SlideShare a Scribd company logo
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การประกอบคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
1. นาย ต้นรัก เรืองวิทย์ เลขที่ 2
2. นาย อัษฎาวุธ เกิดคล้าย เลขที่ 3
3. นาย ทยาวัฒน์ ทรงเจริญสุข เลขที่ 4
4. นาย ศรัญยู บุญค้าจุน เลขที่ 9
5. นาย รัฐ ปะทีปะวณิช เลขที่ 14
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5
ครูที่ปรึกษา
นาย ปรีชา กิจจาการ
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก
ชื่อ : นายต้นรัก เรืองวิทย์, นาย อัษฎาวุธ เกิดคล้าย,
นายทยาวัมน์ ทรงเจริญสุข,นาย ศรัญยู บุญค้าจุน และนายรัฐ ปะทีปะวณิช
ชื่อเรื่อง : การประกอบคอมพิวเตอร์
รายวิชา : โครงงานคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : เทคโนโลยีสารสนเทศ
ครูที่ปรึกษา : นาย ปรีชา กิจจาการ
ปีการศึกษา : 2562
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง การประกอบคอมพิวเตอร์นี้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาความรู้เกี่ยวกับวัสดุ
อุปกรณ์ และการประกอบคอมพิวเตอร์มาเพื่อเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้รู้ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน
e-book และเพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการประกอบคอมพิวเตอร์นี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยอย่างดีด้วยความกรุณาจากท่านอาจารย์ที่
ปรึกษาครูปรีชาที่คอยให้คาชี้แนะเสนอแนวคิดตลอดจนการแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆจากการทางานจน
สาเร็จลุล่วงสมบูรณ์คณะผู้จัดทาจึงกราบขอบพระคุณมาณที่นี้
ขอกราบขอบคุณผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาที่เอื้อเฟื้อสถานที่ทาและช่วยเสนอแนะแนะนาคณะ
ผู้จัดทาในการทาโครงงานเรื่อยมา
คณะผู้จัดทากราบขอบคุณทุกท่านที่ทาให้โครงงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงจนเสร็จสมบูรณ์
ขอขอบพระคุณอย่างสูง
คณะผู้จัดทา
16ก.พ.2563
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
สมมติฐาน 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
อุปกรณ์ 2
การประกอบคอม 8
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ 19
ขั้นตอนการทางาน 19
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 23
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 24
บรรณานุกรม 25
ภาคผนวก 26
1
บทที่ 1
บทนา
1. ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของคน และกลายเป็นสิ่ง สาคัญ
ในชีวิตมนุษย์มากขึ้น คอมพิวเตอร์มีบทบาทในทุกวงการ ทุกสาขาอาชีพ ซึ่งจะพบได้ว่าธุรกิจ องค์กร
หน่วยงาน บริษัท สถานศึกษา ต่างก็ได้นาคอมพิวเตอร์เข้ามา ช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนินงาน และ
ใช้ในการประกอบการ เรียนการสอน ทาให้เกิดความคล่องตัวในการดาเนินการ ทาให้งานสาเร็จลุล่วงไปได้
อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพคู่กับประสิทธิผลและ ถูกต้องมากขึ้น กลุ่มของพวกเราเล็งเห็นความสาคัญในการ
เสริมสร้างความเข้าใจ การใช้ เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ดังกล่าว จึงจัดทาโครงงานการประกอบ
คอมพิวเตอร์อย่างง่าย ด้วยตนเองขึ้น เพื่อให้ผู้ศึกษา สามารถใช้ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบ
คอมพิวเตอร์และสามารถถ่ายทอดให้กับผู้ที่สนใจ ต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถประกอบคอมพิวเตอร์ด้วยตนเองได้
2. เสริมสร้างความรู้ให้กับผู้ศึกษาเกี่ยวกับการประกอบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้
3. สมมติฐานในการทาโครงงาน
ผู้ศึกษาสามารถรู้และเข้าใจการประกอบคอมพิวเตอร์มากขึ้น
4.ขอบเขตของโครงงาน
1. ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง
2. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติโครงงาน ได้แก่ CPU Mainbord Ram พาวเวอร์ซัพ
พลาย ฮาร์ดดิส เคส เครื่องระบายความร้อนCPU
3. นาเสนอให้กับบุคคลทั่วไป
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างช่างมาประกอบคอมพิวเตอร์ให้
2. ผู้ศึกษามีความรู้ในการประกอบคอมพิวเตอร์มากขึ้น
2
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ดังนี้
อุปกรณ์ในการประกอบคอมพิวเตอร์ ได้แก่
เคส (Case)
เคส คือ โครงหรือกล่องสาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และ
