
                        ของลูกบอล
อธิบายการเคลื่อนที่แบบ Path Animation




เป็นการใช้สร้างแอนิเมชั่นบนคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีกำาหนดเส้น
ทางการเคลื่อนที่ (Motion Path) ให้กับภาพ เช่นการกระเด้ง
                        ของลูกบอล
ประเภทของ Animation
                          3. 2D and 3D Animation




2D Animation
เป็นการแสดงวัตถุแบบแบนราบโดยไม่
คำานึงถึงความลึก คือในพิกัดแกน x,y
เท่านั้น

                                       3D Animation
                                       พิจารณาความลึกของวัตถุด้วย เช่น
                                       เรื่องของแสงและมุมมองกล้อง โดย
                                       จะใช้พิกัด 3 มิติคือ x,y และz
วิธีการสร้างAnimation มี 3 วิธีดังนี้



        Dra
             wA
                ni m
      Mo            atio
         de              n
            lA
   Co         nim
     mp           atio
       ute             n
           rA
             nim
                 atio
                      n
Draw Animation

เป็นการวาดภาพแต่ละภาพด้วยมือต่อเนื่องกันไปจนได้เป็นแอนิเมชั่น




                                  การสร้างแอนิเมชั่นเพียงไม่
                                        กี่วินาทีด้วยแอนิเมชั่น
                                   ประเภทนี้ต้องใช้ภาพวาด
                                  หลายพันภาพ ทำาให้ต้องใช้
                                    เวลาในการผลิตนานและ
                                     ต้องใช้นักวาดแอนิเมชั่น
                                                    จำานวนมาก
                                    ส่งผลให้ใช้ต้นทุนสูงด้วย
ตัวอย่าง
Draw Animation
ตัวอย่าง
Draw Animation




          http://www.youtube.com/watch?v=u46eaeAfeqw
Model Animation

           ใช้วิธีการสร้างโมเดลของหุ่นด้วยวัสดุคล้ายกับดินน้ำามัน แล้วถ่าย
                               ภาพของหุ่นทีละภาพ เพื่อนำามาแสดงต่อกัน




                                                วิธีนี้ใช้เวลาและความ
                                             ละเอียดมาก ตัวอย่างของ
                                                ภาพยนตร์ที่ใช้วิธีนี้คือ
                                                          Chicken Run

                                            Model Animation
                                            เรียกอีกอย่างว่า
                                            Stop Motion

http://www.youtube.com/watch?
v=vrEkI6_zvwA&feature=related
ตัวอย่าง
Model Animation
http://www.youtube.com/watch?v=ttDhancb8G0&feature=related
ตัวอย่าง
Model Animation
 http://www.youtube.com/watch?v=ttDhancb8G0&feature=related
Computer Animation
เป็นการนำาคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างแอนิเมชั่นโดยใช้โปรแกรมต่างๆ
                เช่น Adobe Flash,3D Studio Max หรือ Maya




                                    โดยจะใช้เครื่องมือที่
                               โปรแกรมได้จัดเตรียมไว้
                               เช่น การปรับผิวของวัตถุ
                             และรอยหยักตามขอบภาพ
                             (Anti-Aliasing) นอกจากนี้
                               ยังสามารถกำาหนดอัตรา
                              การแสดงผลภาพได้ว่าจะ
                             ให้แสดงผลด้วยความเร็วกี่
                                         เฟรมต่อวินาที
เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น

เทคนิคต่างๆที่ใช้สร้างงานแอนิเมชั่น ให้สวยงาม สมจริง
และลดระยะเวลาในการสร้างให้น้อยลง
    Onion Skin




 เป็นเทคนิคของเซลแอนิเมชั่น โดยการวาดภาพจำาลองการเคลื่อนที่ของวัตถุ
 อย่างต่อเนื่องในแต่ละเฟรมซ้อนกัน ทำาให้มองเห็นลำาดับในการแสดงภาพ
 เคลื่อนไหวในแต่ละเฟรมได้ แอนิเมเตอร์จะวางภาพในแต่ละแฟรมซ้อนทับเฟรม
 ก่อนหน้า ทำาให้การเขียนภาพการเคลื่อนไหวที่ในเฟรมถัดไปทำาได้ง่ายขึ้น
เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น

