SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
๑๔๔
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
4
พระสูตรที่เกี่ยวกับหลักการบริหาร
เมื่อจะศึกษาเปรียบเทียบรัฐศาสตรหรือการบริหารกับพระสูตร มีความหมายที่
ไมตรงประเด็นเลยทีเดียวเพราะการบริหารและการจัดองคกรนั้นจะมองดูรูปแบบใน
พระพุทธศาสนาที่กวางกวาความหมายในหลักวิชาการทางตะวันตกเปนอยางมาก
หากแตการศึกษาเปรียบเทียบเพื่อใหเกิดการบูรณาการดวยกรอบความคิดที่กวางกวา
ก็จะเปนประโยชนอยูมิใชนอย
มหาสีหนาทสูตร5
๖ : สูตรวาดวยการบริหารจัดองคกร
สมัยหนึ่งพระพุทธเจาทรงประทับ ณ ราวปาดานทิศตะวันตกภายนอกพระ
นคร เขตกรุงเวสาลี สมัยนั้นโอรสของเจาลิจฉวี พระนามวาสุนักขัตตะ ลาสิกขา
จากพระธรรมวินัยไดไมนาน ไดกลาวทามกลางที่ชุมชน ณ กรุงเวสาลี โดยตําหนิ
พระพุทธเจาวา ไมมีญาณทัศนะที่ประเสริฐสามารถวิเศษยิ่งกวาธรรมของมนุษย
สมณโคดมแสดงธรรมที่ประมวลมาดวยความตรึกที่ไตรตรองดวยการคิดคนแจมแจง
ไดเอง ธรรมที่สมณะโคดมแสดงธรรมเพื่อประโยชนแกบุคคล ยอมนําไปเพื่อความ
สิ้นทุกข โดยชอบสําหรับบุคคลผูปฏิบัติตามธรรมนั้น
พ ระส ารีบุต รเถ ระเขาไป บิณ ฑ บ าต ไดส ดับ คําเชน นั้น จึงก ราบ ทูล
พระพุทธเจา ๆ จึงตรัสวา สารีบุตร โอรสเจาลิจฉวีพระนามวาสุนักขัตตะ เปนโมฆ
๕
ที. สี. (ไทย) ๙ / ๓๔๙ / ๑๔๖.
๖
ที. สี. (ไทย) ๙ /๓๒๓–๓๕๘/ ๑๒๕–๑๕๐.
๑๔๕
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บุรุษ มักโกรธ คิดวาจักกลาวติเตียน แตกลับกลาวสรรเสริญคุณของตถาคตอยูนั้น
แล
ลําดับนั้น พระพุทธเจาจึงตรัสถึงคุณและองคธรรมที่เจาลิจฉวีพระนามวา สุ
นักขัตตะ จะไมมีโอกาสไดทราบ เชน ทรงเปนพระอรหันต, ทรงสามารถแสดง
อิทธิฤทธิ์ได, ทรงสดับเสียงทิพยได, ทรงรูใจสัตวได
หลังจากนั้นพระพุทธเจาจึงตรัสกําลังแหงพระตถาคต ๑๐ ประการ, เวสารัชช
ญาณ (ญาณเปนเหตุใหแกลวกลา) ๔ ประการ, บริษัท ๘, กําเนิด ๔, คติ ๕, ทรง
รูเห็นการไปทุคติและสุคติของบุคคล, พรหมจรรยมีองค ๔, การบําเพ็ญตบะ, การ
ประพฤติถือสิ่งเศราหมอง, การประพฤติรังเกียจ, ความประพฤติเปนผูสงัด, ลัทธิที่วา
ความบริสุทธิ์มีไดเพราะอาหาร, ลัทธิที่วาความบริสุทธิ์มีไดเพราะสังสารวัฏ, สัตวผูไม
หลง เปนตน
กําลังของพระตถาคตเจา
กําลังของพระตถาคตเจา ภาวะผูนํา
๑. ตถาคตรูชัดฐานะโดยเปนฐานะและ
อฐานะโดยเปนอฐานะในโลกนี้ตามความ
เปนจริง
๑. ตองมีฐานเสียงสนับสนุนวาจะเปน
ผูนําตองรูวาทีมงานฐานเสียงมากนอยแค
ไหน
๒. ตถาคตรูชัดวิบากแหงการยึดถือกรรม
ที่เปนทั้งอดีต อนาคต และปจจุบัน
๒. ตองรูผลของนโยบายดี: วิบาก คือ
ผลแหงการปฏิบัติ เชน วางนโยบาย
ออกมา วิบากกรรม คือผลกรรม
๓. ตถาคตรูชัดปฏิปทาที่ใหถึงภูมิทั้งปวง ๓. ตองมีวิสัยทัศน คือทิศทางที่จะไปและ
งดเวนภูมิคือภพภูมิ
๔. ตถาคตรูชัดโลกที่มีธาตุหลายชนิดที่
แตกตางกัน
๔. ตองรูถึงความแตกตางระหวางฝาย
ตาง ๆ ทางดานเชื้อชาติ ศาสนา และ
วัฒนธรรม
๕. ตถาคตรูชัดวาหมูสัตวเปนผูมีอัธยาศัย
ตางกัน
๕.ตองรูความตองการแตละกลุม หรือ
ชุมชน หรือกลุมผลประโยชน