ขนาด ของเคสจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความ
เหมาะสม ของงาน และสถานที่นั้น
เคส (case)
พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้า
คอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มี
จานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอ
3
Power Supply
ซีพียู (CPU)
ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์
ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจากข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์
นาเข้าข้อมูลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ
คือ
1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทาหน้าที่เหมือนกับ
เครื่องคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร
อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์
หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาว่า
เงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้
2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการ
ประสานงานกับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารองด้วย ซีพียูที่มีจาหน่ายใน
ท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon
CPU
4
การ์ดแสดงผล (Display Card)
การ์ดแสดงผลใช้สาหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ใน
ตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่ง
ตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียู
ได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย
Display Card
หลักกันทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียู
เมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ด
แสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมี
วงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร
แรม(RAM)
RAM ย่อมาจากคาว่า Random-Access Memory เป็นหน่วยความจาหลักแต่ไม่ถาวร ซึ่งจะต้องมีไฟมา
หล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทางาน โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจา
จะหายไปทันที
5
SDRAM
DDR-RAM
RDRAM
โดยหลักการทางานคร่าวๆ ของแรมนั้นเริ่มต้นที่รับข้อมูลจากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์ Input จากนั้นก็จะส่งข้อมูลไปยัง
CPU ในการประมวลผล เมื่อ CPU ประมวลผลเสร็จแล้ว แรมจะรับข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้ว ออกไปยัง
อุปกรณ์ Output ต่อไป โดยหน่วยความจาแรมที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR-RAM, RDRAM
ฮาร์ดดิสก์(Hard disk)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็น
รูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสาหรับการควบคุมการทางานประกบอยู่ที่ด้านล่าง
พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด โดย
ฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกน
เดียวกันเรียก Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์ แต่ละหน้าของ
6
แผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจาเฉพาะ โดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออก
ระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน
- IDE (Integrated Drive Electronics)
เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่าน
สายแพรและคอนเน็คเตอร์จานวน 40 ขาที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถต่อ
ฮาร์ดดิสก์ได้2 ตัวและบนเมนบอร์ด
Harddisk แบบ IDE
IDE Cable
- SCSI (Small Computer System Interface)
เป็นอินเตอร์เฟสที่แตกต่างจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก โดยจะอาศัย Controller Card ที่มี Processor อยู่ใน
ตัวเองทาให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่โดยจะสนับสนุนการต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว แต่การ์ดบางรุ่น
อาจจะได้ถึง 14 ตัวทีเดียว โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้งานในรูปแบบ Server เพราะมีราคาแพงแต่มีความเร็วในการ
ส่งข้อมูลสูง
7
Harddisk แบบ SCSI
SCSI controller
- Serial ATA (Advanced Technology Attachment)
เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York มีความเร็วใน
เข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทางานได้เร็วมากในส่วนของ extreme