   การเพิ่มเสียงให้กับงานแอนิเมชั่น




เสียงเป็นส่วนประกอบที่ช่วยอธิบายลักษณะการเคลื่อนไหวต่างๆ รวมทั้งใช้
อธิบายความหมายเพิ่มเติมให้กับงานแอนิเมชั่นได้ เช่น การใช้เสียงลมเสียง
ใบไม้ไหว เพื่อบอกสภาพอากาศที่มีพายุ เป็นต้น แต่การนำาเสียงมาใช้งาน จะ
ต้องปรับจังหวะการเล่นเสียงให้เหมาะสมกับงานแอนิเมชั่น
เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น
    Flip Book




Flip Book เป็นการแสดงภาพที่วาดลงบนแต่ละหน้าของสมุดทีละภาพเรียงกันไป
โดยแต่ละหน้าของสมุดจะถูกเปิดต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ทำาให้มองเห็นเป็นภาพ
เคลื่อนไหว
เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น
  Rotoscope

                     เป็นเทคนิคในการสร้างแอนิเมชั่นในยุคแรก โดย
                     แอนิเมเตอร์จะใช้เพื่อลอกลายเส้นของวัตถุในแต่
                     ละเฟรมของแอนิเมชั่น แล้วนำไปสร้างโครงร่างที่
                     เรียกว่า Matte โดยลายเส้นของวัตถุจะถูกแทนที่
                     ด้วยเส้นในลักษณะต่างๆ ทำให้ได้ภาพที่แตกต่าง
                     ไปจากเดิม




                      A Scanner Darkly
A Scanner Darkly




http://www.youtube.com/watch?v=7J5FWEre07w
เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น
  Bluescreen,Greenscreen และ Chroma Key


                     เป็นเทคนิคในการซ้อนภาพวิดีโอสองภาพเข้าด้วย
                     กัน นิยมนำมาทำภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์
                     ต่างๆ โดยจะถ่ายภาพของตัวละคร (เช่น ผู้
                     ประกาศข่าว) ด้วยฉากด้านหลังที่เป็นสีพื้น เช่น สี
                     เขียว (Greenscreen) หรือสีน้ำเงิน (Bluescreen)
                     จากนั้นจะนำภาพที่จะใช้เป็นฉาก (เช่น ฉากทะเล
                     หรือภูเขา) มาซ้อนทับกับฉากที่เป็นสีพื้น โดยใช้
                     Chroma Key ซึ่งเป็นเครื่องมือสำหรับแก้ไขสื่อ
                     แบบดิจิตอล โดยใช้สำหรับเลือกและตัดฉากที่ถูก
                     ถ่ายไว้ด้วยสีพื้นออก จากนั้นแทนที่ด้วยฉากจริง
ซอฟต์แวร์สำาหรับแอนิเมชั่น
Adobe Director     เป็นโปรแกรมที่สามารถสร้างงานมัลติมีเดียคุณภาพสูง


Adobe Flash        เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสร้างแอนิเมชั่นและกราฟฟิก
                   สำาหรับมัลติมีเดียบนเว็บ

TrueSpace          เป็นโปรแกรมสร้างรูปทรง 3 มิติ สามารถใช้สร้างภาพ
                   มนุษย์ ใบหน้า การแสดงอารมณ์ต่างๆ และวาดรูปทรง
                   เรขาคณิตได้


                   เป็นโปรแกรมสร้างภาพ GIF Animation สามารถพรีวิว
GIF Animation      ภาพตัวอย่าง และสามารถกำาหนดรายละเอียดของภาพใน
                   แต่ละเฟรมได้

                   เป็นโปรแกรมสำาหรับออกแบบภาพใน เช่น อาคาร บ้าน
Cad 4              เรือน และโรงงาน เป็นต้น



3D Browser Light   เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพ   2 มิติ และ 3 มิติ
ซอฟต์แวร์สำาหรับแอนิเมชั่น
                   เป็นโปรแกรมที่สำาหรับสร้างภาพเสมือนและจำาลองระบบ
2O-im Pro Viewer   การทำางานต่างๆ ด้านวิศวกรรม

                   เป็นโปรแกรมที่สำาหรับสร้างภาพโมเสก
Mosaic Magic

Ulead Cool 3D      เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างแอนิเมชั่นทั้ง GIF Animation
                   และไฟล์ AVI เพื่อนำาไปใช้งานกับเว็บหรืองานนำาเสนอ
                   ต่างๆ