๖.ตถาคตรูชัดวาสัตวเหลาอื่นและบุคคล
อื่นมีอินทรียแกกลาและออน
๖.ตองวิเคราะหเปนวาแตละกลุมมีจุด
ดอยเดนอยางไรบาง
๗.ตถาคตรูชัดความเศราหมองความผอง
แผวแหงฌ าน วิโมกข สมาธิ และ
ส ม บัติ ก า ร อ อ ก จ า ก ฌ า น วิโม ก ข
สมาธิ สมาบัติ
๗ .ตองรูคะแนน นิยมวาคงอยู ลดลง
อยางไร เทาไหร
๘.ตถาคตระลึกถึงชาติกอนไดหลายชาติ
ตั้งแต ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖,...๑๐๐,๐๐๐
ตลอดสังวัฏฏกัป
๘.ตองสํารวจความคิดเห็นโดยการทํา
โพลลหรือประชามติ
๑๔๖
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๙.ตถาคตเห็นหมูสัตวผูกําลังจุติกําลังเกิด
ทั้งชั้นต่ําและชั้นสูง รูปงามและไมงาม
เกิดดีและไมดีดวยตาทิพย
๙ . ต อ ง เ ป น น ัก ส ัง เ ก ต เ มื ่อ เ ห ็น
นักการเมืองรุนนองแสดงความคิดเห็น
หรือแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ยอมอาศัย
ประสบการณมาทํานาย หรือบอกสอนได
๑๐.ตถาคตทําใหแจงเจโตวิมุตติ ปญญา
วิมุตติ อันไมมีอาสวะ
๑๐.ตองหมั่นศึกษาหาความรูจนสรางตน
ใหเปนองคแหงความรู
เวสารัชชญาณ ญาณเปนเหตุใหแกลวกลา ๔ ประการที่พระพุทธองคทรงมี
แลวทําใหมีฐานะองอาจ บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักรในบริษัท คือ
๑. สัมมาสัมพุทธะ คือรูชอบเอง
๒. เปนพระขีณาสพ คือปฏิบัติแลวบรรลุตามไดแลว
๓. ไมเปนอันตรายิกรรม คือบริสุทธิ์และตรวจสอบได
๔. ธรรมที่แสดงมีประโยชน คือมีเปาหมายชัดเจน
ในมหาสีหนาทสูตรนี้ หากจะเทียบเคียงแนวคิดเรื่องของการจัดองคกรแลว
จะเห็นถึงความคลายคลึงกันอยูไมนอย คําวา “องคกร” หรือ “องคการ” คือ
กลุมสังคมที่มีคนตั้งแตสองคนขึ้นไปมารวมกระทํากิจกรรม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน โดยจะตองมีการจัดรูปแบบหรือโครงสราง
ความสัมพันธของในการกระทํากิจกรรมรวมกันอยางนอยรูปแบบของความสัมพันธ
จะตองปรากฏขึ้นชั่วระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งนานพอที่จะสังเกตเห็นได6
๗
คําวา “บริษัท” คือ กลุม, หมู, คณะ หรือการรวมกันของหมูชน ดังพระ
ดํารัสวาสารีบุตร กําลังของตถาคต ๑๐ ประการนี้ ที่ตถาคตมีแลว เปนเหตุให
ปฏิญญาฐานะที่องอาจบันลือสีหนาท ประกาศพรหมจักรในบริษัท และคําวาบริษัท
ในพระสูตรนี้ก็ไมเปนอะไรไปมากกวากลุมชนที่มีกรรม - พฤติกรรม - วิบากกรรมที่
แตกตางกันไป ซึ่งไมใชองคการในลักษณะของระบบที่ถือวา องคการเปนระบบ
สังคมที่ประกอบไปดวยระบบยอยๆ หรือสวนประกอบตาง เชน มีวัตถุประสงค,
กิจกรรมหรืองานที่ตองทําในองคกร, โครงสราง, คนที่ทํางาน, ทรัพยากร, เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอม เชน อิทธิพลทางการเมือง7
๘ เปนตน แตก็พอจะสงเคราะหไดกับ
หลักการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพที่ประกอบไปดวยคําวา POSDCoRB ดังนี้
P = Planning หมายถึง การวางแผน
O = Organizing หมายถึง การจัดองคการ
S = Staffing หมายถึง คณะผูรวมงาน
D = Directing หมายถึง การสั่งการ
CO = Coordinating หมายถึง การประสานงาน
๗
ที.สี. (ไทย) ๙/๓๒๓–๓๕๘/๑๒๕.
