SlideShare a Scribd company logo
1
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
(ที่มา:การสรางเว็บไซตดวยโปรแกรม Dreamweaver 8 ครูนิคม โรงเรียนเกาะแตวพิทยาสรรค จ.สงขลา)
1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต
อินเทอรเน็ต (Internet) เปนเครือขายคอมพิวเตอรที่ใหญที่สุดในโลก ซึ่งรวมเอาเครือขายยอย
เปนจํานวนมากตอเชื่อมภายใตมาตรฐานเดียวกันจนเปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญ ทําใหทั่วโลก
เชื่อมโยงกัน เปนเครือขายเดียวกันไดในรูปแบบ ของ เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)
ลักษณะของเวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web)
เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web – www) หรือเรียกยอ ๆ วาเว็บ (Web) เปนอินเทอรเน็ต
ชนิดหนึ่ง ที่อยูในรูปแบบของกราฟก (Graphic) และมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่งประกอบดวยขอความ
(Text) ภาพ (Image) เสียง (Sound) และ ภาพเคลื่อนไหว (Movie) เปนตน ผูใชทั่วไปสามารถเขาไปใน
เว็บไดงายและจะไดรับขอมูลครบถวนปจจุบันถาพูดถึงอินเทอรเน็ต คนทั่วไปจะเขาใจวาหมายถึงเว็บ ทั้งที่
จริงแลวเว็บเปนสวนหนึ่งของอินเทอรเน็ตเทานั้น
เว็บไซต (Website) และเว็บเพจ (Webpage)
เอกสารหรือสวนที่ติดตอกับผูใชในเว็บ เรียกวา เว็บเพจ (Webpage) หมายถึง เอกสารหนึ่งหนา
การใชเว็บก็คือ การเปดอานหรือเปดใชเว็บแตละหนานั่นเอง เว็บเพจอาจสรางขึ้นดวย
ภาษาคอมพิวเตอร เชน HTML, ASP, PHP, JAVA ฯลฯ
เมื่อนําเว็บเพจหลาย ๆ หนามารวมกันและระบุอยูในอินเทอรเน็ต หรือ ยูอารแอล (Uniform
Resource Locator – URL) ใ ห กับ เ ว็บ เ พจ ก ลุม นั้ น จ ะ เ รี ย กว า เ ว็ บ ไ ซ ต ( Web Site)
เมื่อเปดเว็บไซตขึ้นมาจะพบกับหนาแรกของเว็บไซต ซึ่งเรียกวา โฮมเพจ (Homepage) ซึ่งเปน
หนาที่สําคัญที่สุดและเปนหนาที่จะเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจและเว็บไซตอื่น ๆ
เว็บเบราวเซอร (Web Browser)
เว็บเบราวเซอร (Web Browser) คือ โปรแกรมที่ใชสําหรับเปดเว็บเพจหรือรับสงขอมูลตามที่
เครื่องลูกขายรองขอเมื่อเราเปดเขาสูอินเทอรเน็ต เว็บเบราวเซอรที่ไดรับความนิยมปจจุบันมีหลาย
โปรแกรม เชน Microsoft Internet Explorer (IE), Google Chrome, Mozilla Firefox และ Opera
2
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
ภาษา HTML
ภาษา HTML ยอมาจากคําวา Hypertext Markup Language เปนภาษาที่ใชสําหรับสราง
เว็บเพจ โดยจะไดรับการแปลหรือการแสดงผลโดยเว็บเบราวเซอรซึ่งสามารถแสดงไดทั้ง
ขอความ ภาพ และเสียง
โดเมนเนม (Domain Name)
โดเมนเนม (Domain Name) หรือที่เขาใจกันทั่วไป คือ ชื่อเรียกเว็บไซตนั่นเอง การจดทะเบียน