application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมาแทนที่ของ IDE ใน
ปัจจุบัน
8
Harddisk แบบ Serial ATA
Serial ATA Cable
ขั้นตอนการประกอบคอมพิวเตอร์
1. ขั้นแรกให้เตรียมอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
เช่น ไขควงสี่แฉก กล่องสาหรับใส่น็อต คู่มือเมนบอร์ด คีมปากจิ้งจก
9
2. เริ่มจากการติดตั้งซีพียูก่อน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึ้นมาจากนั้น
นาซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตาแหน่งขาที่ 1 ของซีพียูและซ็อกเก็ตให้ตรง
กัน โดยสังเกตว่าที่ขาที่ 1 ของซีพียูจะทาเครื่องหมายเป็นจุดเล็กไว้ที่มุมด้านบนของ
ซีพียู
3. เมื่อวางซีพียูตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนั้นให้กดขาล็อกลงไปเหมือน
เดิม แล้วนาซิลิโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน( ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้
หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง
10
4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อย
ในขั้นตอนนี้มีจุดที่ต้องระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตั้งฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ
สนิทกับคอร์ของซีพียู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพียูอาจบิ่นได้ส่วนขา
สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง
ให้เข้าล็อก ซึ่งอาจทาให้พลาดไปขูดเอาลายปริ้นบนเมนบอร์ดขาดทาให้เมนบอร์ด
อาจเสียหายได้
5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN โดยดูจากคู่มือเมนบอร์ด
11
6. นาแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเก็ต จากนั้น
จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน
อาจไม่จาเป็นต้องดีดขึ้นมาก็ได้ให้ดูว่าเข้าล็อกกันก็พอ(
7. ขันแท่นรองน็อตเข้ากับเคส
8. นาเมนบอร์ดที่ได้ติดตั้งซีพียูและแรมวางลงไปบนเคส จากนั้นขันน็อตยึด
เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว
12
9. เสียบการ์ดแสดงผลลงไปในสล็อต AGP เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส
10. เสียบการ์ดเสียงลงไปในสล็อต PCI เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส
13
11. เสียบสายเพาเวอร์ซัพพลายเข้ากับขั้วต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้
ปลั๊กของสายเพาเวอร์ซัพพลายตรงล็อกกับขั้วต่อบนเมนบอร์ด
12. สอดไดรฟ์ซีดีรอมเข้ากับช่องว่างหน้าเคส แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส
ให้แน่น
13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1
หรือด้านที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย
14
14. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ด
โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
15. สอดฮาร์ดดิสก์เข้ากับช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น
15
16. เสียบสาย IDE เข้ากับฮาร์ดดิสก์โดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้าน
ที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย
17. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Primary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย
18. สอดไดรฟ์ฟล็อบปี้ ดิสก์เข้าไปในช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น
16
19. เสียบสายไฟเข้ากับขั้วต่อสายไฟของฟล็อบปี้ ดิสก์ ให้สังเกตสายไฟของ
ฟล็อบปี้ ดิสก์จะมีหัวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดีรอมและฮาร์ดดิสก์
20. เสียบสายแพขนาด 34 เส้น (เส้นเล็กกว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์
และซีดีรอม( ให้ด้านที่มีการไขว้สายเข้ากับขั้วต่อไดรฟ์ฟล็อบปี้ ดิสก์ โดยแถบสีแดง
ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์
ฟล็อบปี้ ดิสก์จะติดตลอด วิธีแก้ไขคือให้หันสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปี้ ดิสก์
บางยี่ห้ออาจต้องใส่สลับด้านกัน
17
21. เสียบสายแพอีกด้านเข้ากับขั้วต่อฟล็อบปี้ ดิสก์บนเมนบอร์ด โดยให้สาย
สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขั้วต่อด้วย
22. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปิดปิดเครื่อง ไฟบอก
สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลาโพง ลงบนเมนบอร์ด
