SlideShare a Scribd company logo
ขั้นตอนมาตราฐานการวัดสีสารให้กลิ่นและน้าหอม
บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์(ประเทศไทย) จากัด (Sensing Business Unit)
33 ซอยรามคาแหง 22 (จิตตรานุเคราะห์) ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทร: (66) 2 029 7000
1
ภาพรวมธุรกิจ
การเติบโตของความต้องการสารให้รสชาติและความหอมมี
อัตราเพิ่มขึ้นประมาณ 4.5% ต่อปี การเติบโตนี้ส่งผลให้มีการ
ตรวจสอบคุณภาพของสารให้รสชาติและกลิ่นหอมเพิ่มมาก
ขึ้น โดยกาหนดเป็นพารามิเตอร ์ต่าง ๆ เช่น สี รสชาติ เนื้อ
สัมผัสและกลิ่นหอม จากประสบการณ์ที่สะสมมานานหลายปี
การพัฒนาทักษะในการคัดเลือก ตรวจสอบพารามิเตอร ์ต่าง ๆ
ข้างต้นเป็นสิ่งที่ท้าทายเป็นอย่างมาก นับว่าเป็นเรื่องโชคดีที่สี
เป็นพารามิเตอร ์ที่สามารถกาหนดปริมาณได้โดยใช้เครื่องมือ
วัด ดังนั้นจึงช่วยให้นักเทคโนโลยีการอาหารกาหนดตัวเลขค่า
สี กาหนดค่าความแตกต่างหรือค่าสีที่เปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย
โดยการใช้เครื่องวัดสีช่วยให้กระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติ
ของสี ทาได้ง่ายขึ้นมาก
ส่วนผสมที่ให้รสชาติและความหอมจะถูกทดสอบฟังก์ชั่นของ
รสชาติและกลิ่นเป็นหลัก ในขณะเดียวกัน สีเป็นอีกหนึ่ง
พารามิเตอร ์ในการทดสอบทีมีความสาคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ใน
ทุกๆ ปี ผู้นาตลาดรายใหญ่ ส่วนมากใช้การควบคุมสีเป็น
ขั้นตอนมาตรฐานในการควบคุมคุณภาพเพื่อให้มั่นใจว่า
ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพคงที่ สอดคล้องตรงตามข้อกาหนด สีที่
ไม่สม่าเสมอส่งผลให้เห็นถึงการควบคุมคุณภาพที่ไม่ดีและส่ง
มอบผลิตภัณฑ์ที่ด้อยคุณภาพให้กับผู้บริโภค
การวัดสีสามารถกาหนดให้ทาได้ในหลายขั้นตอน เริ่มจาก
ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิต และขั้นตอน
สุดท้ายเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
บทความนี้เราจะแสดงให้เห็นถึงการทดสอบและการปฏิบัติที่
พิสูจน์แล้วว่าใช้ได้ผลในอุตสาหกรรมและยังเน้นความท้าทาย
บางอย่างที่นักเทคโนโลยีการอาหารต้องเผชิญและแนว
ทางแก้ไขสาหรับสิ่งที่ท้าทายเหล่านี้
ทดสอบการเปลี่ยนสีของของเหลว (liquid color flow
test)
วิธีการทดสอบนี้ใช้กับส่วนมากของผลิตภัณฑ์ซึ่งมีสถานะเป็น
ของเหลว โปร่งใส มีความผันแปรในช่วงโทนสีเหลือง
การทดสอบสี สามารถเข้าไปร่วมเป็ นส่วนหนึ่งกับระบบงานที่
ปฏิบัติอยู่ได้ทันที โดยเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ให้รสชาติ ขั้นต้น
ตัวอย่างจะถูกทดสอบค่าความหนาแน่นและค่าการหักเหของ
แสงซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเชิงลดลงด้วยระบบเก็บตัวอย่างแบบ
อัตโนมัติ (auto-sampler) โดยปลายท่อของระบบ auto-
sampler จะถูกต่อเข้ากับเครื่องวัดค่าสี โดยที่ตัวอย่างไหล
ผ่าน flow cell ของระบบเครื่องวัดสี
