SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                    1

                                                                                               บทที่ 19
                                                                                       แบบจําลองอะตอม

       อะตอมคือ หนวยที่เล็กที่สุดของสสารที่ยังคงสภาพความเปนสสารอยูได แนวความคิดของอะตอมในสมัยนิวตัน คือ
อะตอมเปนหนวยเล็กที่สุดไมสามารถแบงได มีลักษณะเล็ก แข็ง จนกระทั่ง เจ เจ ทอมสัน คนพบอิเล็กตรอนและไดเสนอวา
อะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอนที่มีประจุลบฝงอยูในเนื้อประจุบวก (คลายแตงโม)




                                             ภาพที่ 19-1 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน

19.1 แบบจําลองอะตอมของรัทเธอรฟอรด
       ในป คศ.1911 รัทเธอรฟอรดและนักศึกษาของเขาคือ ไกเกอร และ มารสเดน ทําการทดลองที่พิสูจนวาโมเดลอะตอม
ของ ทอมสัน ไมถกตอง นําไปสูการคิดโครงสรางอะตอมแบบใหม
               ู            




                                             ภาพที่ 19-2 การทดลองของรัทเธอรฟอรด

        การทดลองของรัทเธอรฟอรดแสดงดังภาพที่ 19-2 คือ มีแหลงกําเนิดรังสีอัลฟา ยิงอนุภาคอัลฟาใสแผนฟอยล ผลการ
ทดลองพบวา อนุภาคสวนมากผานแผนฟอยลไปได โดยมีอนุภาคจํานวนนอยมากทีสะทอนกลับ
                                                                            ่
        ผลการทดลองหมายความวา อะตอมควรจะประกอบดวยที่วางจํานวนมาก ตางจากแบบจําลองของทอมสัน รัทเธอร
ฟอรด เสนอความคิดใหมวาอะตอมนาประกอบดวย สวนของประจุบวกอัดแนนอยูที่ใจกลางซึ่งกินที่วางนอยมาก เรียกวา
นิวเคลียส และมีอเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบเคลื่อนที่อยูรอบ ๆ
                ิ
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                  2




   ภาพที่ 19-3 การโคจรของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสเปนวงกลม จะเกิดการสูญเสียพลังงานไปเรือย ๆ ตามทฤษฎีคลาสสิก
                                                                                     ่

         อยางไรก็ตาม มีสิ่งที่แบบจําลองนี้อธิบายไมได คือ เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปนวงกลมยอมตองมีความเรง และเมื่อมี
ความเรง อิเล็กตรอนจะตองปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา ตามทฤษฎีของ แม็กซเวลล เปนเหตุใหสูญเสียพลังงานไปเรื่อย ๆ
จนกระทั่ง อิเล็กตรอนจะตกใสนิวเคลียส เปนจุดจบของอะตอม

19.2 แบบจําลองอะตอมของบอหร
         นีล บอหร เปนคนแรกที่อธิบายวาอิเล็กตรอนไมแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาเมื่อโคจรรอบนิวเคลียส โดยเสนอวา อิเล็ก
ตรอนสามารถโคจรแบบไมตกใสนิวเคลียสไดที่บางวงโคจร เปนวงโคจรที่เสถียร ในกรณีที่มีการเปลี่ยนวงโคจร
เทานั้น ที่จะมีการปลอยพลังงานออกมา เปนโฟตอน (คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เปนอนุภาค) ซึ่งเปนที่มาของสเปกตรัมของ
ธาตุตาง ๆ สเปกตรัมของอะตอมนี้สามารถอธิบายไดอยางดีโดยใชแบบจําลองอะตอมของบอหร
         เปนที่ทราบกันกอนยุคของบอหร แลววาเมื่อใหพลังงานกับสาร อะตอมแตละชนิดจะสงเสนแสงที่เปนเอกลักษณของ
อะตอมแตละชนิดออกมา เสนแสงเหลานี้เปนชุดเรียกวา สเปกตรัม ซึ่งจากการศึกษาโดยนักเคมีและนักฟสิกส สรุปเปน
สมการที่ ไดจากการทดลอง โดยเริ่มตน ในป 1885 บาล ม เมอรไดเสนอสูตรโดยประมวลจากขอมูลการศึกษาสเปกตรั ม
ไฮโดรเจน
                    1       1 1 
                       RH  2  2                                                                              (19-1)
                          2 n 
โดยที่ n = 3, 4, 5, … และ RH = 1.0973732x107 m-1 (คาคงทีของริดจเบิรก)
                                                         ่           
          ภายหลังสูตรของบาลมเมอร มีการเสนอสูตรของชุดสเปกตรัมอืน ๆ่
                ชุดของไลมาน
                    1      1 1 
                       RH  2  2                                                                              (19-2)
                          1 n 
                ชุดของพาสเชน
                    1      1 1 
                       RH  2  2                                                                              (19-3)
                          3 n 
                ชุดของแบร็กเก็ตต
                    1       1 1 
                       RH  2  2                                                                              (19-4)
                          4 n 
         บอหรได ใ ช ท ฤษฎีควอนตัมในการอธิ บ ายสเปกตรัมที่ เกิดจากอะตอมของไฮโดรเจน สมมติฐานของบอหร คื อ
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปนวงรอบโปรตรอน โดยมีเพียงบางวงโคจรเทานั้นที่จะเสถียร พลังงานแตละระดับ (En) และ
รัศมีวงโคจร (rn) มีคา
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                  3

                              ke e 2 1
                    En                                                                                    (19-5)
                              2a0 n 2
                           n2h2
                    rn                                                                                     (19-6)
                           mke e 2
โดยที่ n = 1, 2, 3, … เมื่อ n = 1 วงโคจรมีขนาดเล็กทีสด เรียกวา รัศมีของบอหร (Bohr Radius, a0) มีคา 0.0529 nm
                                                    ่ ุ                                            




                      ภาพที่ 19-4 แบบจําลองอะตอมของบอหร มีอเล็กตรอนอยูในวงโคจรบางวงทีเสถียร
                                                            ิ                        ่

          การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดขึ้นเมื่ออิเล็กตรอนกระโดด เปลี่ยนวงโคจรสูท่ีระดับต่ํากวา Ei-Ef= hf (ความตาง
ระหวางพลังงานสถานะตนกับสถานะปลาย) สเปกตรัมที่เกิดขึ้นทุกชุดสามารถทํานายไดดวย สูตรจากแบบจําลองอะตอมของ
บอหร ซึ่งสอดคลองกับสูตรจากการทดลองทุกสูตรขางตน
                    1   k e2  1    1 
                       e  2 2                                                                           (19-7)
                     2a0 hc  n f
                                  ni 
                                      
โดยที่ kee2/2a0hc มีคาเทากับ คาคงทีของริดจเบิรกทีหาไดจากการทดลอง (RH =1.0973732x107 m-1)
                                    ่            ่




                                     ภาพที่ 19-5 สเปกตรัมชุดตาง ๆ ของอะตอมไฮโดรเจน




                             ภาพที่ 19-6 คลืนนิงของอิเล็กตรอนเปรียบเทียบกับคลืนนิงในเสนเชือก
                                            ่ ่                               ่ ่
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                    4