                   เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างเว็บเพจในรูปแบบอินเตอร์แอ๊ก
SWiSH              ทีฟ (Interactive) เช่นเดียวกับ Adobe Flash



3D Canvas          เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพ 3 มิติ แบบเรียลไทม์



Moho               เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างการ์ตูนหรือแอนิเมชั่นในรูปแบบ
                   2 มิติ
ซอฟต์แวร์สำาหรับแอนิเมชั่น
CADMAX Solid Master   เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพจำาลอง 2 มิติ 3 มิติ


SendPic               เป็นโปรแกรมที่สำาหรับแก้ไขและดัดแปลงคุณลักษณะต่างๆ
                      ขิงรูปภาพ

3D Explortion         เป็นโปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ




                      เป็นโปรแกรมท่ี่นิยมใช้กันมากที่สุดในธุรกิจภาพยนตร์
Maya                  สามารถนำาไปใช้สร้างแอนิเมชั่นงานออกแบบตกแต่ง
                      ภายใน และออกแบบผลิตภัณฑ์ได้

                      เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพแอนิเมชั่นแบบ 3 มิติ นิยม
Lightwave             ใช้เพื่อสร้างงานภาพยนตร์



3D Studio Max         เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างแอนิเมชั่นและกราฟฟิก 3 มิติ
                      นิยมใช้ในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย และงานภาพยนตร์
รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น




                      ชื่อไฟล์              นามสกุล
                GIF Animation                 .gif




ไฟล์ GIF Animation เป็นไฟล์สำาหรับแอนิเมชั่นที่ได้รับความนิยมมาก
เนื่องจากเป็นไฟล์ที่มีขนาดเล็ก ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล เหมาะ
สำาหรับการใช้งานบนเว็บไซต์
รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น




                    ชื่อไฟล์             นามสกุล
                    MNG                   .mng




เป็นไฟล์แอนิเมชั่นที่สามารถใช้งานกับบราวเซอร์ต่างๆ ได้หลากหลาย
เช่น Firefox,Internet Explorer และบราวเซอร์ของ Sony Ericsson
เป็นต้น
รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น




                 ชื่อไฟล์           นามสกุล
                  ANI                 .ani




  เป็นไฟล์ภาพที่ใช้งานกับ Animated Cursor บนแพล็ตฟอร์มของ
  Windows ซึ่งจะจัดเก็บองค์ประกอบต่างๆ แบบแยกเป็นเฟรมตาม
  แอนิเมชั่น
รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น




                   ชื่อไฟล์             นามสกุล
                   SWF                    .swf




  เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างจากโปรแกรม Adobe Flash สามารถเล่นไฟล์
  ได้ด้วย Flash Player หรือบราวเซอร์ที่มี Plug-in รองรับไฟล์ชนิด
  นี้ นิยมนำาไปใช้บนเว็บไซต์ เนื่องจากมีขนาดเล็ก
รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น




                   ชื่อไฟล์              นามสกุล
                 FLC/FLI                  .flc/fli




  เป็นไฟล์สำาหรับแอนิเมชั่นที่ถูกพัฒนโดย Autodesk ซึี่งสร้างจาก
  โปรแกรม Autodesk Animator Studio และ Autodesk 3D
  Studio Program สามารถแสดงผลได้ 256 สี
รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น




                  ชื่อไฟล์             นามสกุล
                  MAX                   .max




  เป็นไฟล์แอนิเมชั่นทีสร้างจาก 3D Studio MAX ได้รับการพัฒนา
  โดย Autodesk Media&Entertainment ได้รับความนิยมมากใน
  ปัจจุบัน เหมาะสำาหรับใช้งานบนแฟล็ตฟอร์ม Windows ซึ่งสามาร
  รถแก้ไขคุณสมบัติต่างๆของอ็อบเจ็กต์ได้ เช่น โครงสร้าง พื้นผิว
  และแสง เป็นต้น ไฟล์ชนิดนี้อาจแปลงให้เป็นไฟล์ AVI ในลักษณะ
  วิดีโอคลิปได้
assignment
แบ่งกลุ่มๆละ 5 คน
หาสื่อดิจิทัลที่มีภาพเคลื่อนไหวประกอบ พร้อมวิเคราะห์องค์
ประกอบของสื่อ เช่นเป็นภาพเคลื่อนไหวประเภทใด
(Draw/Model/Computer animation) ใช้เทคนิคใดในการสร้าง
(Onion skin/Flip Book/Rotoscope/Greenscreen) คะแนนเก็บ
5คะแนน (Present ท้ายคาบ)
The End