๘
ชัยอนันต สมุทวณิช. (๒๕๓๕). รัฐ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
๑๔๗
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
R = Reporting หมายถึง การทํารายงาน
B = Budgeting หมายถึง การทํางบประมาณ
การจัดการองคกรแนวพุทธ
P = Planning หมายถึง การวางแผน คือเมื่อลงมือทําอะไรตองรูผลของ
กรรมหรือนโยบายนั้นดวย เชน เมื่อกรรมดี วิบากกรรม หรือผลแหงการปฏิบัติก็จะ
ดีไปดวยตถาคตรูชัดวิบากแหงการยึดถือกรรมที่เปนทั้งอดีต อนาคตและปจจุบันโดย
ฐานะ โดยเหตุตามความเปนจริงหรือทรงตรัสวา ตถาคต รูชัดปฏิปทาที่ใหถึงภูมิทั้ง
ปวงตามความเปนจริง นั้นแสดงถึงวิสัยทัศนของนักบริหารที่มองปญหาอุปสรรคและ
วิธีการแกไขเพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายขององคการไดดวยเหตุนี้เองพระพุทธเจาจึงได
ทรงใครครวญวางแผนกอนที่จะตรัสพระสูตรนี้
O = Organizing หมายถึง การจัดองคการ ในพระพุทธศาสนามีพุทธบริษัท
๔ อันประกอบไปดวยภิกษุบริษัท ภิกษุณีบริษัท อุบาสกบริษัท และอุบาสิกาบริษัท
การที่พระองคเสด็จไปโปรดไวไนยสัตวตางๆ ก็ไดบริษัทมากขึ้น จึงไดจัดองคการที่
เรียกวา “พุทธศาสนา” ขึ้นมา แมแตองคการสงฆที่เปนองคกรยอยที่พระพุทธองค
ทรงใชบริหารเพื่อเปน แบบจําลอง ก็ทรงบริหารจัดการที่ดีเลิศ
S = Staffing หมายถึง คณะผูรวมงาน รวมไปถึงการจัดวางสายงานดวย
ซึ่งในพุทธประวัติพระองคไดสงพระภิกษุออกไปประกาศพระศาสนาไมใหไปพรอมกัน
๒ รูปในทางเดียว และพระองคทรงเขาใจถึงความแตกตางระหวางบุคคลดวย วาจะ
put the right man in the right job อยางไร เชนใครถนัดงานดานไหน ก็
ทรงยกยองเชิดชูเปนเอตทัคคะในดานนั้นๆ เชน พระสารีบุตรเถระ เปนผูเลิศ
ทางดานปญญา, พระมหาโมคคัลลานเถระ เปนผูเลิศทางดานมีฤทธิ์ เปนตน
D = Directing หมายถึง การสั่งการพระพุทธเจาทรงทราบถึงความพรอม
และไมพรอมของบุคคลวาใครควรจะตรัสสอนเรื่องอะไรกอนหลัง เชน สามเณร
เสฏฐะและภารทวาชะ เถียงกันในเรื่องตางๆ พระองคจะวินิจฉัยสั่งการ หรือแมแต
พระจุลทะที่พี่ชายใหทองคาถาไมได คิดที่จะสึก พระพุทธองคก็ทรงใหนั่งบริกรรมลูบ
ผาขาว หรืออยางพระจักขุบาลที่เหยียบสัตวตายเพราะตาบอด เปนตน จึงทรงตรัส
วา “ตถาคตรูชัดวาสัตวเหลาอื่น และบุคคลเหลาอื่นมีอินทรียแกกลา และอินทรีออน
ตามความเปนจริง”
Co = Coordinating หมายถึง การประสานงาน หรือการสรางความ
สามัคคี เชนพระองคทรงประสานความรวมมือระหวางคณะพระวินัยธร กับพระ
ธรรมธรที่พิพาทกันเรื่องวินัยเล็กๆ นอยๆ หรือ การพิพาทเรื่องการแบงน้ําจากแมนํา
โรหินีระหวางพระประยูรญาติทั้งสองฝาย เปนตน
R = Reporting หมายถึงการทํารายงาน เมื่อเกิดเหตุในสังคมและองคกร
พระองคจะทรงเรียกประชุมเพื่อแจงรายงานแกคณะสงฆ เชน กรณีวัสสการ
พราหมณทูลถามเรื่องความมั่นคง พระองคก็ทรงตรัสเรียกประชุมสงฆในเขตเมืองมา
ตรัสอปริหานิยธรรมโดยทรงเนนเรื่องความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือพระอานนท
๑๔๘
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ขอพร ๘ ประการมีขอหนึ่งถาพระอานนทไมไดตามเสด็จไป พระองคก็ทรงกลับมา