วิธีการนี้ทาให้ตัวอย่างของเหลวไหลผ่านทั้งระบบโดยไม่มีการ
หยุดชะงัก ของเหลวที่ไหลเข้าและออกจาก flow cell ทาให้วัด
ค่าสีและตรวจสอบควบคุมคุณภาพสีของผลิตภัณฑ์ได้
เครื่องวัดสีคอนนิก้า มินอลต้า Spectrophotometer CM-5
เป็นหนึ่งในระบบการวัดค่าสีดังกล่าวซึ่งทาการวัดตัวอย่าง
ของเหลวใสโดยอัตโนมัติช่วยให้การทางานง่ายขึ้น
อุปกรณ์เสริม flow cell สามารถติดตั้งได้ง่ายและช่วยให้การ
ประเมินค่าสีทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
Flow cell และท่อนาตัวอย่างไหลเข้าและไหลออกสามารถ
ติดตั้งเข้ากับช่องวัดแบบส่องผ่าน (transmittance
chamber) ของเครื่องวัดสี คอนนิก้า มินอลต้า
Spectrophotometer CM-5 และจับยึดให้มั่นคงแข็งแรง
ด้วยอุปกรณ์เสริม CM-A96 Transmittance Specimen
Holder
การวัดค่าสีสามารถทาได้โดยอัตโนมัติ ผ่านระบบซอฟต์แวร ์ที่
กาหนดช่วงเวลาที่ทาการวัดค่าไว้ล่วงหน้าช่วยให้นักเคมีทา
การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงสีของของเหลวในช่วงเวลาที่
กาหนดได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว การปรับเทียบค่า
ศูนย์ (zero calibration) และการสอบเทียบปกติยังคง
สามารถดาเนินการได้อย่างง่ายดายกับระบบ flow cell นี้
ระบบการวัดสีนี้สามารถนาไปใช้งานได้ กับระบบทดสอบสาร
ให้รสชาติและกลิ่นหอมได้อย่างง่ายดายโดยไม่มีการดัดแปลง
อุปกรณ์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน
ขั้นตอนมาตราฐานการวัดสีสารให้กลิ่นและน้าหอม
บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์(ประเทศไทย) จากัด (Sensing Business Unit)
33 ซอยรามคาแหง 22 (จิตตรานุเคราะห์) ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทร: (66) 2 029 7000
2
การทดสอบสีแบบปรกติ
ของเหลวหนืด (viscous liquid)
การทดสอบสีของของเหลวแบบอัตโนมัติด้วยเทคนิค flow
cell สามารถทาได้กับผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นของเหลวไหล
ผ่านเข้าและออกจาก flow cell ได้เองเมื่อทาการวัดค่าสี
อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้ไม่เหมาะกับผลิตภัณฑ์บางประเภท
ตัวอย่างของเหลวโปร่งแสงแต่มีลักษณะข้นหนืดอาจไม่
เหมาะสมกับการวัดแบบอัตโนมัติด้วยเทคนิค flow cell
เทคนิคที่เหมาะสมคือใช้ cuvette ที่มีช่องเปิดด้านบนเพื่อใช้
บรรจุ เติมตัวอย่างของเหลวหนืด โดยวิธีการนี้เป็นข้อจากัดที่
ต้องวัดแบบปรกติ (manual)
ของเหลวขุ่น (turbid liquid)
สาหรับตัวอย่างของเหลวที่มีความขุ่น มีความจาเป็นต้องรักษา
ระดับของความขุ่น เมื่อทาการวัดสีด้วยวิธีแบบส่องผ่าน
จาเป็นต้องใช้ cell บรรจุตัวอย่างและอุปกรณ์จัดยึด cell ที่มี
ขนาดแตกต่ากันเมื่อทาการวัด โดยมีขาดความกว้างของตัว
cell ที่หลากหลายเพื่อรองรับวิธีการวัดกับตัวอย่างหลาย ๆ
แบบและทางานได้ง่ายขึ้น
ในอุตสาหกรรมสารให้รสและกลิ่น เป็นเรื่องปรกติที่ต้องทางาน
กับปริมาณตัวอย่างที่มีอยู่อย่างจากัด ดังนั้นเครื่องสเปคโตร