ควรดูคู่มือเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขั้วให้ถูกหากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์
จะไม่ติดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธีแก้ไขคือให้เราลองสลับขั้วและเปิดเครื่องขึ้น
มาใหม่
18
23. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสารวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆ
ตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทาให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ
เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนี้ควรตรวจสอบ
การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ
แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพียู พร้อมทั้งล็อก
ติดกันอย่างแน่นหนา
24. เมื่อเรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขันน็อตให้เรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จสิ้น
19
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การประกอบคอมพิวเตอร์ มีวิธีการดังต่อไปนี้
1.วัสดุและอุปกรณ์ในการดาเนินการ
1.1.ไขควงแฉกดาว 1 อัน
1.2.เมนบอร์ด 1อัน
1.3.ซีพียู 1อัน
1.4.เครื่องระบายความร้อนซีพียู 1ตัว
1.5.ฮาร์ดดิส 1อัน
1.6.ซิลิโคนทาบนซีพียู
1.7.พาวเวอร์ซัพพลาย 1อัน
1.8.แรม 1อัน
1.9.เคส 1อัน
2.วิธีการดาเนินงาน
2.1.เปิดฝาเคส จากนั้นนาเมนบอร์ดมายึดติดกับตัวเคสโดยไขน๊อต โดยเราควรไขน๊อตให้แน่นและตรงรู
กันการเคลื่อนระหว่างประกอบและการขนย้าย
20
2.2.การติดตั้งซีพียู จะต้องเยื้องตัวล๊อกมาทางขวา ตัวล๊อกจะเด้งออกมาเพื่อรองรับซีพียู นาซีพียูใส่ให้
ตรงกับช่องขาล๊อก จากนั้นปิดตัวล๊อกซีพียูไม่ให้เคลื่อนที่
2.3.ติดตั้งพัดลมระบายความร้อนให้กับซีพียู โดยทาซิลิโคนที่ตัวพัดลมด้านที่ติดกับซีพียู จากนั้นนาพัด
ลมวางและยึดขาล๊อกทั้ง 4 ข้างกับเมนบอร์ด
2.4.จากนั้นนาสายที่นาไฟเลี้ยงพัดลมต่อเข้ากับเมนบอร์ดตรงช่องเลี้ยงไฟพัดลม
21
2.5.ติดตั้งแรมโดยนาแรมมาใส่กับช่องใส่แรมที่เป็นแถบอยู่บนเมนบอร์ด และกดแถบแรมลงไปให้แน่น
2.6.ติดตั้งฮาร์ดดิส โดยมีสายต่อ 2 อัน คือ สายไฟเลี้ยง และสายส่งข้อมูล เริ่มจากไฟเลี้ยงต่อเข้ากับแถบ
ใหญ่บนฮาร์ดดิส
2.7.สายส่งข้อมูลแถบเล็กกว่าต่อกับฮาร์ดดิสและปลายสายต่อกับสลอตสีฟ้าเฉพาะต่อฮาร์ดดิสบนเมนบอร์ด
22
2.8.นาสายเพาเวอร์ซัพพลายต่อกับตัวเมนบอร์ดให้ครบ
23
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงานการประกอบคอมพิวเตอร์ทางกลุ่มของนักเรียน5/5ได้ดาเนินการตาม
โครงการวัตถุประสงค์ต่างๆ ซึ่ง มีผลการดาเนินงานดังนี้
4.1.การทดสอบส่วนที่ประกอบ
-ได้มีการเช็คในการ ต่อสายไฟเลี้ยงของเเต่ละอุปกรณ์ เเละเช็คความหนาเเน่นของอุปกรณ์ที่
เชื่อมติดด้วยน็อตว่ามีความเเน่นหนาหรือไม่
-ได้มีการนา อุปกรณ์ที่ประกอบเสร็จเเล้วไปเสียบไฟดูว่าทางานได้หรือไม่
4.2.ผลที่ได้จากการทาโครงงาน
-ได้รู้ วิธีการประกอบคอมพิวเตอร์ ส่วนซีพียู จากเพื่อนที่มีความสามารถ
-ได้รู้ ว่าชิ้นส่วนต่างๆของตัวคอมนั่น มีไว้ใช้ทาอะไรบ้าง
4.3.การนาความรู้ที่ได้จากการทาโครงงานนี่ไปใช้ประโยชน์
-ได้มีความรู้ติดตัวเเละสามารถ ประกอบคอมพิวเตอร์เองได้
-สามารถนาไปประกอบอาชีพในการประกอบคอมพิวเตอร์
-ทาให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายในการต้องนาเงินไปจ่ายให้คนอื่นประกอบคอมให้
24
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
5.1.สรุปผลการทดลอง
-คอมพิวเตอร์ ที่นามาประกอบนั้น สามารถใช้งานได้ตามปกติ
5.2.ปัญหาเเละอุปสรรค
-เพื่อนที่ร่วมกลุ่มนั่น อยู่บ้านไกลกันเกินไปทาให้การนัดรวมตัวช้า
-มีเพื่อนบางคนนั้นติดธุระเลยไม่สามารถมาได้
-อุปกรณ์ที่ประกอบนั่นมีความลาบากในการขนย้ายเพื่อนามาประกอบ
-สถานที่ที่จัดทาต้องไม่ส่งเสียงดังเกินความจาเป็น
5.3.ข้อเสนอแนะ
-ควรมีการจัดสถานที่รวมกลุ่มกันในที่ๆสะดวกที่จะให้เพื่อนทุกคนมากันได้
-ควรมีอุปกรณ์ในการทาที่มีคุณภาพมากกว่านี้และมีการเตรียมอุปกรณ์ไว้ก่อนวันถ่ายทาจริง
25
บรรณานุกรม
1.วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์.การประกอบคอมพิวเตอร์.(ออนไลน์(.แหล่งที่มา:
https://docs.google.com/document/preview?hgd=1&id=1zyqhdh67Y9Fpbx-knnF2qc-
XSSlh8zQPVfBfj7GcbBw. 12 กุมภาพันธ์ 2563.
2.webmaster kapook.อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.(ออนไลน์(.แหล่งที่มา:
http://computer.kapook.com/equpiment.php. 12 กุมภาพันธ์ 2563.
