SlideShare a Scribd company logo
ใบงานที่ 8 เรือง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
                        ่

โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี


       โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่ง
เป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทา
ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้ว
เสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งาร
จาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทา
ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ
เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่อง
พฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น




          จากการศึกษาประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้จัดทาได้ทราบว่า โครงงาน
คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละประเภท มีอะไรบ้าง ทาให้ผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับ
ไปสร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภทยิ่งขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้

ขันตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
  ้
          1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
          2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
          3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่างๆ และเลือกเรื่องที่จะทา
โครงงานคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวางแผนการทาโครงงานทุกขั้นตอน โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลง
ต่างๆ ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ระหว่างผู้เรียน อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง นอกจากจะต้องใช้หลักการ
ทางวิชาการแล้ว ยังจาเป็นต้องมีข้อตกลงและเงือนไขต่างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ การจัดหาลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เป็นต้น เพื่อช่วยให้
การทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่น
        4. การลงมือทาโครงงาน
        5. การเขียนรายงาน
        6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน

คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ
1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ
           คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยินคา
ว่า CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม
โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผู้ออกแบบ
สามารถเขียนเป็นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริงได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อ
ผู้ออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้น หรือ
ต้องการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ ได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบนกระดาษ
           ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการออกแบบวงจร
ต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้แล้วมา
         ้
ประกอบกันเป็นวงจรที่ต้องการ ผู้ออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยัง
มีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการให้แผ่นปรินต์มี
ขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด
           การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่องบิน หรือเครื่องจักรต่างๆ ในปัจจุบันก็ใช้
ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็นส่วน
ใหญ่ขึ้นจนเป็นเครืองจักรเครื่องยนต์ที่ต้องการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบ
                  ่
แบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ด้วย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้นมา
จาลองการวิ่ง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ใน
ระบบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่าการสร้างรถจริงๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง
           การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรือโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ
สถาปัตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างใน
แบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมอง
ต่างๆ กันได้ตามที่ผู้ออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ปรากฏต่อผู้ออกแบบ
ราวกับว่าผู้ออกแบบสามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่ออกแบบได้ด้วย
2. กราฟและแผนภาพ
           คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็นอย่างดี
โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ
โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม
นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและ
น่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทาง
เศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารหรือผู้จัดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูล
ได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้
นักวิจัยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวนมาก




          ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เป็นรูปแบบหนึ่ง
ของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ
คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรูปของ
แผนที่ทางภูมิศาสตร์
3. ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก
          การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะใช้
คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รูปแบบ
ลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก
ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายัง
สามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพ
เหล่านั้นมาแก้ไข
4. ภาพเคลือนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์
            ่
          ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรือภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษ
ต่างๆ ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้าง
ภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ
นอกจากนี้ภาพที่ได้ยังดูสมจริงมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภทนิยาย
วิทยาศาสตร์ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยให้ภาพที่อยู่ในจินตนาการของมนุษย์สามารถนา
ออกมาทาให้ปรากฏเป็นจริงได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย
และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่องบิน เป็นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอ
เกมส์ก็ใช้หลักการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิกเช่นกัน




5. อิเมจโปรเซสซิงก์
          คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูปหรือ
จากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธีการของ
คอมพิวเตอร์กราฟิก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็นตัวที่สร้างภาพ แต่
เทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิงก์นั้นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรูปแบบของสีและแสงเงาที่มีอยู่แล้วในภาพให้
เป็นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวิธีการทาให้ภาพที่รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็
จัดการกับข้อมูลดิจิตอลนี้ให้เป็นภาพส่งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการ
แสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของ
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม เป็นต้น




            เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้
โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพนั่นเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิกมาใช้กับข้อมูล
เหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไปจาก
เดิมได้โดยมีภาพบางอย่างเพิ่มเข้าไปหรือบางส่วนของภาพนั้นหายไป ทาให้เกิดภาพทีไม่น่าจะเป็นจริงแต่ดู
                                                                               ่
เหมือนกับเกิดขึ้นจริงได้ เป็นต้น
            เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กับการแพทย์ได้ เช่น เครื่องเอกซเรย์ โทโมกราฟี
(X-ray Tomography)ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบร่างกายมนุษย์ เป็นต้น
จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกนันนับวันยิ่งมีความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น
                                                        ้
ดังนั้นจึงเป็นการดีที่เราควรจะมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทคนิคเบื้องต้นต่างๆ ที่ใช้ใน
คอมพิวเตอร์กราฟิก
ทีมา
  ่
http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0
%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%
84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E
0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/
http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g21m2fri/apply.htm
http://www.mc.ac.th/learning/chaiwbi/project/p111.html

                                ผู้จดทา
                                    ั
                        น.ส.ศุภนันท์ ทิประมูล
                         น.ส.อวิกา เสาร์แก้ว

More Related Content

What's hot

ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือRevill Noes
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
dgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานRatanamon Suriya
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
Fluofern
 

What's hot (10)

ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่
ใบงานที่ ใบงานที่
ใบงานที่
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
K8
K8K8
K8
 
2
22
2
 
2
22
2
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 

Similar to ใบงานที่8

ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
3 120719083921-phpapp01
3 120719083921-phpapp013 120719083921-phpapp01
3 120719083921-phpapp01
Panit Jaijareun
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Phkphoom
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานNIng Bussara
 