More Related Content

What's hot

ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์Worapon Masee
 
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7Jele Raviwan Napijai
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
พัน พัน
 
Flash6
Flash6Flash6
Flash6
farimfilm
 

What's hot (7)

Manual swish max
Manual swish maxManual swish max
Manual swish max
 
ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
 
2swishmax
2swishmax2swishmax
2swishmax
 
Flash6
Flash6Flash6
Flash6
 

Similar to Digital media animation

Animation Health
Animation HealthAnimation Health
Animation Health
Boonlert Aroonpiboon
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
gooddymail
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
Manual Swish max3
Manual Swish max3Manual Swish max3
Manual Swish max3
Surapong Jakang
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
การสร้าง Animation จาก image ready
การสร้าง Animation จาก image readyการสร้าง Animation จาก image ready
การสร้าง Animation จาก image ready
myitimiizyin
 
หน่วยที่ 6.2
หน่วยที่ 6.2หน่วยที่ 6.2
หน่วยที่ 6.2
Pop Thakonwan
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of artbeverza
 

Similar to Digital media animation (20)

Animation Health
Animation HealthAnimation Health
Animation Health
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
Chapter 10 flash
Chapter 10 flashChapter 10 flash
Chapter 10 flash
 
swishmax2
swishmax2swishmax2
swishmax2
 
Manual Swish max3
Manual Swish max3Manual Swish max3
Manual Swish max3
 
swishmax1
swishmax1swishmax1
swishmax1
 
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
การสร้าง Animation จาก image ready
การสร้าง Animation จาก image readyการสร้าง Animation จาก image ready
การสร้าง Animation จาก image ready
 
หน่วยที่ 6.2
หน่วยที่ 6.2หน่วยที่ 6.2
หน่วยที่ 6.2
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
Dthgh
DthghDthgh
Dthgh
 
Dthgh
DthghDthgh
Dthgh
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 

More from ajpeerawich

การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอนการสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
ajpeerawich
 
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ajpeerawich
 
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิตสิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
ajpeerawich
 
Dc530 upload-photo-portfolio
Dc530 upload-photo-portfolioDc530 upload-photo-portfolio
Dc530 upload-photo-portfolio
ajpeerawich
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
ajpeerawich
 
Dc102 digital media-sound
Dc102 digital media-soundDc102 digital media-sound
Dc102 digital media-sound
ajpeerawich
 
Present สด388
Present สด388Present สด388
Present สด388
ajpeerawich
 
Dc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still imageDc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still image
ajpeerawich
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
ajpeerawich
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-textajpeerawich
 
Dc102 internet&communication
Dc102 internet&communicationDc102 internet&communication
Dc102 internet&communicationajpeerawich
 
Website for public_relations
Website for public_relationsWebsite for public_relations
Website for public_relationsajpeerawich
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computerajpeerawich
 
Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2ajpeerawich
 
Dc282 universal design
Dc282 universal designDc282 universal design
Dc282 universal designajpeerawich
 
Dc282-interface design
Dc282-interface designDc282-interface design
Dc282-interface design
ajpeerawich
 
วิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadioวิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadioajpeerawich
 
Dc381 project1
Dc381 project1Dc381 project1
Dc381 project1
ajpeerawich
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interaction
ajpeerawich
 
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2ajpeerawich
 

More from ajpeerawich (20)

การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอนการสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
 
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
 
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิตสิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
 
Dc530 upload-photo-portfolio
Dc530 upload-photo-portfolioDc530 upload-photo-portfolio
Dc530 upload-photo-portfolio
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
Dc102 digital media-sound
Dc102 digital media-soundDc102 digital media-sound
Dc102 digital media-sound
 
Present สด388
Present สด388Present สด388
Present สด388
 
Dc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still imageDc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still image
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-text
 