โดเมนเนมจึงเปนการลงทะเบียนชื่อใหกับเว็บไซตของเราในโลกอินเทอรเน็ต โดเมนเนมที่ขอจดทะเบียน
จะตองไมซ้ํากับคนอื่น และควรตั้งใหเกี่ยวของกับเนื้อหาภายในเว็บไซต หรือเกี่ยวของกับสินคาและ
การบริการ ตลอดจนใชคํางาย ๆ ใหจําได เชน sanook.com และ yahoo.comเปนตน
โดเมนที่เปนชื่อยอของประเทศที่นาสนใจ
โดเมนเนมเหลานี้จะใชตอตอนทายสุด เพื่อสะดวกในการอางอิงวาเปนโฮสตหรือเว็บไซตที่อยูใน
ประเทศใด เชน www.ksc.net.th จะเห็นวา ลงทายดวย .th จะเปนโดเมนของประเทศไทย
3
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
ความหมายของซับโดเมน
ซับโดเมนจะเปนสวนที่อยูถัดจากโดเมน เปนโดเมนยอยที่เจาะจงลงไปวาเปนหนวยงานหรือ
องคกรในดานใด เชน www.ksc.net.th ซับโดเมน คือ net จะเปนองคกรที่ใหบริการดานเครือขายหรือ
เน็ตเวิรค
2. หลักการออกแบบเว็บไซต
หลักการออกแบบเว็บไซตสามารถแบงออกเปนขั้นตอนตาง ๆ เพื่อใหเหมาะสมกับผูเริ่มตนใชเปน
แนวทางในการสรางและพัฒนาเว็บไซต
การวางแผน
4
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
การวางแผนนับวามีความสําคัญมากในการสรางเว็บไซต เพื่อใหการทํางานในขั้นตอนตาง ๆ มี
แนว ทางที่ชัดเจนและสามารถปฏิบัติไดตามที่ตั้งเปาไว ซึ่งประกอบดวย
การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคของเว็บไซต
การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคของเว็บไซตที่จะสราง นับเปนสิ่งสําคัญอยางมากในการเริ่มตน
สรางเว็บไซตเลยทีเดียว เพื่อใหเห็นภาพวาเราตองการนําเสนอขอมูลแบบใด เชน เว็บไซตเพื่อใหขอมูล
ขาวสาร การบริการดานตาง ๆ หรือขายสินคา เปนตน เมื่อสามารถกําหนดจุดประสงคของเว็บไซตไดแลว
เงื่อนไขเหลานี้จะเปนตัวกําหนดโครงสรางรูปแบบรวมถึงหนาตา และสีเว็บไซตของเราดวย
การกําหนดกลุมเปาหมาย
เพื่อใหการสรางและออกแบบเว็บไซตไดรับความนิยม การกําหนดกลุมเปาหมายในการเขาชม
เว็บไซตก็นับวามีสวนสําคัญไมนอย เชน เว็บไซตสําหรับเยาวชน นักเรียน และนักศึกษา ในการคนหา
ขอมูล หรือเว็บไซตสําหรับบุคคลทั่วไปที่เขาไปใชบริการตาง ๆ เปนตน
การเตรียมขอมูล
เนื้อหาหรือขอมูลจัดวาเปนสิ่งที่เชิญชวนใหผูอื่นเขามาเยี่ยมชมเว็บไซต และตองทราบวาขอมูล
ขาวสารตาง ๆ สามารถนํามาจากแหลงใดบาง เชน การคิดนําเสนอขอมูลดวยตัวเอง หรือนําขอมูลที่
นาสนใจมาจากสื่ออื่น เชน หนังสือพิมพ วาระสาร เว็บไซต และที่สําคัญการขออนุญาตเจาของบทความ
กอนเพื่อปองกันเรื่องลิขสิทธิ์ดวย
การเตรียมสิ่งตาง ๆ ที่จําเปน
ในการออกแบบเว็บไซตตองอาศัยความสามารถตาง ๆ เชน โปรแกรมสําหรับสราง เว็บไซต
ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย การจดโดเมนเนม การหาผูใหบริการรับฝากเว็บไซต (Web Hosting) เปนตน