โฟโตมิเตอร ์ CM-5 จึงถูกออกแบบให้มีระบบในการรองรับ
การวัดตัวอย่างที่มีปริมาณน้อยได้ เป็นอย่างดี
อย่างไรก็ตาม หากพบว่าเมื่อใช้วิธีการวัดสีแบบส่องผ่านแล้ว
พบว่าค่าของสีไม่คงที่ ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ว่าตัวอย่างไม่เหมาะสมที่
จะวัดในด้วยวิธีการส่องผ่านเนื่องจากระดับความโปร่งแสงหรือ
ระดับความขุ่นของตัวอย่าง ในสถานการณ์เช่นนี้ให้เปลี่ยนไป
ใช้วิธีการวัดแบบสะท้อนกลับจะเป็นวิธีที่เหมาะสมมากกว่า
ตามลักษณะการออกแบบเครื่องหรือประเภทของเครื่องวัดสี
เป็นสิ่งสาคัญและควรระมัดระวังอย่างยิ่งในการเลือกประเภท
ของ cuvette หรือ cell ที่จะใช้ให้ถูกต้อง เพื่อลด
ข้อผิดพลาดที่เรียกว่า edge loss ในการวัด ในบางกรณีอาจ
ต้องใช้วิธีการวัดแบบปรกติ (manual) และใช้ฉากหลังเป็นสี
ขาวในระหว่างที่ทาการวัดค่า
ของเหลวทึบแสง (opaque liquid)
นอกเหนือจากการวัดตัวอย่างปริมาณน้อย ตัวอย่างของเหลว
ใสแล้วเครื่องวัดสี คอนนิก้า มินอลต้า Spectrophotometer
CM-5 ยังสามารถวัดตัวอย่างในปริมาณน้อยที่มีลักษณะเป็ น
ของเหลวทึบแสง ของเหลวข้นหนืด (paste) หรือของแข็งเป็น
ผงได้โดยใช้อุปกรณ์เสริม เช่น mini petri-dish
การวัดค่าสีของเหลวทึบแสงโดยใช้วิธีการแบบสะท้อนกลับ
(reflectance) มักใช้ร่วมกับอุปกรณ์เสริมประเภท petri-
dish หรือ tube cell ดังแสดงตามภาพด้านล่าง
Tube Cells Top Port Design Petri Dish Mini Petri Dish
ในบางสถานการณ์ ที่ตัวอย่างมีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกัน
ทั้งหมด การวัดค่าโดยตรงจากภาชนะบรรจุที่เป็นแก้วใส
สามารถทาได้ด้วยการออกแบบช่วงเปิดค้านบนของเครื่อง
CM-5 ซึ่งทาให้การวัดสีทาได้ง่ายและรวดเร็ว
ถึงแม้ว่าเราจะใช้ระบบการวัดค่าสีจะใช้เป็นหลักสาหรับ การ
ประเมินความแตกต่างของสีในผลิตภัณฑ์แล้ว ค่าสียังสามารถ
ใช้เป็นตัวบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงทางอ้อมของสารให้กลิ่นและ
ความหอมตลอดอายุการเก็บ ช่วงอายุของผลิตภัณฑ์การ
ทดสอบ ประเมินความคงตัวและประสิทธิภาพ
บทสรุป
ในอุตสาหกรรมสารให้กลิ่นและความหอม มีการวางตาแหน่ง
ทางการตลาดที่ดี อยู่ในช่วงของการเติบโตที่ยั่งยืนจาก
สถานการณ์บริโภคที่เพิ่มขึ้น ควบคู่ไปกับการวิจัยและพัฒนา
(R&D) การลงทุนในด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาพให้ยัง
ยืน และบางตลาดที่เฉพาะเจาะจง เช่น รสจากธรรมชาติ
ในขณะเดียวกันกับการพัฒนาตลาด บริษัทที่ทาธุรกิจสารให้
รสชาติและความหอม จาเป็นต้องให้ความสาคัญในการ
ปรับตัวให้เข้ากับแนวโน้มของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น
Small quantity
cell holder
Cell of different size
Standard
cell holder
ขั้นตอนมาตราฐานการวัดสีสารให้กลิ่นและน้าหอม
บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์(ประเทศไทย) จากัด (Sensing Business Unit)