Dc102 internet&communication
Dc102 internet&communicationDc102 internet&communication
Dc102 internet&communication
 
Website for public_relations
Website for public_relationsWebsite for public_relations
Website for public_relations
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2
 
Dc282 universal design
Dc282 universal designDc282 universal design
Dc282 universal design
 
Dc282-interface design
Dc282-interface designDc282-interface design
Dc282-interface design
 
วิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadioวิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadio
 
Dc381 project1
Dc381 project1Dc381 project1
Dc381 project1
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interaction
 
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

Digital media animation

  • 1. สด 102 ความเข้าใจสื่อดิจิทัล Understanding Digital Media สื่อดิจิทัล ตอนที่ 3 ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
  • 2. องค์ประกอบของสื่อดิจิทัล 1. ข้อความ (Text) 2. ภาพนิ่ง (Still Image) 3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 4. เสียง (Sound) 5. ภาพวิดีิโอ (Video)
  • 3. ภาพเคลื่อนไหว ( Animation) คือ เป็นการทำให้วัตถุเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆเช่น รถแล่นไปบน ถนน การเคลื่อนที่ของแมลง การเคลื่อนไหวของมนุษย์
  • 4. Animation หมายถึง การสร้างการเคลื่อนไหว ด้วยการนำาภาพนิ่ง มาเรียงลำาดับกัน และแสดงผลอย่างต่อเนื่อง ทำาให้ ดวงตาเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหว แม้ว่าแอนิเมชั่นจะใช้ หลักการเดียวกันกับวิดีโอ แต่แอนิเมชั่นจะเป็นการนำา ภาพวาดหรือภาพกราฟฟิกต่างๆมาใช้ในการเคลื่อนไหว
  • 5. ภาพเคลื่อนไหว ( Animation) จะถูกสร้างและควบคุมโดยโปรแกรมต่างๆเช่น QuickTime การ์ตูนแอนิเมชั่น ภาพยนตร์แอนิเมชั่น สื่อโฆษณาแอนิเมชั่น
  • 9. ทำาไมแอนิเมชั่นจึงเกิดภาพเคลื่อนไหวได้ นำภาพนิ่งมาเรียงลำดับกัน ภาพติดตา Persistance of Vision เมื่อตามนุษย์มองเห็นภาพนิ่งที่ฉายต่อเนื่อง เรตินาจะรักษาภาพนี้ไว้ในระยะ เวลาสั้นๆ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพอื่นแทรกเข้ามาในระยะเวลาดัง กล่าว สมองของมนุษย์จะเชื่อมโยงภาพทั้งสองเข้าด้วยกันทำาให้เห็นเป็น ภาพเคลื่อนไหวที่มีความต่อเนื่องกัน
  • 10. ทำาไมแอนิเมชั่นจึงเกิดภาพเคลื่อนไหวได้ แอนิเมชั่นใช้หลักการเดียวกับวิดีโอ แต่แอนิเมชั่นจะเป็นการนำาภาพวาดหรือกราฟฟิก มาใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว
  • 11. แอนิเมชั่นในยุคเริ่มต้น แอนิเมเตอร์จะวาดเหตุการณ์ที่สำาคัญลงไปบน Keyframe ส่วนเหตุการณ์ ระหว่างสองKeyframe นั้นผู้ช่วยแอนิเมเตอร์จะเป็นคยวาด โดย กระบวนการระหว่าง 2 Keyframe นั้นเรียกว่า Tweening
  • 12. การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานแอนิเมชั่น เมื่อแอนิเมเตอร์กำาหนด Keyframe แล้ว เฟรมที่เป็น Tweening จะถูกสร้างขึ้นโดยซอฟต์แวร์โดยอัตโนมัติ โดยซอฟต์แวร์จะใช้หลักการของเซลแอนิเมชั่นด้วยการสร้างการเคลื่อนไหวของวัตถุบน Timeline