ตรัสธรรมเรื่องนั้นๆ ใหกับพระอานนท หรือภิกษุละเมิดศีล ก็สืบสวน ลงโทษปรับ
อาบัติแลวแจงใหสงฆทราบ เปนตน
B = Budgeting หมายถึงการทํางบประมาณ งบประมาณ หรือวาตนทุน
พระพุทธเจาไมไดใชงบประมาณในรูปของเงินงบประมาณ แตพระองคมีตนทุนทาง
สังคมสูงมากคือเรื่องของศีล - สมาธิ - ปญญา อันเปนอริยทรัพย ก็สามารถบริหาร
จัดการได แตถาจะเทียบเคียงแหลงทุนของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้นก็มีมากมาย
เชน กษัตริยผูนําอยางพระเจาพิมพิสาร, พระเจาประเสนทิโกศล, พระเจาอชาตศัตรู
ฯลฯ พราหมณมหาศาล อยางอนาถบิณฑกเศรษฐี, นางวิสาขา เปนตน
การจัดองคกรทางสังคม (Communalism)
ในพระสูตรนี้ เราจะเห็นพระพุทธองคจัดระบบองคกร หรือกลุมผลประโยชน
ไวในหลากหลายรูปแบบ จัดโดยอาศัยอาชีพบาง กําเนิดบาง หรือคติที่ไปบาง ก็
ไดเพื่อใหสามารถปรับใช ยืดหยุนตอระบบกลุมองคกรนั้น ๆ เชน
ก. การจัดระบบองคการโดยอาศัยกลุมชน หรืออาชีพ ๘ ประการ คือ
กลุมขัติยบริษัท พวกผูปกครอง นักการเมือง
กลุมพราหมณบริษัท พวกครูอาจารย มีอาชีพทางการศึกษา
กลุมคหบดีบริษัท พวกพอคาทํางานทางดานเศรษฐกิจ
กลุมสมณะบริษัท พวกนักบวช
กลุมจาตุมหาราชบริษัท พวกเทพ
กลุมดาวดึงสบริษัท พวกเทพที่มีพระอินทรเปนผูนํา
กลุมมารบริษัท กลุมผูเปนมิจฉาทิฏฐิ
กลุมพรหมบริษัท กลุมของพระพรหม
ข. การจัดระบบองคการโดยอาศัยกําเนิดหรือที่มา
๑. กําเนิดอัณฑชะ เกิดในไข
๒. กําเนิดชลาพุชะ เกิดในครรภ
๓. กําเนิดสังเสทชะ เกิดในเถาไคลหรือที่ชื้นแฉะ
๔. กําเนิดโอปปาติกะ เกิดผุดขึ้น
ค. การจัดระบบองคการโดยอาศัยคติ หรือทางไป (เปาหมาย)
๑. นรก ทุคติ ภพภูมิที่ไมเจริญ
๒. ดิรัจฉาน ทุคติ ภพภูมิที่ไปทางขวาง
๓. เปรตวิสัย ทุคติ ภพภูมิผูละไปแลว
๔. มนุษย สุคติ ภพภูมิผูมีจิตใจสูง
๕. เทวดา สุคติ ภพภูมิแหงเทพ
นอกจากนั้นแลวยังมีแผนพัฒนาสังคมโดยถือเอาพฤติกรรมที่มนุษยแสดง
ออกมาเปนตัวชี้วัดวาทําอยางนี้จะมีวิถีชีวิตไปสูสิ่งนี้เหมือนกับกําหนดวิสัยทัศนเอาไว
๑๔๙
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เชน “เรากําหนดรูใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ดวยใจอยางนี้วา “บุคคลผูปฏิบัติ
อยางนั้น เปนไปอยางนั้นและดําเนินทางนั้นแลว หลังจากตายแลวจักไปเกิดใน
อบาย ทุคติ วินิบาต นรก” ตอมาเราเห็นเขาหลังจากตายแลวไปเกิดในอบายทุคติ
วินิบาต นรก เสวยทุกขเวทนาโดยสวนเดียวอันแรงกลา เผ็ดรอนดวยตาทิพยอัน
บริสุทธิ์เหนือมนุษย” นอกจากนั้นยังมีการเปรียบเทียบลงลึกใหเห็นภาพในหนทางไป
ของสัตวตางๆ วาถากลุมชน หรือองคกรใดมีแนวคิดอยางนี้จะไดรับผล และเปาหมาย
อยางนี้ เปนตนวา “หลุมถานเพลิงลึกมากกวาชวงตัวบุรุษเต็มไปดวยถานเพลิงที่
ปราศจากเปลวและควัน ลําดับนั้นบุรุษผูมีรางกายถูกความรอนแผดเผา ครอบงํา
เหน็ดเหนื่อยสะทกสะทาน หิวกระหาย เดินมุงมายังหลุมถานเพลิงนั้นโดยหนทาง
สายเดียวบุรุษผูมีตาดีเห็นเขาแลวจะพึงกลาวอยางนี้วา บุรุษผูเจริญนี้ปฏิบัติอยางนี้