33 ซอยรามคาแหง 22 (จิตตรานุเคราะห์) ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทร: (66) 2 029 7000
3
จากขั้นตอนการทดสอบข้างต้นเป็นเพียงคาแนะนาให้กับนัก
เทคโนโลยีการอาหาร หรือนักวิทยาศาสตร ์เพื่อช่วยให้พวก
เขาดาเนินกระบวนการทดสอบ ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาเพื่อ
อยู่หน้าคู่แข่งในตลาด
หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมให้เชื่อมต่อที่ เครื่องสปคโตรโฟโต
มิเตอร ์Spectrophotometer CM-5 หรือ โปรแกรม
ซอฟท์แวร ์ควบคุมคุณภาพสี SpectraMagic NX Pro
หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมของเครื่องวัดสี กรุณาเชื่อมโยงไป
ที่เวปไซด์ของเรา หรือถ้าต้องการติดต่อเราโดยตรงเพื่อ
ซักถาม เครื่องวัดสีที่เหมาะกับงานเฉพาะแบบของคุณและ
สาธิตเครื่องมือให้ติดต่อทางอีเมล์หรือโทร 02 029 7000

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
Kittiya GenEnjoy
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
Terapong Piriyapan
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
BoomCNC
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
teadateada
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
mekushi501
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6'Ibanez Fender
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
Eakkamol Dechudom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า
เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า
เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า
Uthaiwan Phaisayom
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 

What's hot (20)

ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า
เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า
เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่า
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 

การวัดสีสารให้กลิ่นและน้ำหอม

  • 1. ขั้นตอนมาตราฐานการวัดสีสารให้กลิ่นและน้าหอม บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์(ประเทศไทย) จากัด (Sensing Business Unit) 33 ซอยรามคาแหง 22 (จิตตรานุเคราะห์) ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทร: (66) 2 029 7000 1 ภาพรวมธุรกิจ การเติบโตของความต้องการสารให้รสชาติและความหอมมี อัตราเพิ่มขึ้นประมาณ 4.5% ต่อปี การเติบโตนี้ส่งผลให้มีการ ตรวจสอบคุณภาพของสารให้รสชาติและกลิ่นหอมเพิ่มมาก ขึ้น โดยกาหนดเป็นพารามิเตอร ์ต่าง ๆ เช่น สี รสชาติ เนื้อ สัมผัสและกลิ่นหอม จากประสบการณ์ที่สะสมมานานหลายปี การพัฒนาทักษะในการคัดเลือก ตรวจสอบพารามิเตอร ์ต่าง ๆ ข้างต้นเป็นสิ่งที่ท้าทายเป็นอย่างมาก นับว่าเป็นเรื่องโชคดีที่สี เป็นพารามิเตอร ์ที่สามารถกาหนดปริมาณได้โดยใช้เครื่องมือ วัด