  • 13. Adobe Flash ปล่อยให้โปรแกรมสร้างการเคลื่อนไหวให้กับอ็อบเจ็กต์ที่อยู่ระหว่างคีย์ เฟรมทั้งสองโดยอัตโนมัติ
  • 14. Adobe Flash การเคลื่อนไหวแบบทวีนใน flash มี 2 ประเภท Tween Motion Tween Shape Tween (Motion Path) การสร้างการเคลื่อนไหวที่กำาหนด การเคลื่อนที่ หมุน ย่อ โดยที่ การสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีการ วัตถุไม่มีการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงรูปทรงของวัตถุ
  • 15. ประเภทของ Animation 1. Cel Animation หรือ Traditional Animation เป็นการใช้แผ่นใสสำาหรับการวาดรูปในแต่ละเฟรม โดยคำาว่า Cel มาจากคำาว่า Celluloid การใช้แผ่นใสทำาให้เกิดการทำางาน ที่เรียกว่า Layer ทำาให้การทำางานได้อย่างเป็นอิสระ ยก ตัวอย่างการทำางานแบบ Cel เช่น animation ของ Walt Disney
  • 16. ประเภทของ Animation 2. Path Animation เป็นการใช้สร้างแอนิเมชั่นบนคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีกำาหนดเส้น ทางการเคลื่อนที่ (Motion Path) ให้กับภาพ เช่นการกระเด้ง ของลูกบอล
  • 18. ประเภทของ Animation 3. 2D and 3D Animation 2D Animation เป็นการแสดงวัตถุแบบแบนราบโดยไม่ คำานึงถึงความลึก คือในพิกัดแกน x,y เท่านั้น 3D Animation พิจารณาความลึกของวัตถุด้วย เช่น เรื่องของแสงและมุมมองกล้อง โดย จะใช้พิกัด 3 มิติคือ x,y และz
  • 19. วิธีการสร้างAnimation มี 3 วิธีดังนี้ Dra wA ni m Mo atio de n lA Co nim mp atio ute n rA nim atio n
  • 20. Draw Animation เป็นการวาดภาพแต่ละภาพด้วยมือต่อเนื่องกันไปจนได้เป็นแอนิเมชั่น การสร้างแอนิเมชั่นเพียงไม่ กี่วินาทีด้วยแอนิเมชั่น ประเภทนี้ต้องใช้ภาพวาด หลายพันภาพ ทำาให้ต้องใช้ เวลาในการผลิตนานและ ต้องใช้นักวาดแอนิเมชั่น จำานวนมาก ส่งผลให้ใช้ต้นทุนสูงด้วย
  • 22. ตัวอย่าง Draw Animation http://www.youtube.com/watch?v=u46eaeAfeqw
  • 23. Model Animation ใช้วิธีการสร้างโมเดลของหุ่นด้วยวัสดุคล้ายกับดินน้ำามัน แล้วถ่าย ภาพของหุ่นทีละภาพ เพื่อนำามาแสดงต่อกัน วิธีนี้ใช้เวลาและความ ละเอียดมาก ตัวอย่างของ ภาพยนตร์ที่ใช้วิธีนี้คือ Chicken Run Model Animation เรียกอีกอย่างว่า Stop Motion http://www.youtube.com/watch? v=vrEkI6_zvwA&feature=related
  • 26. Computer Animation เป็นการนำาคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างแอนิเมชั่นโดยใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น Adobe Flash,3D Studio Max หรือ Maya โดยจะใช้เครื่องมือที่ โปรแกรมได้จัดเตรียมไว้ เช่น การปรับผิวของวัตถุ และรอยหยักตามขอบภาพ (Anti-Aliasing) นอกจากนี้ ยังสามารถกำาหนดอัตรา การแสดงผลภาพได้ว่าจะ ให้แสดงผลด้วยความเร็วกี่ เฟรมต่อวินาที
  • 27. เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น เทคนิคต่างๆที่ใช้สร้างงานแอนิเมชั่น ให้สวยงาม สมจริง และลดระยะเวลาในการสร้างให้น้อยลง Onion Skin เป็นเทคนิคของเซลแอนิเมชั่น โดยการวาดภาพจำาลองการเคลื่อนที่ของวัตถุ อย่างต่อเนื่องในแต่ละเฟรมซ้อนกัน ทำาให้มองเห็นลำาดับในการแสดงภาพ เคลื่อนไหวในแต่ละเฟรมได้ แอนิเมเตอร์จะวางภาพในแต่ละแฟรมซ้อนทับเฟรม ก่อนหน้า ทำาให้การเขียนภาพการเคลื่อนไหวที่ในเฟรมถัดไปทำาได้ง่ายขึ้น