           ขอบกพรองของแบบจําลองอะตอมของบอหรคือ เขาตอบไมไดวาเหตุใดจึงมีบางวงโคจรที่เสถียร? จนกระทั่งเดอบ
รอยล ไดเสนอความคิดวาอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียสในแบบจําลองอะตอมของบอหร มีพฤติกรรมเปนคลื่นนิ่งมีความถี่ที่
ไมตอเนื่อง (ดังกรณีคลื่นนิ่งในเสนเชือก) คลื่นนิ่งของอิเล็กตรอน (เปนวงปดพอดี) จะเกิดขึ้นเมื่อ
                    n  2r
                              h                                                                        (19-8)
                    
                           mv
           แทนคาความยาวคลืนอนุภาคตามทีเสนอโดยเดอบรอยล
                                ่               ่
                                     h
                    mvr  n              n                                                           (19-9)
                                    2
เงือนไขนี้ เปนกรณีของวงโคจรทีเสถียร นันคือโมเมนตัมเชิงมุมในแบบจําลองของบอหรมีคาไมตอเนือง
   ่                              ่       ่                                                ่
           แบบจําลองอะตอมของบอหรนี้อธิบายอะตอมไดดกวารัทเธอรฟอรด และสามารถอธิบายสเปกตรัมของอะตอมไดเปน
                                                              ี
อยางดี นอกจากนี้การใชทฤษฎีควอนตัมยังอธิบายสเปกตรัมของ X-ray ไดดวย
           ในทฤษฎีควอนตัม อิเล็กตรอนเปนคลื่นอนุภาค ดังนั้นแบบจําลองที่ใกลเคียงความจริงที่สุด จะไดมาจากการแก
สมการชโรดิงเจอร เพื่ออธิบายอิเล็กตรอนในอะตอม การแกสมการชโรดิงเจอรของอะตอมของไฮโดรเจนเปนกรณีที่งายที่สุด
ดังที่จะกลาวในหัวขอตอไป

19.3 ฟงกชันคลื่นและเลขควอนตัมของอิเล็กตรอนในอะตอม
        การแกสมการชโรดิงเจอรใน 3 มิติ จะระบุสถานะของอิเล็กตรอนในไฮโดรเจนอะตอม
                              2m
                    2          E  U   0                                                               (19-10)
                               2
จากโมเดลอะตอมของรัทเธอรฟอรด สามารถเขียนศักยไฟฟาของอิเล็กตรอนไดดังนี้
                            ke2
                    U r                                                                                   (19-11)
                              r
และ Laplacian ใน Polar Coordinate จะมีรูปแบบเปน
                           2   2 2
                    2         2 2
                           x 2 y z
                                                                                                              (19-12)
                           1         1                    1    2
                          2  r2   2           sin       2
                          r r  r  r sin            r sin   2
          คําตอบของสมการนี้สามารถพิจารณาแยกออกมาไดเปน 3 สวน คือ
                     r,     Rr                                                             (19-13)
โดยที่ R(r) สวนของฟงกชันที่ขึ้นกับ r, () สวนของฟงกชันที่ขึ้นกับ , () สวนของฟงกชันที่ขึ้นกับ 
          แยกสมการเพื่อแกหาคําตอบทีละฟงกชัน
                    1 d  2 dR (r )   2m     Ke 2  l  l  1 
                            r        2 E                  R 0                                       (19-14)
                    r 2 dr    dr   h         r        r2 
                      1 d           d                  m2 
                              sin       l  l  1  2                                               (19-15)
                    sin  d        d                sin  
                    d 2
                           m2  0                                                                           (19-16)
                    d 2
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                 5

          ผลจากการแกสมการ นําไปสูเลขควอนตัม 3 ตัว ซึ่งเปนตัวกําหนดสถานะของอิเล็กตรอนในอะตอม ดังตอไปนี้
                                    
          19.3.1 เลขควอนตัม
               Principal Quantum Number (n โดยที่ n มีไดจํานวนอนันตคาที่ไมตอเนื่องกัน: n=1,2,3,4,…, ) เลข
               ควอนตัม n เปนตัวกําหนดระดับพลังงานหลักของอะตอมนี้ ตามสมการที่สอดคลองกับทฤษฎีของบอหร
                            ke 2  1                                 13.6
                    En             (unit in J)      หรือ En          (unit in eV)                       (19-17)
                            2a0  n 2                                 n2
               โดยที่ n=1,2,3,…สอดคลองกับระดับพลังงานชัน K,L,M,….ตามลําดับ
                                                        ้
                Orbital Quantum Number (l โดยที่ l มีไดจํานวน n คาที่ไมตอเนื่องกัน: l =0,1,2,3,…,n-1) เกี่ยวของกับ
                การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเปนวงโคจร (Orbit) รอบ ๆ นิวเคลียส เลขควอนตัม l เปนตัวกําหนดโมเมนตัม
                เชิงมุมของการโคจร (Orbital Angular Momentum)
                   L  l (l  1)                                                                             (19-18)
               โดยที่ l =0,1,2,3,…เรียกวาออรบตล s,p,d,f,… ตามลําดับ
                                               ิ ั

                Orbital Magnetic Quantum Number (ml โดยที่ ml มีไดจํานวน 2l+1 คาที่ไมตอเนื่องกัน: ml= -l, -
               l+1,…,0,…,l-1,l) ซึ่งเกี่ยวของกับการที่อะตอมอยูในสนามแมเหล็ก แลวโมเมนตัมเชิงมุมจะควงรอบแกน
               สนามแมเหล็ก (มักกําหนดเปนแกน Z) เลขควอนตัม ml เปนตัวกําหนดโมเมนตัมเชิงมุมในแนวแกน Z (LZ)
                   Lz  ml                                                                            (19-19)




         ภาพที่ 19-7 กรณีเลขควอนตัม l เปน 2 การควงรอบสนามแมเหล็กเกิดได 5 กรณี เลขควอนตัม ml มีได 5 คา

        นอกจากเลขควอนตัมทั้งสามที่เปนผลจากการแกสมการชโรดิงเจอรแลว การคนพบวาอนุภาค เชนอิเล็กตรอน
นอกจากจะมีประจุแลว ยังมีสมบัติที่เรียกวา สปน (ประจุ เปนตนกําเนิดของไฟฟา, สปน เปนตนกําเนิดของแมเหล็ก) อีกดวย
จากการทดลองพบวาสเปกตรัมของสารโซเดียม มีเสนที่มีลักษณะเปน doublet (คือเสนหนึ่งประกอบดวย 2 เสนที่อยูชิดกัน
มาก) สงผลใหเลขควอนตัมสามตัวขางตนไมเพียงพอที่จะอธิบายปรากฏการณนี้จึงไดมีการเสนอเลขควอนตัมตัวที่สี่ ในการ
บรรยายอิเล็กตรอนในอะตอมตองใชเลขควอนตัมสี่ตัว จึงระบุสถานะไดอยางสมบูรณ
              Spin Magnetic Quantum Number (m s โดยที่ m s มีได 2 คา ที่ ไม ต อ เนื่อ งกัน : m s= -1/2 หรือ 1/2)
              เกี่ยวของกับโมเมนตัมเชิงมุมของการสปน (Spin Angular Momentum)
                    S z  ms                                                                                (19-20)
             โดยที่ ms=1/2 และ -1/2 สอดคลองกับสปนอัพ และสปนดาวน ตามลําดับ
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                     6