26
ภาคผนวก
27
ภาพวิธีดาเนินงาน

More Related Content

Similar to Assembly Computer

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์cnkgrace14
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
nontiya singchua
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
Songsak 151221143635
Songsak 151221143635Songsak 151221143635
Songsak 151221143635
Frong Pinipun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดา
โครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดาโครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดา
โครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดาKasin Wasuwanich
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
tangonjr
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Wachiraya Thasnapanth
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
napatson chaiyasan
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
laddawan wangkhamlun
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
kanlaya champatho
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Kuroba Kaito
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
0804000803
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 

Similar to Assembly Computer (20)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
Songsak 151221143635
Songsak 151221143635Songsak 151221143635
Songsak 151221143635
 
1
11
1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดา
โครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดาโครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดา
โครงงานคอมพิวเตอร์ ถนนยมจินดา
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Assembly Computer

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การประกอบคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย 1. นาย ต้นรัก เรืองวิทย์ เลขที่ 2 2. นาย อัษฎาวุธ เกิดคล้าย เลขที่ 3 3. นาย ทยาวัฒน์ ทรงเจริญสุข เลขที่ 4 4. นาย ศรัญยู บุญค้าจุน เลขที่ 9 5. นาย รัฐ ปะทีปะวณิช เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 ครูที่ปรึกษา นาย ปรีชา กิจจาการ โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. ก ชื่อ : นายต้นรัก เรืองวิทย์, นาย อัษฎาวุธ เกิดคล้าย, นายทยาวัมน์ ทรงเจริญสุข,นาย ศรัญยู บุญค้าจุน และนายรัฐ ปะทีปะวณิช ชื่อเรื่อง : การประกอบคอมพิวเตอร์ รายวิชา : โครงงานคอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ : เทคโนโลยีสารสนเทศ ครูที่ปรึกษา : นาย ปรีชา กิจจาการ ปีการศึกษา : 2562 บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง การประกอบคอมพิวเตอร์นี้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาความรู้เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ และการประกอบคอมพิวเตอร์มาเพื่อเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้รู้ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอน e-book และเพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานการประกอบคอมพิวเตอร์นี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยอย่างดีด้วยความกรุณาจากท่านอาจารย์ที่ ปรึกษาครูปรีชาที่คอยให้คาชี้แนะเสนอแนวคิดตลอดจนการแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆจากการทางานจน สาเร็จลุล่วงสมบูรณ์คณะผู้จัดทาจึงกราบขอบพระคุณมาณที่นี้ ขอกราบขอบคุณผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาที่เอื้อเฟื้อสถานที่ทาและช่วยเสนอแนะแนะนาคณะ ผู้จัดทาในการทาโครงงานเรื่อยมา คณะผู้จัดทากราบขอบคุณทุกท่านที่ทาให้โครงงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงจนเสร็จสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณอย่างสูง คณะผู้จัดทา 16ก.พ.2563
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 สมมติฐาน 1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์ 2 การประกอบคอม 8 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ 19 ขั้นตอนการทางาน 19 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 23 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 24 บรรณานุกรม 25 ภาคผนวก 26