  • 28. เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น การเพิ่มเสียงให้กับงานแอนิเมชั่น เสียงเป็นส่วนประกอบที่ช่วยอธิบายลักษณะการเคลื่อนไหวต่างๆ รวมทั้งใช้ อธิบายความหมายเพิ่มเติมให้กับงานแอนิเมชั่นได้ เช่น การใช้เสียงลมเสียง ใบไม้ไหว เพื่อบอกสภาพอากาศที่มีพายุ เป็นต้น แต่การนำาเสียงมาใช้งาน จะ ต้องปรับจังหวะการเล่นเสียงให้เหมาะสมกับงานแอนิเมชั่น
  • 29. เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น Flip Book Flip Book เป็นการแสดงภาพที่วาดลงบนแต่ละหน้าของสมุดทีละภาพเรียงกันไป โดยแต่ละหน้าของสมุดจะถูกเปิดต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ทำาให้มองเห็นเป็นภาพ เคลื่อนไหว
  • 30. เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น Rotoscope เป็นเทคนิคในการสร้างแอนิเมชั่นในยุคแรก โดย แอนิเมเตอร์จะใช้เพื่อลอกลายเส้นของวัตถุในแต่ ละเฟรมของแอนิเมชั่น แล้วนำไปสร้างโครงร่างที่ เรียกว่า Matte โดยลายเส้นของวัตถุจะถูกแทนที่ ด้วยเส้นในลักษณะต่างๆ ทำให้ได้ภาพที่แตกต่าง ไปจากเดิม A Scanner Darkly
  • 32. เทคนิคในการสร้างงานแอนิเมชั่น Bluescreen,Greenscreen และ Chroma Key เป็นเทคนิคในการซ้อนภาพวิดีโอสองภาพเข้าด้วย กัน นิยมนำมาทำภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ ต่างๆ โดยจะถ่ายภาพของตัวละคร (เช่น ผู้ ประกาศข่าว) ด้วยฉากด้านหลังที่เป็นสีพื้น เช่น สี เขียว (Greenscreen) หรือสีน้ำเงิน (Bluescreen) จากนั้นจะนำภาพที่จะใช้เป็นฉาก (เช่น ฉากทะเล หรือภูเขา) มาซ้อนทับกับฉากที่เป็นสีพื้น โดยใช้ Chroma Key ซึ่งเป็นเครื่องมือสำหรับแก้ไขสื่อ แบบดิจิตอล โดยใช้สำหรับเลือกและตัดฉากที่ถูก ถ่ายไว้ด้วยสีพื้นออก จากนั้นแทนที่ด้วยฉากจริง
  • 33. ซอฟต์แวร์สำาหรับแอนิเมชั่น Adobe Director เป็นโปรแกรมที่สามารถสร้างงานมัลติมีเดียคุณภาพสูง Adobe Flash เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสร้างแอนิเมชั่นและกราฟฟิก สำาหรับมัลติมีเดียบนเว็บ TrueSpace เป็นโปรแกรมสร้างรูปทรง 3 มิติ สามารถใช้สร้างภาพ มนุษย์ ใบหน้า การแสดงอารมณ์ต่างๆ และวาดรูปทรง เรขาคณิตได้ เป็นโปรแกรมสร้างภาพ GIF Animation สามารถพรีวิว GIF Animation ภาพตัวอย่าง และสามารถกำาหนดรายละเอียดของภาพใน แต่ละเฟรมได้ เป็นโปรแกรมสำาหรับออกแบบภาพใน เช่น อาคาร บ้าน Cad 4 เรือน และโรงงาน เป็นต้น 3D Browser Light เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ
  • 34. ซอฟต์แวร์สำาหรับแอนิเมชั่น เป็นโปรแกรมที่สำาหรับสร้างภาพเสมือนและจำาลองระบบ 2O-im Pro Viewer การทำางานต่างๆ ด้านวิศวกรรม เป็นโปรแกรมที่สำาหรับสร้างภาพโมเสก Mosaic Magic Ulead Cool 3D เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างแอนิเมชั่นทั้ง GIF Animation และไฟล์ AVI เพื่อนำาไปใช้งานกับเว็บหรืองานนำาเสนอ ต่างๆ เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างเว็บเพจในรูปแบบอินเตอร์แอ๊ก SWiSH ทีฟ (Interactive) เช่นเดียวกับ Adobe Flash 3D Canvas เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพ 3 มิติ แบบเรียลไทม์ Moho เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างการ์ตูนหรือแอนิเมชั่นในรูปแบบ 2 มิติ