                    ภาพที่ 19-8 สถานะการสปนมีได 2 กรณีคือ อัพ และดาวน เลขควอนตัม ms มีได 2 คา

        สปนเปนสมบัติทางควอนตัมที่เกิดจากคุณสมบัติเชิงสัมพัทธภาพของอนุภาค ไมสามารถพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน
แตอาจเปรียบเทียบไดคราว ๆ กับการหมุนรอบตัวเองที่ทําใหเกิดโมเมนตแมเหล็กการมีอยูจริงของสปนไดรับการพิสูจนยืนยัน
โดย การทดลองของสเติรนและเจอลารช (คศ. 1921) ที่ทําการยิงอะตอมของเงินในสภาวะกาซ ผานสนามแมเหล็ก และพบวา
ลักษณะอะตอมที่ชนฉากรับจะแยกเปนแถบบนและลาง (ไมไดเปนปน) นั่นคือสนามแมเหล็กชวยใหสามารถสังเกตไดวา
อนุภาคมีสมบัติเรียกวาสปนที่มี 2 สถานะ นันคือ สปนอัพ และสปนดาวน
                                          ่




                                            ภาพที่ 19-9 การทดลองของสเติรนและเจอลารช
                                                                        

         จากความรูเรื่อง ฟงกชันคลื่นและเลขควอนตัมของอิเล็กตรอนในอะตอม ทําใหสามารถบรรยายสถานะของอะตอมได
ใกลเคียงความจริงที่สุด ดังเชนอะตอมไฮโดรเจนในตัวอยางตอไปนี้

       19.3.2 ฟงกชนคลืนของอะตอมไฮโดรเจน (The Wave Functions for Hydrogen Atom)
                    ั ่
       อะตอมไฮโดรเจนประกอบดวยอิเล็กตรอน 1 ตัวที่อาจอยูในสถานะตาง ๆ ไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับเลขควอนตัมทั้งสี่
ในสภาวะปกติอิเล็กตรอนจะอยูที่สถานะพื้น (Ground State) ซึ่งหมายถึง Orbital 1s
            Orbital 1s ในระดับพลังงานนี้ n =1, l และ ml มีคาเปน 0
                                                              
       จากการแกสมการชโรดิงเจอร ฟงกชนคลืน (Wave Function) อยูในรูป
                                         ั ่                       
                                        1
                     1 s ( r )                 e r / a 0                                                 (19-21)
                                        a   3
                                             0

         เมือทําการสรางกราฟใน 3 มิตจะไดเปนทรงกลม ดังแสดงในภาพที่ 19-11 (a)
            ่                       ิ
         เมืออะตอมไฮโดรเจนไดรบพลังงาน อิเล็กตรอนสามารถอยูในสถานะอื่นได (เรียกวาสถานะกระตุน) ซึ่งสอดคลองกับ
              ่                 ั
ออรบตลอืน ๆ เชน 2p, 3s, 3p,3d,4s…
     ิ ั ่
                 Orbital 2p คือสถานะทีระดับ n เปน 2 และ l = 1 สําหรับคา l = 1 คา ml มีได 3 คาคือ +1, 0, -1
                                       ่
         จากการแกสมการชโรดิงเจอร ฟงกชนคลืน (Wave Function) อยูในรูป
                                         ั ่                         
                                    1
                                    r r / 2 a 0
                    2 p               e        cos                                                       (19-22)
                             4 2 a a 0     3
                                            0
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                            7

                                    1
                                  r r / 2 a 0
                    2 p             e        sin e i                                                  (19-23)
                             8 a a 0   3
                                        0

          เมื่อทําการสรางกราฟใน 3 มิติ ดังแสดงในภาพที่ 19-10 (b)




                                                                                      (b)
                              (a)
                                    ภาพที่ 19-10 ตัวอยางกราฟของออรบตล (a) 1s และ (b) 2p
                                                                     ิ ั

          คาความนาจะเปนทีจะพบอิเล็กตรอน ซึงแปรตาม r (ระยะจากนิวเคลียส)
                            ่                ่
                     P1s r dr   rd  r sin d 
                                     1 r , ,  *  1 r , ,                                     (19-24)
                          r 2 R 2 dr
          จากสมการ เขียนกราฟกรณีออรบตลตาง ๆ ไดดงแสดงในภาพที่ 19-11
                                     ิ ั          ั




                     ภาพที่ 19-11 ความนาจะเปนทีจะพบอิเล็กตรอนทีระยะตาง ๆ จากศูนยกลางอะตอม
                                                 ่               ่

19.4 หลักการกีดกันของเพาลี (The Exclusion Principle)
          หลักการกีดกันกลาววา อิเล็กตรอนสองตัวใด ๆ จะมีเลขควอนตัมทั้งสี่เหมือนกันทั้งหมดไมได (หรือกลาววา ใน
อะตอม ณ สถานะทางควอนตัมหนึ่ง ๆ จะมีอิเล็กตรอนเกินหนึ่งตัวไมได) ใชอธิบายการจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
          ในออรบตลใด ๆ ของอะตอม จะมีอเล็กตรอนไดสงสุด 2 ตัว อิเล็กตรอน 2 ตัวนีจะมีเลขควอนตัม n, l, m1 เหมือนกัน
                 ิ ั                       ิ          ู                           ้
ดังนันตามหลักกีดกัน อิเล็กตรอน 2 ตัวนี้ จะมีเลขควอนตัมตัวทีสคอ ms ตางกัน นันคือ ตัวหนึงจะมีสปนอัพ (ms=1/2) สวนอีก
     ้                                                     ่ ่ี ื           ่          ่
ตัวหนึ่งจะมีสปนดาวน (ms= -1/2)
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                     8




                                ภาพที่ 19-12 ตัวอยางการเรียงอิเล็กตรอนในแผนภาพออรบตล
                                                                                    ิ ั




                                             ภาพที่ 19-13 ตัวอยางการระบุเลขควอนตัม

19.5 เอ็กซเรย (X-ray)




                                             ภาพที่ 19-14 ตัวอยางสเปกตรัมของ X-ray

         X-ray กําเนิดไดจากการระดมยิงอิเล็กตรอนพลังงานสูงเขาไปที่เปาโลหะ X-ray ที่ไดจะเปนสเปกตรัมที่มีลักษณะดัง
ภาพที่ 19-14 สามารถแยกไดเปน 2 องคประกอบ คือ สวนทีเปนพีค (Peak) และสวนทีตอเนือง
                                                           ่                   ่  ่
          สวนที่ตอเนื่องของสเปกตรัม ไดมาจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่โดยมีความเรงเปนลบ (ความเร็วลดลง) จึงมี
             การปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา เรียกกระบวนการนี้ วา Bremsstrahlung Radiation (หรือ Braking
             Radiation)
          พีคของสเปกตรัม เกิดขึ้นโดยอีกกระบวนการหนึ่ง เรียก X-ray ชนิดนี้วา Characteristic X-ray ซึ่งถูกคนพบใน
             ป 1908 ซึ่งพีคเหลานี้ขึ้นกับชนิดของโลหะที่ใช
         การเกิด Characteristic X-ray สามารถอธิบายไดภายหลังการพัฒนาทฤษฎีควอนตัม วา Characteristic X-ray เกิด
จากกระบวนการ
         1. อิเล็กตรอน (หรืออนุภาคประจุอน ๆ) ทีมพลังงานสูงเคลือนทีเขาชนอิเล็กตรอนในวงชันในของอะตอม เชน ชั้น K
                                               ่ื   ่ ี        ่ ่                          ้
             หรือ L
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                 9