การจัดโครงสรางขอมูล
5
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
เมื่อไดขอมูลตาง ๆ เชน กําหนดเนื้อหาและจุดประสงคของเว็บไซต การกําหนดกลุม เปาหมาย
การเตรียมขอมูล การเตรียมสิ่งตาง ๆ ที่จําเปนจากขั้นแรกเรียบรอยแลว ในขั้นตอนนี้ เราจะจัดระบบเพื่อ
ใชเปนกรอบสําหรับการออกแบบและดําเนินการในขั้นตอนตอไป ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
 โครงสรางและสารบัญของเว็บไซต
 การใชระบบนําผูเขาชมไปยังสวนตาง ๆ ภายในเว็บไซตหรือที่เราเรียกวาระบบนําทาง
(Navigation)
 องคประกอบที่ตองนํามาใช เชน สื่อมัลติมีเดีย ภาพกราฟก แบบฟอรมตาง ๆ
 การกําหนดรูปแบบและลักษณะของเว็บเพจ
 การกําหนดฐานขอมูล ภาษาสคริปตหรือแอปพลิเคชันที่นํามาใชในเว็บไซต
 การบริการเสริมตาง ๆ
 การออกแบบเว็บไซต
นับเปนขั้นตอนในการออกแบบรูปราง โครงสรางและลักษณะทางดานกราฟกของหนาเว็บเพจ
โดย โปรแกรมที่เหมาะสมในการออกแบบคือ Photoshop หรือ Fireworks ซึ่งจะชวยในการสรางเคา
โครงของหนาเว็บและองคประกอบตาง ๆ เชน ชื่อเว็บไซต โลโก รูปไอคอน ปุมไอคอน ภาพเคลื่อนไหว
แบนเนอรโฆษณา เปนตน
ในการออกแบบเว็บไซตนั้นยังตองคํานึงถึงสีสัน และรูปแบบของสวนประกอบตาง ๆ ที่ไมใช
ภาพกราฟก เชน ขนาดของตัวอักษร สีของขอความ สีพื้น ลวดลายของเสนกรอบเพื่อความสวยงาม
และ ดึงดูดความสนใจผูเยี่ยมชมดวย
6
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
สวนประกอบของหนาเว็บเพจ
เราสามารถจําแนกสวนประกอบของหนาเว็บเพจ เปน 3 สวน ดังนี้
1. สวนหัว (Page Header) นาจะอยูบริเวณบนสุดของหนาเว็บเพจ เปนสวนที่แสดงชื่อ
เว็บไซต โลโก แบนเนอร โฆษณาเชื่อมโยงสําหรับขามไปยังหนาเว็บอื่น
2. สวนเนื้อหา (Page Body) จะอยูบริเวณตอนกลางของหนาเว็บเพจ ซึ่งเปนสวนที่แสดงเนื้อหา
ภายในหนาเว็บเพจนั้น โดยประกอบดวยขอความ ขอมูล ภาพเคลื่อนไหว เปนตน
7
ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3
3. สวนทาย (Page Footer) จะอยูบริเวณดานลางสุดของหนาเว็บเพจ สวนมากใชสําหรับ
เชื่อมโยงขอความสั้น ๆ เขาใจงาย หรือจะมีชื่อเจาของเว็บไซต อีเมลแอดเดรส (E-mail Address) ของ
ผูดูแลเว็บไซตสําหรับติดตอกับทางเว็บไซต
แนวคิดในการออกแบบ
 ดูจากเว็บไซตอื่นเพื่อเปนตัวอยาง การดูจากเว็บไซตอื่นบนอินเทอรเน็ตเพื่อศึกษาเปนตัวอยางนั้น
นับเปนวิธีการที่งายที่สุด แตก็ควรนําไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาและกลุมเปาหมายของ
เราดวย
 ศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพในรูปแบบตาง ๆ สื่อสิ่งพิมพในที่นี้ ไดแก แมกกาซีน โปสเตอร
โฆษณา โบรชัวร หรือหนังสือบางเลมที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดความสนใจ สามารถนํามา
ประยุกตใชในเว็บ