ดังนั้นจึงช่วยให้นักเทคโนโลยีการอาหารกาหนดตัวเลขค่า สี กาหนดค่าความแตกต่างหรือค่าสีที่เปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย โดยการใช้เครื่องวัดสีช่วยให้กระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติ ของสี ทาได้ง่ายขึ้นมาก ส่วนผสมที่ให้รสชาติและความหอมจะถูกทดสอบฟังก์ชั่นของ รสชาติและกลิ่นเป็นหลัก ในขณะเดียวกัน สีเป็นอีกหนึ่ง พารามิเตอร ์ในการทดสอบทีมีความสาคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ใน ทุกๆ ปี ผู้นาตลาดรายใหญ่ ส่วนมากใช้การควบคุมสีเป็น ขั้นตอนมาตรฐานในการควบคุมคุณภาพเพื่อให้มั่นใจว่า ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพคงที่ สอดคล้องตรงตามข้อกาหนด สีที่ ไม่สม่าเสมอส่งผลให้เห็นถึงการควบคุมคุณภาพที่ไม่ดีและส่ง มอบผลิตภัณฑ์ที่ด้อยคุณภาพให้กับผู้บริโภค การวัดสีสามารถกาหนดให้ทาได้ในหลายขั้นตอน เริ่มจาก ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิต และขั้นตอน สุดท้ายเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป บทความนี้เราจะแสดงให้เห็นถึงการทดสอบและการปฏิบัติที่ พิสูจน์แล้วว่าใช้ได้ผลในอุตสาหกรรมและยังเน้นความท้าทาย บางอย่างที่นักเทคโนโลยีการอาหารต้องเผชิญและแนว ทางแก้ไขสาหรับสิ่งที่ท้าทายเหล่านี้ ทดสอบการเปลี่ยนสีของของเหลว (liquid color flow test) วิธีการทดสอบนี้ใช้กับส่วนมากของผลิตภัณฑ์ซึ่งมีสถานะเป็น ของเหลว โปร่งใส มีความผันแปรในช่วงโทนสีเหลือง การทดสอบสี สามารถเข้าไปร่วมเป็ นส่วนหนึ่งกับระบบงานที่ ปฏิบัติอยู่ได้ทันที โดยเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ให้รสชาติ ขั้นต้น ตัวอย่างจะถูกทดสอบค่าความหนาแน่นและค่าการหักเหของ แสงซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเชิงลดลงด้วยระบบเก็บตัวอย่างแบบ อัตโนมัติ (auto-sampler) โดยปลายท่อของระบบ auto- sampler จะถูกต่อเข้ากับเครื่องวัดค่าสี โดยที่ตัวอย่างไหล ผ่าน flow cell ของระบบเครื่องวัดสี วิธีการนี้ทาให้ตัวอย่างของเหลวไหลผ่านทั้งระบบโดยไม่มีการ หยุดชะงัก ของเหลวที่ไหลเข้าและออกจาก flow cell ทาให้วัด ค่าสีและตรวจสอบควบคุมคุณภาพสีของผลิตภัณฑ์ได้ เครื่องวัดสีคอนนิก้า มินอลต้า Spectrophotometer CM-5 เป็นหนึ่งในระบบการวัดค่าสีดังกล่าวซึ่งทาการวัดตัวอย่าง ของเหลวใสโดยอัตโนมัติช่วยให้การทางานง่ายขึ้น อุปกรณ์เสริม flow cell สามารถติดตั้งได้ง่ายและช่วยให้การ ประเมินค่าสีทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว Flow cell และท่อนาตัวอย่างไหลเข้าและไหลออกสามารถ ติดตั้งเข้ากับช่องวัดแบบส่องผ่าน (transmittance chamber) ของเครื่องวัดสี คอนนิก้า มินอลต้า Spectrophotometer CM-5 และจับยึดให้มั่นคงแข็งแรง ด้วยอุปกรณ์เสริม CM-A96 Transmittance Specimen Holder การวัดค่าสีสามารถทาได้โดยอัตโนมัติ ผ่านระบบซอฟต์แวร ์ที่ กาหนดช่วงเวลาที่ทาการวัดค่าไว้ล่วงหน้าช่วยให้นักเคมีทา การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงสีของของเหลวในช่วงเวลาที่ กาหนดได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว การปรับเทียบค่า ศูนย์ (zero calibration) และการสอบเทียบปกติยังคง สามารถดาเนินการได้อย่างง่ายดายกับระบบ flow cell นี้ ระบบการวัดสีนี้สามารถนาไปใช้งานได้ กับระบบทดสอบสาร ให้รสชาติและกลิ่นหอมได้อย่างง่ายดายโดยไม่มีการดัดแปลง อุปกรณ์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน
  • 2. ขั้นตอนมาตราฐานการวัดสีสารให้กลิ่นและน้าหอม บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์(ประเทศไทย) จากัด (Sensing Business Unit) 33 ซอยรามคาแหง 22 (จิตตรานุเคราะห์) ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทร: (66) 2 029 7000 2 การทดสอบสีแบบปรกติ ของเหลวหนืด (viscous liquid) การทดสอบสีของของเหลวแบบอัตโนมัติด้วยเทคนิค flow cell สามารถทาได้กับผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นของเหลวไหล ผ่านเข้าและออกจาก flow cell ได้เองเมื่อทาการวัดค่าสี อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้ไม่เหมาะกับผลิตภัณฑ์บางประเภท ตัวอย่างของเหลวโปร่งแสงแต่มีลักษณะข้นหนืดอาจไม่ เหมาะสมกับการวัดแบบอัตโนมัติด้วยเทคนิค flow cell เทคนิคที่เหมาะสมคือใช้ cuvette ที่มีช่องเปิดด้านบนเพื่อใช้ บรรจุ เติมตัวอย่างของเหลวหนืด โดยวิธีการนี้เป็นข้อจากัดที่ ต้องวัดแบบปรกติ (manual) ของเหลวขุ่น (turbid liquid) สาหรับตัวอย่างของเหลวที่มีความขุ่น มีความจาเป็นต้องรักษา ระดับของความขุ่น เมื่อทาการวัดสีด้วยวิธีแบบส่องผ่าน จาเป็นต้องใช้ cell บรรจุตัวอย่างและอุปกรณ์จัดยึด cell ที่มี ขนาดแตกต่ากันเมื่อทาการวัด โดยมีขาดความกว้างของตัว cell ที่หลากหลายเพื่อรองรับวิธีการวัดกับตัวอย่างหลาย ๆ แบบและทางานได้ง่ายขึ้น ในอุตสาหกรรมสารให้รสและกลิ่น เป็นเรื่องปรกติที่ต้องทางาน กับปริมาณตัวอย่างที่มีอยู่อย่างจากัด ดังนั้นเครื่องสเปคโตร โฟโตมิเตอร ์ CM-5 จึงถูกออกแบบให้มีระบบในการรองรับ การวัดตัวอย่างที่มีปริมาณน้อยได้ เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม หากพบว่าเมื่อใช้วิธีการวัดสีแบบส่องผ่านแล้ว พบว่าค่าของสีไม่คงที่ ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ว่าตัวอย่างไม่เหมาะสมที่ จะวัดในด้วยวิธีการส่องผ่านเนื่องจากระดับความโปร่งแสงหรือ ระดับความขุ่นของตัวอย่าง ในสถานการณ์เช่นนี้ให้เปลี่ยนไป ใช้วิธีการวัดแบบสะท้อนกลับจะเป็นวิธีที่เหมาะสมมากกว่า ตามลักษณะการออกแบบเครื่องหรือประเภทของเครื่องวัดสี เป็นสิ่งสาคัญและควรระมัดระวังอย่างยิ่งในการเลือกประเภท ของ cuvette หรือ cell ที่จะใช้ให้ถูกต้อง เพื่อลด ข้อผิดพลาดที่เรียกว่า edge loss ในการวัด ในบางกรณีอาจ ต้องใช้วิธีการวัดแบบปรกติ (manual) และใช้ฉากหลังเป็นสี