       2. เมื่ออิเล็กตรอนชั้นในที่ไดรับพลังงานเพิ่มขึ้นจากการชนเกินพลังงานยึดเหนี่ยว จะหลุดออกจากอะตอมทําใหเกิด
            ที่วางของอิเลกตรอนในชั้นใน
       3. อิเล็กตรอนที่อยูในลําดับถัดไปจะลดระดับพลังงานลงมาแทนที่พรอมกับปลอยโฟตอนออกมา โดยพลังงาน
            ของโฟตอนจะมีคาเทากับผลตางของระดับพลังงานทั้งสอง
    Characteristic X-ray แตละพีค จะมีชื่อตามระดับพลังงานที่เกี่ยวของ เชน K alpha คือการกระโดดจากชั้น L, K beta คือ
การกระโดดจากชั้น M

19.6 เลเซอร
          LASER มาจากคําวา Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation คุณลักษณะของเลเซอร คือ
          เปนแสงเอกรงค (Monochromatic) มีความถีเดียว สีเดียว
                                                       ่
          เปนแสงอาพันธ (Coherent) มีเฟสตรงกัน
          สามารถโฟกัสใหเปนลําแสงขนาดเล็กมาก ลําแสงไมบานออกเหมือนแสงทัวๆไป   ่
         การทีเลเซอรเปนแหลงกําเนิดแสงอาพันธและมีลาแสงขนาดเล็ก จึงใหความเขมสูง สามารถประยุกตใชในเทคโนโลยี
              ่                                      ํ
สมัยใหมไดมากมาย เลเซอรเกิดจากการเปลียนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอม โดยกระบวนการ Stimulated
                                          ่
Emission
         19.6.1 กระบวนการดูดและคายพลังงาน
         จากทฤษฎีควอนตัม เมื่ออะตอมดูดกลืนหรือคายพลังงานในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนอนุภาคโฟตอน อิเล็กตรอนใน
อะตอมจะมีการเปลี่ยนระดับพลังงาน กระบวนการดูดและคายพลังงาน มีไดหลายกรณีดังนี้
              Stimulated Absorption เมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมดูดกลืนพลังงาน hf อิเล็กตรอนจากสถานะพื้นขึนไปอยู
                                                                                                         ้
                  ทีสถานะถูกกระตุน
                   ่                 




                                      ภาพที่ 19-15 กระบวนการ Stimulated Absorption

                Spontaneous Emission อิเล็กตรอนอยูในสถานะถูกกระตุนไดชวระยะเวลาหนึง ตองกลับคืนสูสถานะ
                                                                        ่ั         ่             
                 พื้น โดยการคายโฟตอนทีมพลังงานเทากับผลตางของระดับพลังงานทังสอง
                                      ่ ี                                   ้




                                     ภาพที่ 19-16 กระบวนการ Spontaneous Emission
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม                10

                Stimulated Emission เมืออิเล็กตรอนอยูในสถานะถูกกระตุน แลวมีโฟตอนภายนอกมากระตุนซ้า
                                        ่                                                     ํ
                 อิเล็กตรอนสามารถคายโฟตอนแลวกลับสูสถานะพืน ไดโฟตอนเพิมขึ้นเปนแสงอาพันธ
                                                           ้            ่




                                       ภาพที่ 19-17 กระบวนการ Stimulated Emission

          19.6.2 กระบวนการการเกิดเลเซอร
          เลเซอรมหลายชนิด อาจจําแนกไดตามชนิดของสารตัวกลางทีใชผลิตเลเซอร
                  ี                                           ่
               ตัวกลางของแข็ง เชน Ruby laser, Nd-YAG laser, Diode laser
               ตัวกลางของเหลว เชน Dye laser
               ตัวกลางกาซ เชน He-Ne laser,Co2 laser ,Excimer laser, Argon laser




                       ภาพที19-18 (a)แผนภาพกลไกกําเนิดเลเซอรในหลอด (b) ตัวอยางหลอดเลเซอร
                           ่

          เลเซอรทกชนิดมีหลักการกําเนิดเหมือนกัน คือ
                  ุ
          1. อะตอมของตัวกลาง ทีใชกาเนิดเลเซอรไดรบการกระตุนใหอยูในสภาวะประชากรผกผัน (Population Inversion)
                                   ่ ํ                   ั        
              นันคือ มีอิเล็กตรอนอยูในสถานะถูกกระตุนมากกวาทีอยูในสถานะพืน และสถานะถูกกระตุนนีจะตองกึงเสถียร
                ่                                           ่         ้                        ้    ่
              (Metastable) คือ อิเล็กตรอนสามารถอยูไดนานกวาสถานะถูกกระตุนทัว ๆ ไป (เปนเหตุใหมตวกลางบางชนิด
                                                                           ่                  ี ั
              เทานั้นทีเหมาะสมในการใชกาเนิดเลเซอร)
                        ่                ํ
ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม              11

          2. เกิด Stimulated Emission โดยโฟตอนภายนอกเขามากระตุน อิเล็กตรอนจํานวนมากกลับสูสถานะพืนพรอม ๆ
                                                                                                    ้
             กัน โฟตอนทีคายออกมาทําใหไดแสงอาพันธมความเขมสูง
                         ่                             ี
          3. เพื่อใหโฟตอนกลับไปทําใหเกิด Stimulated Emission ซ้ํา ๆ ตอเนื่องกันไป ในการออกแบบหลอดเลเซอรจึงใช
             กระจกสะทอนที่ปลายทั้งสองขางของตัวกลางเลเซอร ดานหนึ่งจะสะทอนแสงทั้งหมด อีกดานหนึ่งจะสะทอน
             แสงกลับบางสวน และยอมใหผานไดบางสวน สวนที่สะทอนกลับจะเปนโฟตอนที่ทําใหเกิด Stimulated
             Emission ตอไป สวนทีผานออกไปไดจะเปนแสงทีนาไปใชประโยชน
                                  ่                      ่ ํ

          19.6.3 การประยุกตใชเลเซอร
           การบันทึกและอานขอมูล เชน เครื่องเลน CD, VCD, DVD, เครื่องอานบารโคด เลเซอรที่ใชคือ Diode laser
           การสงขอมูลดวยความเร็วสูง และชวงความถีกวาง ผานเสนใยแกวนําแสง เลเซอรที่ใชคือ Diode laser
                                                          ่
           การผาตัดทางการแพทย และการศัลยกรรมความงาม เชน เลสิก, ตัดหูด, จี้ไฝ, กําจัดขนถาวร, กรีดตาสองชั้น,
              อุดฟน เลเซอรที่ใชไดแก Nd-YAG laser, CO2 laser, Excimer laser, Argon laser
           งานอุตสาหกรรม เชน เชือม เจาะ ตัด ใหความรอน เลเซอรทใชไดแก Nd-YAG laser, CO2 laser
                                           ่                           ่ี
           การทหาร เชน อุปกรณวดระยะทาง เล็งเปาหมาย นําวิถขปนาวุธ เลเซอรที่ใชไดแก CO2 laser, Nd-YAG laser
                                         ั                          ีี
           การสํารวจ ตรวจวัด และตรวจสอบสิ่งแวดลอม เชน การกําหนดตําแหนง ชี้จุด ตรวจมลภาวะในอากาศ วัด
              ความลึก วัดระยะ วัดความเร็ว เลเซอรที่ใชไดแก Nd-YAG laser
           งานบันเทิงและศิลปะ เชน ฉายแสงในงานแสดงแสงเสียง คอนเสิรต สถานบันเทิง ทําโฮโลแกรมวาดภาพ
              แกะสลัก เลเซอรที่ใชไดแก He-Ne laser, Argon laser