  • 5. 1 บทที่ 1 บทนา 1. ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของคน และกลายเป็นสิ่ง สาคัญ ในชีวิตมนุษย์มากขึ้น คอมพิวเตอร์มีบทบาทในทุกวงการ ทุกสาขาอาชีพ ซึ่งจะพบได้ว่าธุรกิจ องค์กร หน่วยงาน บริษัท สถานศึกษา ต่างก็ได้นาคอมพิวเตอร์เข้ามา ช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนินงาน และ ใช้ในการประกอบการ เรียนการสอน ทาให้เกิดความคล่องตัวในการดาเนินการ ทาให้งานสาเร็จลุล่วงไปได้ อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพคู่กับประสิทธิผลและ ถูกต้องมากขึ้น กลุ่มของพวกเราเล็งเห็นความสาคัญในการ เสริมสร้างความเข้าใจ การใช้ เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ดังกล่าว จึงจัดทาโครงงานการประกอบ คอมพิวเตอร์อย่างง่าย ด้วยตนเองขึ้น เพื่อให้ผู้ศึกษา สามารถใช้ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบ คอมพิวเตอร์และสามารถถ่ายทอดให้กับผู้ที่สนใจ ต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถประกอบคอมพิวเตอร์ด้วยตนเองได้ 2. เสริมสร้างความรู้ให้กับผู้ศึกษาเกี่ยวกับการประกอบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ 3. สมมติฐานในการทาโครงงาน ผู้ศึกษาสามารถรู้และเข้าใจการประกอบคอมพิวเตอร์มากขึ้น 4.ขอบเขตของโครงงาน 1. ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง 2. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติโครงงาน ได้แก่ CPU Mainbord Ram พาวเวอร์ซัพ พลาย ฮาร์ดดิส เคส เครื่องระบายความร้อนCPU 3. นาเสนอให้กับบุคคลทั่วไป 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างช่างมาประกอบคอมพิวเตอร์ให้ 2. ผู้ศึกษามีความรู้ในการประกอบคอมพิวเตอร์มากขึ้น
  • 6. 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบเครื่อง คอมพิวเตอร์ ดังนี้ อุปกรณ์ในการประกอบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เคส (Case) เคส คือ โครงหรือกล่องสาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และ ขนาด ของเคสจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความ เหมาะสม ของงาน และสถานที่นั้น เคส (case) พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้า คอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มี จานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอ
  • 7. 3 Power Supply ซีพียู (CPU) ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจากข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์ นาเข้าข้อมูลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ คือ 1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทาหน้าที่เหมือนกับ เครื่องคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาว่า เงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการ ประสานงานกับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารองด้วย ซีพียูที่มีจาหน่ายใน ท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon CPU
  • 8. 4 การ์ดแสดงผล (Display Card) การ์ดแสดงผลใช้สาหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ใน ตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่ง ตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียู ได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย Display Card หลักกันทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียู เมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ด แสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมี วงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร แรม(RAM) RAM ย่อมาจากคาว่า Random-Access Memory เป็นหน่วยความจาหลักแต่ไม่ถาวร ซึ่งจะต้องมีไฟมา หล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทางาน โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจา จะหายไปทันที
  • 9. 5 SDRAM DDR-RAM RDRAM โดยหลักการทางานคร่าวๆ ของแรมนั้นเริ่มต้นที่รับข้อมูลจากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์ Input จากนั้นก็จะส่งข้อมูลไปยัง CPU ในการประมวลผล เมื่อ CPU ประมวลผลเสร็จแล้ว แรมจะรับข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้ว ออกไปยัง อุปกรณ์ Output ต่อไป โดยหน่วยความจาแรมที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR-RAM, RDRAM ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็น รูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสาหรับการควบคุมการทางานประกบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด โดย ฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกน เดียวกันเรียก Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์ แต่ละหน้าของ