เปนไปอยางนั้น และดําเนินทางนั้นจักมาถึงหลุมถานเพลิงนี้นั่นแล”
ตอม าบุรุษ ผูมีต าดีนั้น จ ะพึงเห็น เขาผูต กล งใน ห ลุมถาน เพ ลิงนั้น เส วย
ทุกขเวทนาโดยสวนเดียวอันแรงกลา เผ็ดรอน แมฉันใด เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน
กําหนดรูใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ดวยใจอยางนี้วา “บุคคลนี้ปฏิบัติอยางนั้น
เปนไปอยางนั้นและดําเนินทางนั้นแลวหลังจากตายแลวจักไปเกิดในอบาย ทุคติ
วินิบาต นรก ตอมาเราเห็นเขาหลังจากตายแลวไปเกิดในอบาย ทุคติ วินิตบาต
นรก เสวยทุกขเวทนา โดยสวนเดียวอันแรงกลา เผ็ดรอน ดวยตาทิพยอันบริสุทธิ์
เหนือมนุษย”
และยังไดเปรียบเปรย หรือชี้ใหเห็นถึงแนวทางปฏิบัติเหมือนมีแผนที่ไวในมือ
หรือสูตรสําเร็จอื่นๆ อีก เชน บุคคลปฏิบัติยางนี้ตองดําเนินไปสูดิรัจฉาน เปรตวิสัย,
มนุษยภูมิ, โลกสวรรคเปนลําดับ
แนวนโยบายที่ทรงใชการสรางศรัทธา
นอกจากนั้น พระพุทธองคยังชี้ใหเห็นวาทฤษฎีตางๆ ก็ดีแนวทางตางๆ ก็ดี
มิใชวาพระองคจะปฏิเสธหรือมีอคติวาผิดแตที่พระองคทรงรู,ทราบและเขาใจเพราะ
พระองคทรงทดสอบทดลองมาดวยตัวของพระองคเอง เชน พระพุทธองคเคยเปน
อเจลก คือประพฤติเปลือยกายทําตัวเปนผูไมมีมารยาท เลียมือ เขาเชิญใหไปรับ
อาหารก็ไมไปเขาเชิญใหหยุดรับอาหารก็ไมหยุด ฯลฯ ไมกินปลา ไมกินเนื้อ ไมดื่ม
สุราเมรัย รับอาหารในเรือนหลังเดียว ยังชีพดวยขาวคําเดียว รับอาหารบนเรือน
๒ หลัง ยังชีพดวยขาง ๒ คํา ฯลฯ รับอาหารในเรือน ๗ หลัง ยังชีพดวยขาว
๗ คํา เปนตน ก็ไมสามารถบรรลุธรรมดวยการบําเพ็ญตบะหรือจะทรงทําการทดลอง
ทฤษฎี ประพฤติถือสิ่งเศราหมอง, การทดลองทฤษฎี ประพฤติรังเกียจ, การทดลอง
ทฤษฎีประพฤติเปนผูสงัด, การทดลองทฤษฎีความบริสุทธิ์ไดดวยอาหาร, การทดลอง
ทฤษฎีความบริสุทธิ์มีไดดวยสังสารวัฏ เปนตนพระองคก็ไมทรงคนพบเปาหมายของ
ชีวิต จึงทรงเลิกการทดลองในทฤษฎีเหลานั้นเสียแลวพระองคทรงใชนโยบายใหม
คืออริยมรรคคือ องค ๘ นั้นเอง
๑๕๐
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
พระสูตรนี้ เมื่อศึกษาแลว ทําใหเห็นแนวคิดการจัดองคกรแนวพุทธไดอยาง
ชัดเจน เชน จัดองคกรโดยยึดอาชีพ, กําเนิด, คติ เปนหลักก็เพื่อทรงสอนใหคน
อินเดียในยุคพุทธกาลไดรูวา วรรณะ ๔ ของพราหมณนั้นเมื่อเทียบรายละเอียด
แลว พระพุทธองคทรงวิเคราะหเจาะลึกมากกวา
แมองคกรทางโลกจะใช POSDCoRB ในการบริหารจัดการ แตแนวคิดของ
พระพุทธเจาก็เหมาะสมกับสถานการณและเหตุการณในยุคสมัยนั้นๆ ที่เห็นไดชัดเจน
ก็คือ การแสดงภาวะผูนําของพระพุทธเจา และการแกปญหาสังคมดานตางๆ ดวย
พุทธวิธี

7.1

  • 1. ๑๔๔ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4 พระสูตรที่เกี่ยวกับหลักการบริหาร เมื่อจะศึกษาเปรียบเทียบรัฐศาสตรหรือการบริหารกับพระสูตร มีความหมายที่ ไมตรงประเด็นเลยทีเดียวเพราะการบริหารและการจัดองคกรนั้นจะมองดูรูปแบบใน พระพุทธศาสนาที่กวางกวาความหมายในหลักวิชาการทางตะวันตกเปนอยางมาก หากแตการศึกษาเปรียบเทียบเพื่อใหเกิดการบูรณาการดวยกรอบความคิดที่กวางกวา ก็จะเปนประโยชนอยูมิใชนอย มหาสีหนาทสูตร5 ๖ : สูตรวาดวยการบริหารจัดองคกร สมัยหนึ่งพระพุทธเจาทรงประทับ ณ ราวปาดานทิศตะวันตกภายนอกพระ นคร เขตกรุงเวสาลี สมัยนั้นโอรสของเจาลิจฉวี พระนามวาสุนักขัตตะ ลาสิกขา จากพระธรรมวินัยไดไมนาน ไดกลาวทามกลางที่ชุมชน ณ กรุงเวสาลี โดยตําหนิ พระพุทธเจาวา ไมมีญาณทัศนะที่ประเสริฐสามารถวิเศษยิ่งกวาธรรมของมนุษย สมณโคดมแสดงธรรมที่ประมวลมาดวยความตรึกที่ไตรตรองดวยการคิดคนแจมแจง ไดเอง ธรรมที่สมณะโคดมแสดงธรรมเพื่อประโยชนแกบุคคล ยอมนําไปเพื่อความ สิ้นทุกข โดยชอบสําหรับบุคคลผูปฏิบัติตามธรรมนั้น พ ระส ารีบุต รเถ ระเขาไป บิณ ฑ บ าต ไดส ดับ คําเชน นั้น จึงก ราบ ทูล พระพุทธเจา ๆ จึงตรัสวา สารีบุตร โอรสเจาลิจฉวีพระนามวาสุนักขัตตะ เปนโมฆ ๕ ที. สี. (ไทย) ๙ / ๓๔๙ / ๑๔๖. ๖ ที. สี. (ไทย) ๙ /๓๒๓–๓๕๘/ ๑๒๕–๑๕๐.
  • 2. ๑๔๕ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา บุรุษ มักโกรธ คิดวาจักกลาวติเตียน แตกลับกลาวสรรเสริญคุณของตถาคตอยูนั้น แล ลําดับนั้น พระพุทธเจาจึงตรัสถึงคุณและองคธรรมที่เจาลิจฉวีพระนามวา สุ นักขัตตะ จะไมมีโอกาสไดทราบ เชน ทรงเปนพระอรหันต, ทรงสามารถแสดง อิทธิฤทธิ์ได, ทรงสดับเสียงทิพยได, ทรงรูใจสัตวได หลังจากนั้นพระพุทธเจาจึงตรัสกําลังแหงพระตถาคต ๑๐ ประการ, เวสารัชช ญาณ (ญาณเปนเหตุใหแกลวกลา) ๔ ประการ, บริษัท ๘, กําเนิด ๔, คติ ๕, ทรง รูเห็นการไปทุคติและสุคติของบุคคล, พรหมจรรยมีองค ๔, การบําเพ็ญตบะ, การ ประพฤติถือสิ่งเศราหมอง, การประพฤติรังเกียจ, ความประพฤติเปนผูสงัด, ลัทธิที่วา ความบริสุทธิ์มีไดเพราะอาหาร, ลัทธิที่วาความบริสุทธิ์มีไดเพราะสังสารวัฏ, สัตวผูไม หลง เปนตน กําลังของพระตถาคตเจา กําลังของพระตถาคตเจา ภาวะผูนํา ๑. ตถาคตรูชัดฐานะโดยเปนฐานะและ อฐานะโดยเปนอฐานะในโลกนี้ตามความ เปนจริง ๑. ตองมีฐานเสียงสนับสนุนวาจะเปน ผูนําตองรูวาทีมงานฐานเสียงมากนอยแค ไหน ๒. ตถาคตรูชัดวิบากแหงการยึดถือกรรม ที่เปนทั้งอดีต อนาคต และปจจุบัน ๒. ตองรูผลของนโยบายดี: วิบาก คือ ผลแหงการปฏิบัติ เชน วางนโยบาย ออกมา วิบากกรรม คือผลกรรม ๓. ตถาคตรูชัดปฏิปทาที่ใหถึงภูมิทั้งปวง ๓. ตองมีวิสัยทัศน คือทิศทางที่จะไปและ งดเวนภูมิคือภพภูมิ ๔. ตถาคตรูชัดโลกที่มีธาตุหลายชนิดที่ แตกตางกัน ๔. ตองรูถึงความแตกตางระหวางฝาย ตาง ๆ ทางดานเชื้อชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรม ๕. ตถาคตรูชัดวาหมูสัตวเปนผูมีอัธยาศัย ตางกัน ๕.ตองรูความตองการแตละกลุม หรือ ชุมชน หรือกลุมผลประโยชน ๖.ตถาคตรูชัดวาสัตวเหลาอื่นและบุคคล อื่นมีอินทรียแกกลาและออน ๖.ตองวิเคราะหเปนวาแตละกลุมมีจุด ดอยเดนอยางไรบาง ๗.ตถาคตรูชัดความเศราหมองความผอง แผวแหงฌ าน วิโมกข สมาธิ และ ส ม บัติ ก า ร อ อ ก จ า ก ฌ า น วิโม ก ข สมาธิ สมาบัติ ๗ .ตองรูคะแนน นิยมวาคงอยู ลดลง อยางไร เทาไหร ๘.ตถาคตระลึกถึงชาติกอนไดหลายชาติ ตั้งแต ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖,...๑๐๐,๐๐๐ ตลอดสังวัฏฏกัป ๘.ตองสํารวจความคิดเห็นโดยการทํา โพลลหรือประชามติ