More Related Content

What's hot

Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอมbigger10
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 

What's hot (18)

สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
P16
P16P16
P16
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 
ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 

Similar to Atom2

เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 

Similar to Atom2 (17)

เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
P19
P19P19
P19
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 

More from นพ มีวงศ์ธรรม (9)

ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
การบ้านแลป
การบ้านแลปการบ้านแลป
การบ้านแลป
 
การบ้านแลป
การบ้านแลปการบ้านแลป
การบ้านแลป
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมโชว์พร้อม
ต่อมโชว์พร้อมต่อมโชว์พร้อม
ต่อมโชว์พร้อม
 
Breed of dog
Breed of dogBreed of dog
Breed of dog
 

Atom2

  • 1. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 1 บทที่ 19 แบบจําลองอะตอม อะตอมคือ หนวยที่เล็กที่สุดของสสารที่ยังคงสภาพความเปนสสารอยูได แนวความคิดของอะตอมในสมัยนิวตัน คือ อะตอมเปนหนวยเล็กที่สุดไมสามารถแบงได มีลักษณะเล็ก แข็ง จนกระทั่ง เจ เจ ทอมสัน คนพบอิเล็กตรอนและไดเสนอวา อะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอนที่มีประจุลบฝงอยูในเนื้อประจุบวก (คลายแตงโม) ภาพที่ 19-1 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน 19.1 แบบจําลองอะตอมของรัทเธอรฟอรด ในป คศ.1911 รัทเธอรฟอรดและนักศึกษาของเขาคือ ไกเกอร และ มารสเดน ทําการทดลองที่พิสูจนวาโมเดลอะตอม ของ ทอมสัน ไมถกตอง นําไปสูการคิดโครงสรางอะตอมแบบใหม ู  ภาพที่ 19-2 การทดลองของรัทเธอรฟอรด การทดลองของรัทเธอรฟอรดแสดงดังภาพที่ 19-2 คือ มีแหลงกําเนิดรังสีอัลฟา ยิงอนุภาคอัลฟาใสแผนฟอยล ผลการ ทดลองพบวา อนุภาคสวนมากผานแผนฟอยลไปได โดยมีอนุภาคจํานวนนอยมากทีสะทอนกลับ ่ ผลการทดลองหมายความวา อะตอมควรจะประกอบดวยที่วางจํานวนมาก ตางจากแบบจําลองของทอมสัน รัทเธอร ฟอรด เสนอความคิดใหมวาอะตอมนาประกอบดวย สวนของประจุบวกอัดแนนอยูที่ใจกลางซึ่งกินที่วางนอยมาก เรียกวา นิวเคลียส และมีอเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบเคลื่อนที่อยูรอบ ๆ ิ
  • 2. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 2 ภาพที่ 19-3 การโคจรของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสเปนวงกลม จะเกิดการสูญเสียพลังงานไปเรือย ๆ ตามทฤษฎีคลาสสิก ่ อยางไรก็ตาม มีสิ่งที่แบบจําลองนี้อธิบายไมได คือ เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปนวงกลมยอมตองมีความเรง และเมื่อมี ความเรง อิเล็กตรอนจะตองปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา ตามทฤษฎีของ แม็กซเวลล เปนเหตุใหสูญเสียพลังงานไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง อิเล็กตรอนจะตกใสนิวเคลียส เปนจุดจบของอะตอม 19.2 แบบจําลองอะตอมของบอหร นีล บอหร เปนคนแรกที่อธิบายวาอิเล็กตรอนไมแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาเมื่อโคจรรอบนิวเคลียส โดยเสนอวา อิเล็ก ตรอนสามารถโคจรแบบไมตกใสนิวเคลียสไดที่บางวงโคจร เปนวงโคจรที่เสถียร ในกรณีที่มีการเปลี่ยนวงโคจร เทานั้น ที่จะมีการปลอยพลังงานออกมา เปนโฟตอน (คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เปนอนุภาค) ซึ่งเปนที่มาของสเปกตรัมของ ธาตุตาง ๆ สเปกตรัมของอะตอมนี้สามารถอธิบายไดอยางดีโดยใชแบบจําลองอะตอมของบอหร เปนที่ทราบกันกอนยุคของบอหร แลววาเมื่อใหพลังงานกับสาร อะตอมแตละชนิดจะสงเสนแสงที่เปนเอกลักษณของ อะตอมแตละชนิดออกมา เสนแสงเหลานี้เปนชุดเรียกวา สเปกตรัม ซึ่งจากการศึกษาโดยนักเคมีและนักฟสิกส สรุปเปน สมการที่ ไดจากการทดลอง โดยเริ่มตน ในป 1885 บาล ม เมอรไดเสนอสูตรโดยประมวลจากขอมูลการศึกษาสเปกตรั ม ไฮโดรเจน 1  1 1   RH  2  2  (19-1)  2 n  โดยที่ n = 3, 4, 5, … และ RH = 1.0973732x107 m-1 (คาคงทีของริดจเบิรก) ่  ภายหลังสูตรของบาลมเมอร มีการเสนอสูตรของชุดสเปกตรัมอืน ๆ่  ชุดของไลมาน 1 1 1   RH  2  2  (19-2)  1 n   ชุดของพาสเชน 1 1 1   RH  2  2  (19-3)  3 n   ชุดของแบร็กเก็ตต 1  1 1   RH  2  2  (19-4)  4 n  บอหรได ใ ช ท ฤษฎีควอนตัมในการอธิ บ ายสเปกตรัมที่ เกิดจากอะตอมของไฮโดรเจน สมมติฐานของบอหร คื อ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปนวงรอบโปรตรอน โดยมีเพียงบางวงโคจรเทานั้นที่จะเสถียร พลังงานแตละระดับ (En) และ รัศมีวงโคจร (rn) มีคา