More Related Content

What's hot (14)

ส่วนนำ1 pop
ส่วนนำ1 popส่วนนำ1 pop
ส่วนนำ1 pop
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ส่วนนำ1
ส่วนนำ1ส่วนนำ1
ส่วนนำ1
 
1 1
1 11 1
1 1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 001
00 00100 001
00 001
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
ส่วนนำ1
ส่วนนำ1ส่วนนำ1
ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 

Viewers also liked

আত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্র
আত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্রআত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্র
আত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্র
Abul Bashar
 
General Applications Info.-E
General Applications Info.-EGeneral Applications Info.-E
General Applications Info.-E
dmtgms
 
Presentasi kpk
Presentasi kpkPresentasi kpk
Presentasi kpk
Muhammad Yogi Ramadhan
 
Rollup presentation
Rollup presentationRollup presentation
Rollup presentation
memco-int
 
CCRMA - 2011
CCRMA - 2011CCRMA - 2011
CCRMA - 2011
Alvaro Barbosa
 
Cpa network - способы монетизации трафика
Cpa network -  способы монетизации трафикаCpa network -  способы монетизации трафика
Cpa network - способы монетизации трафика
Kira Zhestkova
 
Anna col
Anna colAnna col
Anna col
lulupipi
 
2015 02-02 activerende taaldidactiek kl
2015 02-02 activerende taaldidactiek kl2015 02-02 activerende taaldidactiek kl
2015 02-02 activerende taaldidactiek klwimdboer
 
Tele3113 wk3tue
Tele3113 wk3tueTele3113 wk3tue
Tele3113 wk3tue
Vin Voro
 
ICT in (Dutch) schools
ICT in (Dutch) schoolsICT in (Dutch) schools
ICT in (Dutch) schools
wimdboer
 
Plantilla web quest azul
Plantilla web quest azulPlantilla web quest azul
Plantilla web quest azul
pepito027
 
সৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রম
সৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রমসৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রম
সৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রম
Abul Bashar
 
Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...
Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...
Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...
Ciro Llueca
 
Onderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VO
Onderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VOOnderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VO
Onderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VO
wimdboer
 
Slide bio4206
Slide bio4206Slide bio4206
Slide bio4206
dparkin
 
GT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobile
GT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobileGT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobile
GT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobile
mconf
 
Spring Tour Trophy
Spring Tour TrophySpring Tour Trophy
Spring Tour Trophy
Shawn Firehock
 
Spartups Meeting Template
Spartups Meeting TemplateSpartups Meeting Template
Spartups Meeting Template
Saif Akhtar
 
High Cholesterol
High CholesterolHigh Cholesterol
High Cholesterol
Diyana
 

Viewers also liked (20)

আত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্র
আত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্রআত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্র
আত্ম সচেনতা অর্জনের সূত্র
 
General Applications Info.-E
General Applications Info.-EGeneral Applications Info.-E
General Applications Info.-E
 
Presentasi kpk
Presentasi kpkPresentasi kpk
Presentasi kpk
 
Rollup presentation
Rollup presentationRollup presentation
Rollup presentation
 
CCRMA - 2011
CCRMA - 2011CCRMA - 2011
CCRMA - 2011
 
Cpa network - способы монетизации трафика
Cpa network -  способы монетизации трафикаCpa network -  способы монетизации трафика
Cpa network - способы монетизации трафика
 
Anna col
Anna colAnna col
Anna col
 
2015 02-02 activerende taaldidactiek kl
2015 02-02 activerende taaldidactiek kl2015 02-02 activerende taaldidactiek kl
2015 02-02 activerende taaldidactiek kl
 
Tele3113 wk3tue
Tele3113 wk3tueTele3113 wk3tue
Tele3113 wk3tue
 
Lix x
Lix xLix x
Lix x
 
ICT in (Dutch) schools
ICT in (Dutch) schoolsICT in (Dutch) schools
ICT in (Dutch) schools
 
Plantilla web quest azul
Plantilla web quest azulPlantilla web quest azul
Plantilla web quest azul
 
সৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রম
সৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রমসৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রম
সৃজনশীল প্রশ্ন, শিক্ষক ও শ্রেণি কার্যক্রম
 
Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...
Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...
Plataformes digitals per difondre el patrimoni cultural (Ciro Llueca, Visual ...
 
Onderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VO
Onderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VOOnderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VO
Onderzoek naar het werkelijk gebruik van de ELO in het VO
 
Slide bio4206
Slide bio4206Slide bio4206
Slide bio4206
 
GT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobile
GT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobileGT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobile
GT-Mconf: Multiconference system for interoperable web and mobile
 
Spring Tour Trophy
Spring Tour TrophySpring Tour Trophy
Spring Tour Trophy
 
Spartups Meeting Template
Spartups Meeting TemplateSpartups Meeting Template
Spartups Meeting Template
 
High Cholesterol
High CholesterolHigh Cholesterol
High Cholesterol
 

Similar to Dream8

00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1Pop Cholthicha
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1Thanggwa Taemin
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1Aumpika Jariya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 

Similar to Dream8 (20)

00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
กนกพร5 1
กนกพร5 1กนกพร5 1
กนกพร5 1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 

Recently uploaded

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

Dream8

  • 1. 1 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 (ที่มา:การสรางเว็บไซตดวยโปรแกรม Dreamweaver 8 ครูนิคม โรงเรียนเกาะแตวพิทยาสรรค จ.สงขลา) 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต (Internet) เปนเครือขายคอมพิวเตอรที่ใหญที่สุดในโลก ซึ่งรวมเอาเครือขายยอย เปนจํานวนมากตอเชื่อมภายใตมาตรฐานเดียวกันจนเปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญ ทําใหทั่วโลก เชื่อมโยงกัน เปนเครือขายเดียวกันไดในรูปแบบ ของ เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web) ลักษณะของเวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web) เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web – www) หรือเรียกยอ ๆ วาเว็บ (Web) เปนอินเทอรเน็ต ชนิดหนึ่ง ที่อยูในรูปแบบของกราฟก (Graphic) และมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่งประกอบดวยขอความ (Text) ภาพ (Image) เสียง (Sound) และ ภาพเคลื่อนไหว (Movie) เปนตน ผูใชทั่วไปสามารถเขาไปใน เว็บไดงายและจะไดรับขอมูลครบถวนปจจุบันถาพูดถึงอินเทอรเน็ต คนทั่วไปจะเขาใจวาหมายถึงเว็บ ทั้งที่ จริงแลวเว็บเปนสวนหนึ่งของอินเทอรเน็ตเทานั้น เว็บไซต (Website) และเว็บเพจ (Webpage) เอกสารหรือสวนที่ติดตอกับผูใชในเว็บ เรียกวา เว็บเพจ (Webpage) หมายถึง เอกสารหนึ่งหนา การใชเว็บก็คือ การเปดอานหรือเปดใชเว็บแตละหนานั่นเอง เว็บเพจอาจสรางขึ้นดวย ภาษาคอมพิวเตอร เชน HTML, ASP, PHP, JAVA ฯลฯ เมื่อนําเว็บเพจหลาย ๆ หนามารวมกันและระบุอยูในอินเทอรเน็ต หรือ ยูอารแอล (Uniform Resource Locator – URL) ใ ห กับ เ ว็บ เ พจ ก ลุม นั้ น จ ะ เ รี ย กว า เ ว็ บ ไ ซ ต ( Web Site) เมื่อเปดเว็บไซตขึ้นมาจะพบกับหนาแรกของเว็บไซต ซึ่งเรียกวา โฮมเพจ (Homepage) ซึ่งเปน หนาที่สําคัญที่สุดและเปนหนาที่จะเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจและเว็บไซตอื่น ๆ เว็บเบราวเซอร (Web Browser) เว็บเบราวเซอร (Web Browser) คือ โปรแกรมที่ใชสําหรับเปดเว็บเพจหรือรับสงขอมูลตามที่ เครื่องลูกขายรองขอเมื่อเราเปดเขาสูอินเทอรเน็ต เว็บเบราวเซอรที่ไดรับความนิยมปจจุบันมีหลาย โปรแกรม เชน Microsoft Internet Explorer (IE), Google Chrome, Mozilla Firefox และ Opera
  • 2. 2 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 ภาษา HTML ภาษา HTML ยอมาจากคําวา Hypertext Markup Language เปนภาษาที่ใชสําหรับสราง เว็บเพจ โดยจะไดรับการแปลหรือการแสดงผลโดยเว็บเบราวเซอรซึ่งสามารถแสดงไดทั้ง ขอความ ภาพ และเสียง โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม (Domain Name) หรือที่เขาใจกันทั่วไป คือ ชื่อเรียกเว็บไซตนั่นเอง การจดทะเบียน โดเมนเนมจึงเปนการลงทะเบียนชื่อใหกับเว็บไซตของเราในโลกอินเทอรเน็ต โดเมนเนมที่ขอจดทะเบียน จะตองไมซ้ํากับคนอื่น และควรตั้งใหเกี่ยวของกับเนื้อหาภายในเว็บไซต หรือเกี่ยวของกับสินคาและ การบริการ ตลอดจนใชคํางาย ๆ ใหจําได เชน sanook.com และ yahoo.comเปนตน โดเมนที่เปนชื่อยอของประเทศที่นาสนใจ โดเมนเนมเหลานี้จะใชตอตอนทายสุด เพื่อสะดวกในการอางอิงวาเปนโฮสตหรือเว็บไซตที่อยูใน ประเทศใด เชน www.ksc.net.th จะเห็นวา ลงทายดวย .th จะเปนโดเมนของประเทศไทย
  • 3. 3 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 ความหมายของซับโดเมน ซับโดเมนจะเปนสวนที่อยูถัดจากโดเมน เปนโดเมนยอยที่เจาะจงลงไปวาเปนหนวยงานหรือ องคกรในดานใด เชน www.ksc.net.th ซับโดเมน คือ net จะเปนองคกรที่ใหบริการดานเครือขายหรือ เน็ตเวิรค 2. หลักการออกแบบเว็บไซต หลักการออกแบบเว็บไซตสามารถแบงออกเปนขั้นตอนตาง ๆ เพื่อใหเหมาะสมกับผูเริ่มตนใชเปน แนวทางในการสรางและพัฒนาเว็บไซต การวางแผน
  • 4. 4 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 การวางแผนนับวามีความสําคัญมากในการสรางเว็บไซต เพื่อใหการทํางานในขั้นตอนตาง ๆ มี แนว ทางที่ชัดเจนและสามารถปฏิบัติไดตามที่ตั้งเปาไว ซึ่งประกอบดวย การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคของเว็บไซต การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคของเว็บไซตที่จะสราง นับเปนสิ่งสําคัญอยางมากในการเริ่มตน สรางเว็บไซตเลยทีเดียว เพื่อใหเห็นภาพวาเราตองการนําเสนอขอมูลแบบใด เชน เว็บไซตเพื่อใหขอมูล ขาวสาร การบริการดานตาง ๆ หรือขายสินคา เปนตน เมื่อสามารถกําหนดจุดประสงคของเว็บไซตไดแลว เงื่อนไขเหลานี้จะเปนตัวกําหนดโครงสรางรูปแบบรวมถึงหนาตา และสีเว็บไซตของเราดวย การกําหนดกลุมเปาหมาย เพื่อใหการสรางและออกแบบเว็บไซตไดรับความนิยม การกําหนดกลุมเปาหมายในการเขาชม เว็บไซตก็นับวามีสวนสําคัญไมนอย เชน เว็บไซตสําหรับเยาวชน นักเรียน และนักศึกษา ในการคนหา ขอมูล หรือเว็บไซตสําหรับบุคคลทั่วไปที่เขาไปใชบริการตาง ๆ เปนตน การเตรียมขอมูล เนื้อหาหรือขอมูลจัดวาเปนสิ่งที่เชิญชวนใหผูอื่นเขามาเยี่ยมชมเว็บไซต และตองทราบวาขอมูล