ขาวในระหว่างที่ทาการวัดค่า ของเหลวทึบแสง (opaque liquid) นอกเหนือจากการวัดตัวอย่างปริมาณน้อย ตัวอย่างของเหลว ใสแล้วเครื่องวัดสี คอนนิก้า มินอลต้า Spectrophotometer CM-5 ยังสามารถวัดตัวอย่างในปริมาณน้อยที่มีลักษณะเป็ น ของเหลวทึบแสง ของเหลวข้นหนืด (paste) หรือของแข็งเป็น ผงได้โดยใช้อุปกรณ์เสริม เช่น mini petri-dish การวัดค่าสีของเหลวทึบแสงโดยใช้วิธีการแบบสะท้อนกลับ (reflectance) มักใช้ร่วมกับอุปกรณ์เสริมประเภท petri- dish หรือ tube cell ดังแสดงตามภาพด้านล่าง Tube Cells Top Port Design Petri Dish Mini Petri Dish ในบางสถานการณ์ ที่ตัวอย่างมีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกัน ทั้งหมด การวัดค่าโดยตรงจากภาชนะบรรจุที่เป็นแก้วใส สามารถทาได้ด้วยการออกแบบช่วงเปิดค้านบนของเครื่อง CM-5 ซึ่งทาให้การวัดสีทาได้ง่ายและรวดเร็ว ถึงแม้ว่าเราจะใช้ระบบการวัดค่าสีจะใช้เป็นหลักสาหรับ การ ประเมินความแตกต่างของสีในผลิตภัณฑ์แล้ว ค่าสียังสามารถ ใช้เป็นตัวบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงทางอ้อมของสารให้กลิ่นและ ความหอมตลอดอายุการเก็บ ช่วงอายุของผลิตภัณฑ์การ ทดสอบ ประเมินความคงตัวและประสิทธิภาพ บทสรุป ในอุตสาหกรรมสารให้กลิ่นและความหอม มีการวางตาแหน่ง ทางการตลาดที่ดี อยู่ในช่วงของการเติบโตที่ยั่งยืนจาก สถานการณ์บริโภคที่เพิ่มขึ้น ควบคู่ไปกับการวิจัยและพัฒนา (R&D) การลงทุนในด้านสุขภาพและการดูแลสุขภาพให้ยัง ยืน และบางตลาดที่เฉพาะเจาะจง เช่น รสจากธรรมชาติ ในขณะเดียวกันกับการพัฒนาตลาด บริษัทที่ทาธุรกิจสารให้ รสชาติและความหอม จาเป็นต้องให้ความสาคัญในการ ปรับตัวให้เข้ากับแนวโน้มของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น Small quantity cell holder Cell of different size Standard cell holder
  • 3. ขั้นตอนมาตราฐานการวัดสีสารให้กลิ่นและน้าหอม บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์(ประเทศไทย) จากัด (Sensing Business Unit) 33 ซอยรามคาแหง 22 (จิตตรานุเคราะห์) ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทร: (66) 2 029 7000 3 จากขั้นตอนการทดสอบข้างต้นเป็นเพียงคาแนะนาให้กับนัก เทคโนโลยีการอาหาร หรือนักวิทยาศาสตร ์เพื่อช่วยให้พวก เขาดาเนินกระบวนการทดสอบ ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาเพื่อ อยู่หน้าคู่แข่งในตลาด หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมให้เชื่อมต่อที่ เครื่องสปคโตรโฟโต มิเตอร ์Spectrophotometer CM-5 หรือ โปรแกรม ซอฟท์แวร ์ควบคุมคุณภาพสี SpectraMagic NX Pro หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมของเครื่องวัดสี กรุณาเชื่อมโยงไป ที่เวปไซด์ของเรา หรือถ้าต้องการติดต่อเราโดยตรงเพื่อ ซักถาม เครื่องวัดสีที่เหมาะกับงานเฉพาะแบบของคุณและ สาธิตเครื่องมือให้ติดต่อทางอีเมล์หรือโทร 02 029 7000