  • 3. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 3 ke e 2 1 En   (19-5) 2a0 n 2 n2h2 rn  (19-6) mke e 2 โดยที่ n = 1, 2, 3, … เมื่อ n = 1 วงโคจรมีขนาดเล็กทีสด เรียกวา รัศมีของบอหร (Bohr Radius, a0) มีคา 0.0529 nm ่ ุ  ภาพที่ 19-4 แบบจําลองอะตอมของบอหร มีอเล็กตรอนอยูในวงโคจรบางวงทีเสถียร ิ  ่ การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดขึ้นเมื่ออิเล็กตรอนกระโดด เปลี่ยนวงโคจรสูท่ีระดับต่ํากวา Ei-Ef= hf (ความตาง ระหวางพลังงานสถานะตนกับสถานะปลาย) สเปกตรัมที่เกิดขึ้นทุกชุดสามารถทํานายไดดวย สูตรจากแบบจําลองอะตอมของ บอหร ซึ่งสอดคลองกับสูตรจากการทดลองทุกสูตรขางตน 1 k e2  1 1   e  2 2 (19-7)  2a0 hc  n f  ni   โดยที่ kee2/2a0hc มีคาเทากับ คาคงทีของริดจเบิรกทีหาไดจากการทดลอง (RH =1.0973732x107 m-1)  ่  ่ ภาพที่ 19-5 สเปกตรัมชุดตาง ๆ ของอะตอมไฮโดรเจน ภาพที่ 19-6 คลืนนิงของอิเล็กตรอนเปรียบเทียบกับคลืนนิงในเสนเชือก ่ ่ ่ ่
  • 4. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 4 ขอบกพรองของแบบจําลองอะตอมของบอหรคือ เขาตอบไมไดวาเหตุใดจึงมีบางวงโคจรที่เสถียร? จนกระทั่งเดอบ รอยล ไดเสนอความคิดวาอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียสในแบบจําลองอะตอมของบอหร มีพฤติกรรมเปนคลื่นนิ่งมีความถี่ที่ ไมตอเนื่อง (ดังกรณีคลื่นนิ่งในเสนเชือก) คลื่นนิ่งของอิเล็กตรอน (เปนวงปดพอดี) จะเกิดขึ้นเมื่อ n  2r h (19-8)  mv แทนคาความยาวคลืนอนุภาคตามทีเสนอโดยเดอบรอยล ่ ่ h mvr  n  n (19-9) 2 เงือนไขนี้ เปนกรณีของวงโคจรทีเสถียร นันคือโมเมนตัมเชิงมุมในแบบจําลองของบอหรมีคาไมตอเนือง ่ ่ ่   ่ แบบจําลองอะตอมของบอหรนี้อธิบายอะตอมไดดกวารัทเธอรฟอรด และสามารถอธิบายสเปกตรัมของอะตอมไดเปน ี อยางดี นอกจากนี้การใชทฤษฎีควอนตัมยังอธิบายสเปกตรัมของ X-ray ไดดวย ในทฤษฎีควอนตัม อิเล็กตรอนเปนคลื่นอนุภาค ดังนั้นแบบจําลองที่ใกลเคียงความจริงที่สุด จะไดมาจากการแก สมการชโรดิงเจอร เพื่ออธิบายอิเล็กตรอนในอะตอม การแกสมการชโรดิงเจอรของอะตอมของไฮโดรเจนเปนกรณีที่งายที่สุด ดังที่จะกลาวในหัวขอตอไป 19.3 ฟงกชันคลื่นและเลขควอนตัมของอิเล็กตรอนในอะตอม การแกสมการชโรดิงเจอรใน 3 มิติ จะระบุสถานะของอิเล็กตรอนในไฮโดรเจนอะตอม 2m 2   E  U   0 (19-10) 2 จากโมเดลอะตอมของรัทเธอรฟอรด สามารถเขียนศักยไฟฟาของอิเล็กตรอนไดดังนี้ ke2 U r    (19-11) r และ Laplacian ใน Polar Coordinate จะมีรูปแบบเปน 2 2 2 2   2 2 x 2 y z (19-12) 1     1     1 2  2  r2   2  sin    2 r r  r  r sin      r sin   2 คําตอบของสมการนี้สามารถพิจารณาแยกออกมาไดเปน 3 สวน คือ  r,     Rr        (19-13) โดยที่ R(r) สวนของฟงกชันที่ขึ้นกับ r, () สวนของฟงกชันที่ขึ้นกับ , () สวนของฟงกชันที่ขึ้นกับ  แยกสมการเพื่อแกหาคําตอบทีละฟงกชัน 1 d  2 dR (r )   2m  Ke 2  l  l  1   r   2 E   R 0 (19-14) r 2 dr  dr   h  r  r2  1 d  d   m2   sin    l  l  1  2     (19-15) sin  d  d   sin   d 2  m2  0 (19-16) d 2
  • 5. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 5 ผลจากการแกสมการ นําไปสูเลขควอนตัม 3 ตัว ซึ่งเปนตัวกําหนดสถานะของอิเล็กตรอนในอะตอม ดังตอไปนี้  19.3.1 เลขควอนตัม  Principal Quantum Number (n โดยที่ n มีไดจํานวนอนันตคาที่ไมตอเนื่องกัน: n=1,2,3,4,…, ) เลข ควอนตัม n เปนตัวกําหนดระดับพลังงานหลักของอะตอมนี้ ตามสมการที่สอดคลองกับทฤษฎีของบอหร  ke 2  1 13.6 En     (unit in J) หรือ En   (unit in eV) (19-17)  2a0  n 2 n2 โดยที่ n=1,2,3,…สอดคลองกับระดับพลังงานชัน K,L,M,….ตามลําดับ ้  Orbital Quantum Number (l โดยที่ l มีไดจํานวน n คาที่ไมตอเนื่องกัน: l =0,1,2,3,…,n-1) เกี่ยวของกับ การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเปนวงโคจร (Orbit) รอบ ๆ นิวเคลียส เลขควอนตัม l เปนตัวกําหนดโมเมนตัม เชิงมุมของการโคจร (Orbital Angular Momentum) L  l (l  1) (19-18) โดยที่ l =0,1,2,3,…เรียกวาออรบตล s,p,d,f,… ตามลําดับ ิ ั  Orbital Magnetic Quantum Number (ml โดยที่ ml มีไดจํานวน 2l+1 คาที่ไมตอเนื่องกัน: ml= -l, - l+1,…,0,…,l-1,l) ซึ่งเกี่ยวของกับการที่อะตอมอยูในสนามแมเหล็ก แลวโมเมนตัมเชิงมุมจะควงรอบแกน สนามแมเหล็ก (มักกําหนดเปนแกน Z) เลขควอนตัม ml เปนตัวกําหนดโมเมนตัมเชิงมุมในแนวแกน Z (LZ) Lz  ml  (19-19) ภาพที่ 19-7 กรณีเลขควอนตัม l เปน 2 การควงรอบสนามแมเหล็กเกิดได 5 กรณี เลขควอนตัม ml มีได 5 คา นอกจากเลขควอนตัมทั้งสามที่เปนผลจากการแกสมการชโรดิงเจอรแลว การคนพบวาอนุภาค เชนอิเล็กตรอน นอกจากจะมีประจุแลว ยังมีสมบัติที่เรียกวา สปน (ประจุ เปนตนกําเนิดของไฟฟา, สปน เปนตนกําเนิดของแมเหล็ก) อีกดวย จากการทดลองพบวาสเปกตรัมของสารโซเดียม มีเสนที่มีลักษณะเปน doublet (คือเสนหนึ่งประกอบดวย 2 เสนที่อยูชิดกัน มาก) สงผลใหเลขควอนตัมสามตัวขางตนไมเพียงพอที่จะอธิบายปรากฏการณนี้จึงไดมีการเสนอเลขควอนตัมตัวที่สี่ ในการ บรรยายอิเล็กตรอนในอะตอมตองใชเลขควอนตัมสี่ตัว จึงระบุสถานะไดอยางสมบูรณ  Spin Magnetic Quantum Number (m s โดยที่ m s มีได 2 คา ที่ ไม ต อ เนื่อ งกัน : m s= -1/2 หรือ 1/2) เกี่ยวของกับโมเมนตัมเชิงมุมของการสปน (Spin Angular Momentum) S z  ms  (19-20) โดยที่ ms=1/2 และ -1/2 สอดคลองกับสปนอัพ และสปนดาวน ตามลําดับ