  • 35. ซอฟต์แวร์สำาหรับแอนิเมชั่น CADMAX Solid Master เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพจำาลอง 2 มิติ 3 มิติ SendPic เป็นโปรแกรมที่สำาหรับแก้ไขและดัดแปลงคุณลักษณะต่างๆ ขิงรูปภาพ 3D Explortion เป็นโปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ เป็นโปรแกรมท่ี่นิยมใช้กันมากที่สุดในธุรกิจภาพยนตร์ Maya สามารถนำาไปใช้สร้างแอนิเมชั่นงานออกแบบตกแต่ง ภายใน และออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างภาพแอนิเมชั่นแบบ 3 มิติ นิยม Lightwave ใช้เพื่อสร้างงานภาพยนตร์ 3D Studio Max เป็นโปรแกรมสำาหรับสร้างแอนิเมชั่นและกราฟฟิก 3 มิติ นิยมใช้ในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย และงานภาพยนตร์
  • 36. รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น ชื่อไฟล์ นามสกุล GIF Animation .gif ไฟล์ GIF Animation เป็นไฟล์สำาหรับแอนิเมชั่นที่ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากเป็นไฟล์ที่มีขนาดเล็ก ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล เหมาะ สำาหรับการใช้งานบนเว็บไซต์
  • 37. รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น ชื่อไฟล์ นามสกุล MNG .mng เป็นไฟล์แอนิเมชั่นที่สามารถใช้งานกับบราวเซอร์ต่างๆ ได้หลากหลาย เช่น Firefox,Internet Explorer และบราวเซอร์ของ Sony Ericsson เป็นต้น
  • 38. รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น ชื่อไฟล์ นามสกุล ANI .ani เป็นไฟล์ภาพที่ใช้งานกับ Animated Cursor บนแพล็ตฟอร์มของ Windows ซึ่งจะจัดเก็บองค์ประกอบต่างๆ แบบแยกเป็นเฟรมตาม แอนิเมชั่น
  • 39. รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น ชื่อไฟล์ นามสกุล SWF .swf เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างจากโปรแกรม Adobe Flash สามารถเล่นไฟล์ ได้ด้วย Flash Player หรือบราวเซอร์ที่มี Plug-in รองรับไฟล์ชนิด นี้ นิยมนำาไปใช้บนเว็บไซต์ เนื่องจากมีขนาดเล็ก
  • 40. รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น ชื่อไฟล์ นามสกุล FLC/FLI .flc/fli เป็นไฟล์สำาหรับแอนิเมชั่นที่ถูกพัฒนโดย Autodesk ซึี่งสร้างจาก โปรแกรม Autodesk Animator Studio และ Autodesk 3D Studio Program สามารถแสดงผลได้ 256 สี
  • 41. รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น ชื่อไฟล์ นามสกุล MAX .max เป็นไฟล์แอนิเมชั่นทีสร้างจาก 3D Studio MAX ได้รับการพัฒนา โดย Autodesk Media&Entertainment ได้รับความนิยมมากใน ปัจจุบัน เหมาะสำาหรับใช้งานบนแฟล็ตฟอร์ม Windows ซึ่งสามาร รถแก้ไขคุณสมบัติต่างๆของอ็อบเจ็กต์ได้ เช่น โครงสร้าง พื้นผิว และแสง เป็นต้น ไฟล์ชนิดนี้อาจแปลงให้เป็นไฟล์ AVI ในลักษณะ วิดีโอคลิปได้
  • 42. assignment แบ่งกลุ่มๆละ 5 คน หาสื่อดิจิทัลที่มีภาพเคลื่อนไหวประกอบ พร้อมวิเคราะห์องค์ ประกอบของสื่อ เช่นเป็นภาพเคลื่อนไหวประเภทใด (Draw/Model/Computer animation) ใช้เทคนิคใดในการสร้าง (Onion skin/Flip Book/Rotoscope/Greenscreen) คะแนนเก็บ 5คะแนน (Present ท้ายคาบ)