Similar to ใบงานที่8 (20)

ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
8
88
8
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
2
22
2
 
2
22
2
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
3 120719083921-phpapp01
3 120719083921-phpapp013 120719083921-phpapp01
3 120719083921-phpapp01
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Dfh
DfhDfh
Dfh
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Dfh
DfhDfh
Dfh
 

More from Patpeps

ใบงาน16
ใบงาน16ใบงาน16
ใบงาน16Patpeps
 
ใบงาน16
ใบงาน16ใบงาน16
ใบงาน16Patpeps
 
ใบงานที่15
ใบงานที่15ใบงานที่15
ใบงานที่15Patpeps
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14Patpeps
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14Patpeps
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11Patpeps
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Patpeps
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9Patpeps
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9Patpeps
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Patpeps
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Patpeps
 
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือPatpeps
 
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือPatpeps
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาPatpeps
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาPatpeps
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPatpeps
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2Patpeps
 
ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555Patpeps
 
ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555Patpeps
 

More from Patpeps (20)

ใบงาน16
ใบงาน16ใบงาน16
ใบงาน16
 
ใบงาน16
ใบงาน16ใบงาน16
ใบงาน16
 
ใบงานที่15
ใบงานที่15ใบงานที่15
ใบงานที่15
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 
ใบงานที่14
ใบงานที่14ใบงานที่14
ใบงานที่14
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555ใบงานสำรวจตนเอง55555
ใบงานสำรวจตนเอง55555
 

ใบงานที่8

  • 1. ใบงานที่ 8 เรือง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์” ่ โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่ง เป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทา ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้ว เสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งาร จาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทา ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่อง พฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น จากการศึกษาประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้จัดทาได้ทราบว่า โครงงาน คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละประเภท มีอะไรบ้าง ทาให้ผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปสร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภทยิ่งขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้ ขันตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ้ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่างๆ และเลือกเรื่องที่จะทา โครงงานคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวางแผนการทาโครงงานทุกขั้นตอน โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือ ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลง ต่างๆ ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ระหว่างผู้เรียน อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง นอกจากจะต้องใช้หลักการ ทางวิชาการแล้ว ยังจาเป็นต้องมีข้อตกลงและเงือนไขต่างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ การจัดหาลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เป็นต้น เพื่อช่วยให้
  • 2. การทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่น 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ 1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยินคา ว่า CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผู้ออกแบบ สามารถเขียนเป็นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริงได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อ ผู้ออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้น หรือ ต้องการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ ได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบนกระดาษ ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการออกแบบวงจร ต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้แล้วมา ้ ประกอบกันเป็นวงจรที่ต้องการ ผู้ออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยัง มีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการให้แผ่นปรินต์มี ขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่องบิน หรือเครื่องจักรต่างๆ ในปัจจุบันก็ใช้ ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็นส่วน ใหญ่ขึ้นจนเป็นเครืองจักรเครื่องยนต์ที่ต้องการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบ ่ แบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ด้วย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้นมา จาลองการวิ่ง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ใน ระบบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่าการสร้างรถจริงๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรือโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ สถาปัตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างใน แบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมอง ต่างๆ กันได้ตามที่ผู้ออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ปรากฏต่อผู้ออกแบบ ราวกับว่าผู้ออกแบบสามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่ออกแบบได้ด้วย 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม
  • 3. นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและ น่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทาง เศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารหรือผู้จัดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูล ได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้ นักวิจัยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวนมาก ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เป็นรูปแบบหนึ่ง ของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรูปของ แผนที่ทางภูมิศาสตร์ 3. ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะใช้ คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รูปแบบ ลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายัง สามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพ เหล่านั้นมาแก้ไข 4. ภาพเคลือนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ ่ ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรือภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษ ต่างๆ ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้าง ภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ได้ยังดูสมจริงมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภทนิยาย วิทยาศาสตร์ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยให้ภาพที่อยู่ในจินตนาการของมนุษย์สามารถนา
  • 4. ออกมาทาให้ปรากฏเป็นจริงได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่องบิน เป็นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอ เกมส์ก็ใช้หลักการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิกเช่นกัน 5. อิเมจโปรเซสซิงก์ คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูปหรือ จากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธีการของ คอมพิวเตอร์กราฟิก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็นตัวที่สร้างภาพ แต่ เทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิงก์นั้นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรูปแบบของสีและแสงเงาที่มีอยู่แล้วในภาพให้ เป็นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวิธีการทาให้ภาพที่รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็ จัดการกับข้อมูลดิจิตอลนี้ให้เป็นภาพส่งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการ แสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม เป็นต้น เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้ โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพนั่นเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิกมาใช้กับข้อมูล เหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไปจาก เดิมได้โดยมีภาพบางอย่างเพิ่มเข้าไปหรือบางส่วนของภาพนั้นหายไป ทาให้เกิดภาพทีไม่น่าจะเป็นจริงแต่ดู ่ เหมือนกับเกิดขึ้นจริงได้ เป็นต้น เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กับการแพทย์ได้ เช่น เครื่องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography)ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบร่างกายมนุษย์ เป็นต้น จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกนันนับวันยิ่งมีความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ้ ดังนั้นจึงเป็นการดีที่เราควรจะมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทคนิคเบื้องต้นต่างๆ ที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์กราฟิก