  • 10. 6 แผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจาเฉพาะ โดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออก ระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน - IDE (Integrated Drive Electronics) เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่าน สายแพรและคอนเน็คเตอร์จานวน 40 ขาที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถต่อ ฮาร์ดดิสก์ได้2 ตัวและบนเมนบอร์ด Harddisk แบบ IDE IDE Cable - SCSI (Small Computer System Interface) เป็นอินเตอร์เฟสที่แตกต่างจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก โดยจะอาศัย Controller Card ที่มี Processor อยู่ใน ตัวเองทาให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่โดยจะสนับสนุนการต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว แต่การ์ดบางรุ่น อาจจะได้ถึง 14 ตัวทีเดียว โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้งานในรูปแบบ Server เพราะมีราคาแพงแต่มีความเร็วในการ ส่งข้อมูลสูง
  • 11. 7 Harddisk แบบ SCSI SCSI controller - Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York มีความเร็วใน เข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทางานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมาแทนที่ของ IDE ใน ปัจจุบัน
  • 12. 8 Harddisk แบบ Serial ATA Serial ATA Cable ขั้นตอนการประกอบคอมพิวเตอร์ 1. ขั้นแรกให้เตรียมอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ไขควงสี่แฉก กล่องสาหรับใส่น็อต คู่มือเมนบอร์ด คีมปากจิ้งจก
  • 13. 9 2. เริ่มจากการติดตั้งซีพียูก่อน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึ้นมาจากนั้น นาซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตาแหน่งขาที่ 1 ของซีพียูและซ็อกเก็ตให้ตรง กัน โดยสังเกตว่าที่ขาที่ 1 ของซีพียูจะทาเครื่องหมายเป็นจุดเล็กไว้ที่มุมด้านบนของ ซีพียู 3. เมื่อวางซีพียูตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนั้นให้กดขาล็อกลงไปเหมือน เดิม แล้วนาซิลิโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน( ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้ หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง
  • 14. 10 4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อย ในขั้นตอนนี้มีจุดที่ต้องระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตั้งฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ สนิทกับคอร์ของซีพียู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพียูอาจบิ่นได้ส่วนขา สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง ให้เข้าล็อก ซึ่งอาจทาให้พลาดไปขูดเอาลายปริ้นบนเมนบอร์ดขาดทาให้เมนบอร์ด อาจเสียหายได้ 5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN โดยดูจากคู่มือเมนบอร์ด
  • 15. 11 6. นาแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเก็ต จากนั้น จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน อาจไม่จาเป็นต้องดีดขึ้นมาก็ได้ให้ดูว่าเข้าล็อกกันก็พอ( 7. ขันแท่นรองน็อตเข้ากับเคส 8. นาเมนบอร์ดที่ได้ติดตั้งซีพียูและแรมวางลงไปบนเคส จากนั้นขันน็อตยึด เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว
  • 16. 12 9. เสียบการ์ดแสดงผลลงไปในสล็อต AGP เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส 10. เสียบการ์ดเสียงลงไปในสล็อต PCI เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส
  • 17. 13 11. เสียบสายเพาเวอร์ซัพพลายเข้ากับขั้วต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้ ปลั๊กของสายเพาเวอร์ซัพพลายตรงล็อกกับขั้วต่อบนเมนบอร์ด 12. สอดไดรฟ์ซีดีรอมเข้ากับช่องว่างหน้าเคส แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส ให้แน่น 13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้านที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย
  • 18. 14 14. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย 15. สอดฮาร์ดดิสก์เข้ากับช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น
  • 19. 15 16. เสียบสาย IDE เข้ากับฮาร์ดดิสก์โดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้าน ที่ติดกับขั้วสายไฟ จากนั้นจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย 17. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Primary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย 18. สอดไดรฟ์ฟล็อบปี้ ดิสก์เข้าไปในช่องติดตั้ง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น