  • 3. ๑๔๖ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๙.ตถาคตเห็นหมูสัตวผูกําลังจุติกําลังเกิด ทั้งชั้นต่ําและชั้นสูง รูปงามและไมงาม เกิดดีและไมดีดวยตาทิพย ๙ . ต อ ง เ ป น น ัก ส ัง เ ก ต เ มื ่อ เ ห ็น นักการเมืองรุนนองแสดงความคิดเห็น หรือแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ยอมอาศัย ประสบการณมาทํานาย หรือบอกสอนได ๑๐.ตถาคตทําใหแจงเจโตวิมุตติ ปญญา วิมุตติ อันไมมีอาสวะ ๑๐.ตองหมั่นศึกษาหาความรูจนสรางตน ใหเปนองคแหงความรู เวสารัชชญาณ ญาณเปนเหตุใหแกลวกลา ๔ ประการที่พระพุทธองคทรงมี แลวทําใหมีฐานะองอาจ บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักรในบริษัท คือ ๑. สัมมาสัมพุทธะ คือรูชอบเอง ๒. เปนพระขีณาสพ คือปฏิบัติแลวบรรลุตามไดแลว ๓. ไมเปนอันตรายิกรรม คือบริสุทธิ์และตรวจสอบได ๔. ธรรมที่แสดงมีประโยชน คือมีเปาหมายชัดเจน ในมหาสีหนาทสูตรนี้ หากจะเทียบเคียงแนวคิดเรื่องของการจัดองคกรแลว จะเห็นถึงความคลายคลึงกันอยูไมนอย คําวา “องคกร” หรือ “องคการ” คือ กลุมสังคมที่มีคนตั้งแตสองคนขึ้นไปมารวมกระทํากิจกรรม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน โดยจะตองมีการจัดรูปแบบหรือโครงสราง ความสัมพันธของในการกระทํากิจกรรมรวมกันอยางนอยรูปแบบของความสัมพันธ จะตองปรากฏขึ้นชั่วระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งนานพอที่จะสังเกตเห็นได6 ๗ คําวา “บริษัท” คือ กลุม, หมู, คณะ หรือการรวมกันของหมูชน ดังพระ ดํารัสวาสารีบุตร กําลังของตถาคต ๑๐ ประการนี้ ที่ตถาคตมีแลว เปนเหตุให ปฏิญญาฐานะที่องอาจบันลือสีหนาท ประกาศพรหมจักรในบริษัท และคําวาบริษัท ในพระสูตรนี้ก็ไมเปนอะไรไปมากกวากลุมชนที่มีกรรม - พฤติกรรม - วิบากกรรมที่ แตกตางกันไป ซึ่งไมใชองคการในลักษณะของระบบที่ถือวา องคการเปนระบบ สังคมที่ประกอบไปดวยระบบยอยๆ หรือสวนประกอบตาง เชน มีวัตถุประสงค, กิจกรรมหรืองานที่ตองทําในองคกร, โครงสราง, คนที่ทํางาน, ทรัพยากร, เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม เชน อิทธิพลทางการเมือง7 ๘ เปนตน แตก็พอจะสงเคราะหไดกับ หลักการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพที่ประกอบไปดวยคําวา POSDCoRB ดังนี้ P = Planning หมายถึง การวางแผน O = Organizing หมายถึง การจัดองคการ S = Staffing หมายถึง คณะผูรวมงาน D = Directing หมายถึง การสั่งการ CO = Coordinating หมายถึง การประสานงาน ๗ ที.สี. (ไทย) ๙/๓๒๓–๓๕๘/๑๒๕. ๘ ชัยอนันต สมุทวณิช. (๒๕๓๕). รัฐ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