  • 6. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 6 ภาพที่ 19-8 สถานะการสปนมีได 2 กรณีคือ อัพ และดาวน เลขควอนตัม ms มีได 2 คา สปนเปนสมบัติทางควอนตัมที่เกิดจากคุณสมบัติเชิงสัมพัทธภาพของอนุภาค ไมสามารถพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน แตอาจเปรียบเทียบไดคราว ๆ กับการหมุนรอบตัวเองที่ทําใหเกิดโมเมนตแมเหล็กการมีอยูจริงของสปนไดรับการพิสูจนยืนยัน โดย การทดลองของสเติรนและเจอลารช (คศ. 1921) ที่ทําการยิงอะตอมของเงินในสภาวะกาซ ผานสนามแมเหล็ก และพบวา ลักษณะอะตอมที่ชนฉากรับจะแยกเปนแถบบนและลาง (ไมไดเปนปน) นั่นคือสนามแมเหล็กชวยใหสามารถสังเกตไดวา อนุภาคมีสมบัติเรียกวาสปนที่มี 2 สถานะ นันคือ สปนอัพ และสปนดาวน ่ ภาพที่ 19-9 การทดลองของสเติรนและเจอลารช  จากความรูเรื่อง ฟงกชันคลื่นและเลขควอนตัมของอิเล็กตรอนในอะตอม ทําใหสามารถบรรยายสถานะของอะตอมได ใกลเคียงความจริงที่สุด ดังเชนอะตอมไฮโดรเจนในตัวอยางตอไปนี้ 19.3.2 ฟงกชนคลืนของอะตอมไฮโดรเจน (The Wave Functions for Hydrogen Atom) ั ่ อะตอมไฮโดรเจนประกอบดวยอิเล็กตรอน 1 ตัวที่อาจอยูในสถานะตาง ๆ ไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับเลขควอนตัมทั้งสี่ ในสภาวะปกติอิเล็กตรอนจะอยูที่สถานะพื้น (Ground State) ซึ่งหมายถึง Orbital 1s  Orbital 1s ในระดับพลังงานนี้ n =1, l และ ml มีคาเปน 0  จากการแกสมการชโรดิงเจอร ฟงกชนคลืน (Wave Function) อยูในรูป ั ่  1 1 s ( r )  e r / a 0 (19-21) a 3 0 เมือทําการสรางกราฟใน 3 มิตจะไดเปนทรงกลม ดังแสดงในภาพที่ 19-11 (a) ่ ิ เมืออะตอมไฮโดรเจนไดรบพลังงาน อิเล็กตรอนสามารถอยูในสถานะอื่นได (เรียกวาสถานะกระตุน) ซึ่งสอดคลองกับ ่ ั ออรบตลอืน ๆ เชน 2p, 3s, 3p,3d,4s… ิ ั ่  Orbital 2p คือสถานะทีระดับ n เปน 2 และ l = 1 สําหรับคา l = 1 คา ml มีได 3 คาคือ +1, 0, -1 ่ จากการแกสมการชโรดิงเจอร ฟงกชนคลืน (Wave Function) อยูในรูป ั ่  1 r r / 2 a 0 2 p  e cos  (19-22) 4 2 a a 0 3 0
  • 7. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 7 1 r r / 2 a 0 2 p  e sin e i (19-23) 8 a a 0 3 0 เมื่อทําการสรางกราฟใน 3 มิติ ดังแสดงในภาพที่ 19-10 (b) (b) (a) ภาพที่ 19-10 ตัวอยางกราฟของออรบตล (a) 1s และ (b) 2p ิ ั คาความนาจะเปนทีจะพบอิเล็กตรอน ซึงแปรตาม r (ระยะจากนิวเคลียส) ่ ่ P1s r dr   rd  r sin d   1 r , ,  *  1 r , ,   (19-24)  r 2 R 2 dr จากสมการ เขียนกราฟกรณีออรบตลตาง ๆ ไดดงแสดงในภาพที่ 19-11 ิ ั ั ภาพที่ 19-11 ความนาจะเปนทีจะพบอิเล็กตรอนทีระยะตาง ๆ จากศูนยกลางอะตอม ่ ่ 19.4 หลักการกีดกันของเพาลี (The Exclusion Principle) หลักการกีดกันกลาววา อิเล็กตรอนสองตัวใด ๆ จะมีเลขควอนตัมทั้งสี่เหมือนกันทั้งหมดไมได (หรือกลาววา ใน อะตอม ณ สถานะทางควอนตัมหนึ่ง ๆ จะมีอิเล็กตรอนเกินหนึ่งตัวไมได) ใชอธิบายการจัดอิเล็กตรอนในอะตอม ในออรบตลใด ๆ ของอะตอม จะมีอเล็กตรอนไดสงสุด 2 ตัว อิเล็กตรอน 2 ตัวนีจะมีเลขควอนตัม n, l, m1 เหมือนกัน ิ ั ิ ู ้ ดังนันตามหลักกีดกัน อิเล็กตรอน 2 ตัวนี้ จะมีเลขควอนตัมตัวทีสคอ ms ตางกัน นันคือ ตัวหนึงจะมีสปนอัพ (ms=1/2) สวนอีก ้ ่ ่ี ื ่ ่ ตัวหนึ่งจะมีสปนดาวน (ms= -1/2)
  • 8. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 8 ภาพที่ 19-12 ตัวอยางการเรียงอิเล็กตรอนในแผนภาพออรบตล ิ ั ภาพที่ 19-13 ตัวอยางการระบุเลขควอนตัม 19.5 เอ็กซเรย (X-ray) ภาพที่ 19-14 ตัวอยางสเปกตรัมของ X-ray X-ray กําเนิดไดจากการระดมยิงอิเล็กตรอนพลังงานสูงเขาไปที่เปาโลหะ X-ray ที่ไดจะเปนสเปกตรัมที่มีลักษณะดัง ภาพที่ 19-14 สามารถแยกไดเปน 2 องคประกอบ คือ สวนทีเปนพีค (Peak) และสวนทีตอเนือง ่ ่  ่  สวนที่ตอเนื่องของสเปกตรัม ไดมาจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่โดยมีความเรงเปนลบ (ความเร็วลดลง) จึงมี การปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา เรียกกระบวนการนี้ วา Bremsstrahlung Radiation (หรือ Braking Radiation)  พีคของสเปกตรัม เกิดขึ้นโดยอีกกระบวนการหนึ่ง เรียก X-ray ชนิดนี้วา Characteristic X-ray ซึ่งถูกคนพบใน ป 1908 ซึ่งพีคเหลานี้ขึ้นกับชนิดของโลหะที่ใช การเกิด Characteristic X-ray สามารถอธิบายไดภายหลังการพัฒนาทฤษฎีควอนตัม วา Characteristic X-ray เกิด จากกระบวนการ 1. อิเล็กตรอน (หรืออนุภาคประจุอน ๆ) ทีมพลังงานสูงเคลือนทีเขาชนอิเล็กตรอนในวงชันในของอะตอม เชน ชั้น K ่ื ่ ี ่ ่ ้ หรือ L