  • 20. 16 19. เสียบสายไฟเข้ากับขั้วต่อสายไฟของฟล็อบปี้ ดิสก์ ให้สังเกตสายไฟของ ฟล็อบปี้ ดิสก์จะมีหัวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดีรอมและฮาร์ดดิสก์ 20. เสียบสายแพขนาด 34 เส้น (เส้นเล็กกว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์ และซีดีรอม( ให้ด้านที่มีการไขว้สายเข้ากับขั้วต่อไดรฟ์ฟล็อบปี้ ดิสก์ โดยแถบสีแดง ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์ ฟล็อบปี้ ดิสก์จะติดตลอด วิธีแก้ไขคือให้หันสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปี้ ดิสก์ บางยี่ห้ออาจต้องใส่สลับด้านกัน
  • 21. 17 21. เสียบสายแพอีกด้านเข้ากับขั้วต่อฟล็อบปี้ ดิสก์บนเมนบอร์ด โดยให้สาย สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขั้วต่อด้วย 22. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปิดปิดเครื่อง ไฟบอก สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลาโพง ลงบนเมนบอร์ด ควรดูคู่มือเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขั้วให้ถูกหากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์ จะไม่ติดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธีแก้ไขคือให้เราลองสลับขั้วและเปิดเครื่องขึ้น มาใหม่
  • 22. 18 23. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสารวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆ ตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทาให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนี้ควรตรวจสอบ การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพียู พร้อมทั้งล็อก ติดกันอย่างแน่นหนา 24. เมื่อเรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขันน็อตให้เรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จสิ้น
  • 23. 19 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การประกอบคอมพิวเตอร์ มีวิธีการดังต่อไปนี้ 1.วัสดุและอุปกรณ์ในการดาเนินการ 1.1.ไขควงแฉกดาว 1 อัน 1.2.เมนบอร์ด 1อัน 1.3.ซีพียู 1อัน 1.4.เครื่องระบายความร้อนซีพียู 1ตัว 1.5.ฮาร์ดดิส 1อัน 1.6.ซิลิโคนทาบนซีพียู 1.7.พาวเวอร์ซัพพลาย 1อัน 1.8.แรม 1อัน 1.9.เคส 1อัน 2.วิธีการดาเนินงาน 2.1.เปิดฝาเคส จากนั้นนาเมนบอร์ดมายึดติดกับตัวเคสโดยไขน๊อต โดยเราควรไขน๊อตให้แน่นและตรงรู กันการเคลื่อนระหว่างประกอบและการขนย้าย
  • 24. 20 2.2.การติดตั้งซีพียู จะต้องเยื้องตัวล๊อกมาทางขวา ตัวล๊อกจะเด้งออกมาเพื่อรองรับซีพียู นาซีพียูใส่ให้ ตรงกับช่องขาล๊อก จากนั้นปิดตัวล๊อกซีพียูไม่ให้เคลื่อนที่ 2.3.ติดตั้งพัดลมระบายความร้อนให้กับซีพียู โดยทาซิลิโคนที่ตัวพัดลมด้านที่ติดกับซีพียู จากนั้นนาพัด ลมวางและยึดขาล๊อกทั้ง 4 ข้างกับเมนบอร์ด 2.4.จากนั้นนาสายที่นาไฟเลี้ยงพัดลมต่อเข้ากับเมนบอร์ดตรงช่องเลี้ยงไฟพัดลม
  • 25. 21 2.5.ติดตั้งแรมโดยนาแรมมาใส่กับช่องใส่แรมที่เป็นแถบอยู่บนเมนบอร์ด และกดแถบแรมลงไปให้แน่น 2.6.ติดตั้งฮาร์ดดิส โดยมีสายต่อ 2 อัน คือ สายไฟเลี้ยง และสายส่งข้อมูล เริ่มจากไฟเลี้ยงต่อเข้ากับแถบ ใหญ่บนฮาร์ดดิส 2.7.สายส่งข้อมูลแถบเล็กกว่าต่อกับฮาร์ดดิสและปลายสายต่อกับสลอตสีฟ้าเฉพาะต่อฮาร์ดดิสบนเมนบอร์ด
  • 27. 23 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานการประกอบคอมพิวเตอร์ทางกลุ่มของนักเรียน5/5ได้ดาเนินการตาม โครงการวัตถุประสงค์ต่างๆ ซึ่ง มีผลการดาเนินงานดังนี้ 4.1.การทดสอบส่วนที่ประกอบ -ได้มีการเช็คในการ ต่อสายไฟเลี้ยงของเเต่ละอุปกรณ์ เเละเช็คความหนาเเน่นของอุปกรณ์ที่ เชื่อมติดด้วยน็อตว่ามีความเเน่นหนาหรือไม่ -ได้มีการนา อุปกรณ์ที่ประกอบเสร็จเเล้วไปเสียบไฟดูว่าทางานได้หรือไม่ 4.2.ผลที่ได้จากการทาโครงงาน -ได้รู้ วิธีการประกอบคอมพิวเตอร์ ส่วนซีพียู จากเพื่อนที่มีความสามารถ -ได้รู้ ว่าชิ้นส่วนต่างๆของตัวคอมนั่น มีไว้ใช้ทาอะไรบ้าง 4.3.การนาความรู้ที่ได้จากการทาโครงงานนี่ไปใช้ประโยชน์ -ได้มีความรู้ติดตัวเเละสามารถ ประกอบคอมพิวเตอร์เองได้ -สามารถนาไปประกอบอาชีพในการประกอบคอมพิวเตอร์ -ทาให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายในการต้องนาเงินไปจ่ายให้คนอื่นประกอบคอมให้
  • 28. 24 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 5.1.สรุปผลการทดลอง -คอมพิวเตอร์ ที่นามาประกอบนั้น สามารถใช้งานได้ตามปกติ 5.2.ปัญหาเเละอุปสรรค -เพื่อนที่ร่วมกลุ่มนั่น อยู่บ้านไกลกันเกินไปทาให้การนัดรวมตัวช้า -มีเพื่อนบางคนนั้นติดธุระเลยไม่สามารถมาได้ -อุปกรณ์ที่ประกอบนั่นมีความลาบากในการขนย้ายเพื่อนามาประกอบ -สถานที่ที่จัดทาต้องไม่ส่งเสียงดังเกินความจาเป็น 5.3.ข้อเสนอแนะ -ควรมีการจัดสถานที่รวมกลุ่มกันในที่ๆสะดวกที่จะให้เพื่อนทุกคนมากันได้ -ควรมีอุปกรณ์ในการทาที่มีคุณภาพมากกว่านี้และมีการเตรียมอุปกรณ์ไว้ก่อนวันถ่ายทาจริง