ขาวสารตาง ๆ สามารถนํามาจากแหลงใดบาง เชน การคิดนําเสนอขอมูลดวยตัวเอง หรือนําขอมูลที่ นาสนใจมาจากสื่ออื่น เชน หนังสือพิมพ วาระสาร เว็บไซต และที่สําคัญการขออนุญาตเจาของบทความ กอนเพื่อปองกันเรื่องลิขสิทธิ์ดวย การเตรียมสิ่งตาง ๆ ที่จําเปน ในการออกแบบเว็บไซตตองอาศัยความสามารถตาง ๆ เชน โปรแกรมสําหรับสราง เว็บไซต ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย การจดโดเมนเนม การหาผูใหบริการรับฝากเว็บไซต (Web Hosting) เปนตน การจัดโครงสรางขอมูล
  • 5. 5 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 เมื่อไดขอมูลตาง ๆ เชน กําหนดเนื้อหาและจุดประสงคของเว็บไซต การกําหนดกลุม เปาหมาย การเตรียมขอมูล การเตรียมสิ่งตาง ๆ ที่จําเปนจากขั้นแรกเรียบรอยแลว ในขั้นตอนนี้ เราจะจัดระบบเพื่อ ใชเปนกรอบสําหรับการออกแบบและดําเนินการในขั้นตอนตอไป ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้  โครงสรางและสารบัญของเว็บไซต  การใชระบบนําผูเขาชมไปยังสวนตาง ๆ ภายในเว็บไซตหรือที่เราเรียกวาระบบนําทาง (Navigation)  องคประกอบที่ตองนํามาใช เชน สื่อมัลติมีเดีย ภาพกราฟก แบบฟอรมตาง ๆ  การกําหนดรูปแบบและลักษณะของเว็บเพจ  การกําหนดฐานขอมูล ภาษาสคริปตหรือแอปพลิเคชันที่นํามาใชในเว็บไซต  การบริการเสริมตาง ๆ  การออกแบบเว็บไซต นับเปนขั้นตอนในการออกแบบรูปราง โครงสรางและลักษณะทางดานกราฟกของหนาเว็บเพจ โดย โปรแกรมที่เหมาะสมในการออกแบบคือ Photoshop หรือ Fireworks ซึ่งจะชวยในการสรางเคา โครงของหนาเว็บและองคประกอบตาง ๆ เชน ชื่อเว็บไซต โลโก รูปไอคอน ปุมไอคอน ภาพเคลื่อนไหว แบนเนอรโฆษณา เปนตน ในการออกแบบเว็บไซตนั้นยังตองคํานึงถึงสีสัน และรูปแบบของสวนประกอบตาง ๆ ที่ไมใช ภาพกราฟก เชน ขนาดของตัวอักษร สีของขอความ สีพื้น ลวดลายของเสนกรอบเพื่อความสวยงาม และ ดึงดูดความสนใจผูเยี่ยมชมดวย
  • 6. 6 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 สวนประกอบของหนาเว็บเพจ เราสามารถจําแนกสวนประกอบของหนาเว็บเพจ เปน 3 สวน ดังนี้ 1. สวนหัว (Page Header) นาจะอยูบริเวณบนสุดของหนาเว็บเพจ เปนสวนที่แสดงชื่อ เว็บไซต โลโก แบนเนอร โฆษณาเชื่อมโยงสําหรับขามไปยังหนาเว็บอื่น 2. สวนเนื้อหา (Page Body) จะอยูบริเวณตอนกลางของหนาเว็บเพจ ซึ่งเปนสวนที่แสดงเนื้อหา ภายในหนาเว็บเพจนั้น โดยประกอบดวยขอความ ขอมูล ภาพเคลื่อนไหว เปนตน
  • 7. 7 ผูสอน นายปยะพงษ พรหมบุตร วิชาออกแบบเว็บไซต ม.3 3. สวนทาย (Page Footer) จะอยูบริเวณดานลางสุดของหนาเว็บเพจ สวนมากใชสําหรับ เชื่อมโยงขอความสั้น ๆ เขาใจงาย หรือจะมีชื่อเจาของเว็บไซต อีเมลแอดเดรส (E-mail Address) ของ ผูดูแลเว็บไซตสําหรับติดตอกับทางเว็บไซต แนวคิดในการออกแบบ  ดูจากเว็บไซตอื่นเพื่อเปนตัวอยาง การดูจากเว็บไซตอื่นบนอินเทอรเน็ตเพื่อศึกษาเปนตัวอยางนั้น นับเปนวิธีการที่งายที่สุด แตก็ควรนําไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาและกลุมเปาหมายของ เราดวย  ศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพในรูปแบบตาง ๆ สื่อสิ่งพิมพในที่นี้ ไดแก แมกกาซีน โปสเตอร โฆษณา โบรชัวร หรือหนังสือบางเลมที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดความสนใจ สามารถนํามา ประยุกตใชในเว็บ