  • 9. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 9 2. เมื่ออิเล็กตรอนชั้นในที่ไดรับพลังงานเพิ่มขึ้นจากการชนเกินพลังงานยึดเหนี่ยว จะหลุดออกจากอะตอมทําใหเกิด ที่วางของอิเลกตรอนในชั้นใน 3. อิเล็กตรอนที่อยูในลําดับถัดไปจะลดระดับพลังงานลงมาแทนที่พรอมกับปลอยโฟตอนออกมา โดยพลังงาน ของโฟตอนจะมีคาเทากับผลตางของระดับพลังงานทั้งสอง Characteristic X-ray แตละพีค จะมีชื่อตามระดับพลังงานที่เกี่ยวของ เชน K alpha คือการกระโดดจากชั้น L, K beta คือ การกระโดดจากชั้น M 19.6 เลเซอร LASER มาจากคําวา Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation คุณลักษณะของเลเซอร คือ  เปนแสงเอกรงค (Monochromatic) มีความถีเดียว สีเดียว ่  เปนแสงอาพันธ (Coherent) มีเฟสตรงกัน  สามารถโฟกัสใหเปนลําแสงขนาดเล็กมาก ลําแสงไมบานออกเหมือนแสงทัวๆไป ่ การทีเลเซอรเปนแหลงกําเนิดแสงอาพันธและมีลาแสงขนาดเล็ก จึงใหความเขมสูง สามารถประยุกตใชในเทคโนโลยี ่ ํ สมัยใหมไดมากมาย เลเซอรเกิดจากการเปลียนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอม โดยกระบวนการ Stimulated ่ Emission 19.6.1 กระบวนการดูดและคายพลังงาน จากทฤษฎีควอนตัม เมื่ออะตอมดูดกลืนหรือคายพลังงานในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนอนุภาคโฟตอน อิเล็กตรอนใน อะตอมจะมีการเปลี่ยนระดับพลังงาน กระบวนการดูดและคายพลังงาน มีไดหลายกรณีดังนี้  Stimulated Absorption เมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมดูดกลืนพลังงาน hf อิเล็กตรอนจากสถานะพื้นขึนไปอยู ้ ทีสถานะถูกกระตุน ่  ภาพที่ 19-15 กระบวนการ Stimulated Absorption  Spontaneous Emission อิเล็กตรอนอยูในสถานะถูกกระตุนไดชวระยะเวลาหนึง ตองกลับคืนสูสถานะ  ่ั ่  พื้น โดยการคายโฟตอนทีมพลังงานเทากับผลตางของระดับพลังงานทังสอง ่ ี ้ ภาพที่ 19-16 กระบวนการ Spontaneous Emission
  • 10. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 10  Stimulated Emission เมืออิเล็กตรอนอยูในสถานะถูกกระตุน แลวมีโฟตอนภายนอกมากระตุนซ้า ่    ํ อิเล็กตรอนสามารถคายโฟตอนแลวกลับสูสถานะพืน ไดโฟตอนเพิมขึ้นเปนแสงอาพันธ  ้ ่ ภาพที่ 19-17 กระบวนการ Stimulated Emission 19.6.2 กระบวนการการเกิดเลเซอร เลเซอรมหลายชนิด อาจจําแนกไดตามชนิดของสารตัวกลางทีใชผลิตเลเซอร ี ่  ตัวกลางของแข็ง เชน Ruby laser, Nd-YAG laser, Diode laser  ตัวกลางของเหลว เชน Dye laser  ตัวกลางกาซ เชน He-Ne laser,Co2 laser ,Excimer laser, Argon laser ภาพที19-18 (a)แผนภาพกลไกกําเนิดเลเซอรในหลอด (b) ตัวอยางหลอดเลเซอร ่ เลเซอรทกชนิดมีหลักการกําเนิดเหมือนกัน คือ ุ 1. อะตอมของตัวกลาง ทีใชกาเนิดเลเซอรไดรบการกระตุนใหอยูในสภาวะประชากรผกผัน (Population Inversion) ่ ํ ั   นันคือ มีอิเล็กตรอนอยูในสถานะถูกกระตุนมากกวาทีอยูในสถานะพืน และสถานะถูกกระตุนนีจะตองกึงเสถียร ่   ่  ้ ้ ่ (Metastable) คือ อิเล็กตรอนสามารถอยูไดนานกวาสถานะถูกกระตุนทัว ๆ ไป (เปนเหตุใหมตวกลางบางชนิด   ่ ี ั เทานั้นทีเหมาะสมในการใชกาเนิดเลเซอร) ่ ํ
  • 11. ฟสิกสยุคใหม : บทที่ 19  แบบจําลองอะตอม 11 2. เกิด Stimulated Emission โดยโฟตอนภายนอกเขามากระตุน อิเล็กตรอนจํานวนมากกลับสูสถานะพืนพรอม ๆ   ้ กัน โฟตอนทีคายออกมาทําใหไดแสงอาพันธมความเขมสูง ่ ี 3. เพื่อใหโฟตอนกลับไปทําใหเกิด Stimulated Emission ซ้ํา ๆ ตอเนื่องกันไป ในการออกแบบหลอดเลเซอรจึงใช กระจกสะทอนที่ปลายทั้งสองขางของตัวกลางเลเซอร ดานหนึ่งจะสะทอนแสงทั้งหมด อีกดานหนึ่งจะสะทอน แสงกลับบางสวน และยอมใหผานไดบางสวน สวนที่สะทอนกลับจะเปนโฟตอนที่ทําใหเกิด Stimulated Emission ตอไป สวนทีผานออกไปไดจะเปนแสงทีนาไปใชประโยชน ่  ่ ํ 19.6.3 การประยุกตใชเลเซอร  การบันทึกและอานขอมูล เชน เครื่องเลน CD, VCD, DVD, เครื่องอานบารโคด เลเซอรที่ใชคือ Diode laser  การสงขอมูลดวยความเร็วสูง และชวงความถีกวาง ผานเสนใยแกวนําแสง เลเซอรที่ใชคือ Diode laser ่  การผาตัดทางการแพทย และการศัลยกรรมความงาม เชน เลสิก, ตัดหูด, จี้ไฝ, กําจัดขนถาวร, กรีดตาสองชั้น, อุดฟน เลเซอรที่ใชไดแก Nd-YAG laser, CO2 laser, Excimer laser, Argon laser  งานอุตสาหกรรม เชน เชือม เจาะ ตัด ใหความรอน เลเซอรทใชไดแก Nd-YAG laser, CO2 laser ่ ่ี  การทหาร เชน อุปกรณวดระยะทาง เล็งเปาหมาย นําวิถขปนาวุธ เลเซอรที่ใชไดแก CO2 laser, Nd-YAG laser ั ีี  การสํารวจ ตรวจวัด และตรวจสอบสิ่งแวดลอม เชน การกําหนดตําแหนง ชี้จุด ตรวจมลภาวะในอากาศ วัด ความลึก วัดระยะ วัดความเร็ว เลเซอรที่ใชไดแก Nd-YAG laser  งานบันเทิงและศิลปะ เชน ฉายแสงในงานแสดงแสงเสียง คอนเสิรต สถานบันเทิง ทําโฮโลแกรมวาดภาพ แกะสลัก เลเซอรที่ใชไดแก He-Ne laser, Argon laser