  • 4. ๑๔๗ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา R = Reporting หมายถึง การทํารายงาน B = Budgeting หมายถึง การทํางบประมาณ การจัดการองคกรแนวพุทธ P = Planning หมายถึง การวางแผน คือเมื่อลงมือทําอะไรตองรูผลของ กรรมหรือนโยบายนั้นดวย เชน เมื่อกรรมดี วิบากกรรม หรือผลแหงการปฏิบัติก็จะ ดีไปดวยตถาคตรูชัดวิบากแหงการยึดถือกรรมที่เปนทั้งอดีต อนาคตและปจจุบันโดย ฐานะ โดยเหตุตามความเปนจริงหรือทรงตรัสวา ตถาคต รูชัดปฏิปทาที่ใหถึงภูมิทั้ง ปวงตามความเปนจริง นั้นแสดงถึงวิสัยทัศนของนักบริหารที่มองปญหาอุปสรรคและ วิธีการแกไขเพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายขององคการไดดวยเหตุนี้เองพระพุทธเจาจึงได ทรงใครครวญวางแผนกอนที่จะตรัสพระสูตรนี้ O = Organizing หมายถึง การจัดองคการ ในพระพุทธศาสนามีพุทธบริษัท ๔ อันประกอบไปดวยภิกษุบริษัท ภิกษุณีบริษัท อุบาสกบริษัท และอุบาสิกาบริษัท การที่พระองคเสด็จไปโปรดไวไนยสัตวตางๆ ก็ไดบริษัทมากขึ้น จึงไดจัดองคการที่ เรียกวา “พุทธศาสนา” ขึ้นมา แมแตองคการสงฆที่เปนองคกรยอยที่พระพุทธองค ทรงใชบริหารเพื่อเปน แบบจําลอง ก็ทรงบริหารจัดการที่ดีเลิศ S = Staffing หมายถึง คณะผูรวมงาน รวมไปถึงการจัดวางสายงานดวย ซึ่งในพุทธประวัติพระองคไดสงพระภิกษุออกไปประกาศพระศาสนาไมใหไปพรอมกัน ๒ รูปในทางเดียว และพระองคทรงเขาใจถึงความแตกตางระหวางบุคคลดวย วาจะ put the right man in the right job อยางไร เชนใครถนัดงานดานไหน ก็ ทรงยกยองเชิดชูเปนเอตทัคคะในดานนั้นๆ เชน พระสารีบุตรเถระ เปนผูเลิศ ทางดานปญญา, พระมหาโมคคัลลานเถระ เปนผูเลิศทางดานมีฤทธิ์ เปนตน D = Directing หมายถึง การสั่งการพระพุทธเจาทรงทราบถึงความพรอม และไมพรอมของบุคคลวาใครควรจะตรัสสอนเรื่องอะไรกอนหลัง เชน สามเณร เสฏฐะและภารทวาชะ เถียงกันในเรื่องตางๆ พระองคจะวินิจฉัยสั่งการ หรือแมแต พระจุลทะที่พี่ชายใหทองคาถาไมได คิดที่จะสึก พระพุทธองคก็ทรงใหนั่งบริกรรมลูบ ผาขาว หรืออยางพระจักขุบาลที่เหยียบสัตวตายเพราะตาบอด เปนตน จึงทรงตรัส วา “ตถาคตรูชัดวาสัตวเหลาอื่น และบุคคลเหลาอื่นมีอินทรียแกกลา และอินทรีออน ตามความเปนจริง” Co = Coordinating หมายถึง การประสานงาน หรือการสรางความ สามัคคี เชนพระองคทรงประสานความรวมมือระหวางคณะพระวินัยธร กับพระ ธรรมธรที่พิพาทกันเรื่องวินัยเล็กๆ นอยๆ หรือ การพิพาทเรื่องการแบงน้ําจากแมนํา โรหินีระหวางพระประยูรญาติทั้งสองฝาย เปนตน R = Reporting หมายถึงการทํารายงาน เมื่อเกิดเหตุในสังคมและองคกร พระองคจะทรงเรียกประชุมเพื่อแจงรายงานแกคณะสงฆ เชน กรณีวัสสการ พราหมณทูลถามเรื่องความมั่นคง พระองคก็ทรงตรัสเรียกประชุมสงฆในเขตเมืองมา ตรัสอปริหานิยธรรมโดยทรงเนนเรื่องความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือพระอานนท
  • 5. ๑๔๘ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ขอพร ๘ ประการมีขอหนึ่งถาพระอานนทไมไดตามเสด็จไป พระองคก็ทรงกลับมา ตรัสธรรมเรื่องนั้นๆ ใหกับพระอานนท หรือภิกษุละเมิดศีล ก็สืบสวน ลงโทษปรับ อาบัติแลวแจงใหสงฆทราบ เปนตน B = Budgeting หมายถึงการทํางบประมาณ งบประมาณ หรือวาตนทุน พระพุทธเจาไมไดใชงบประมาณในรูปของเงินงบประมาณ แตพระองคมีตนทุนทาง สังคมสูงมากคือเรื่องของศีล - สมาธิ - ปญญา อันเปนอริยทรัพย ก็สามารถบริหาร จัดการได แตถาจะเทียบเคียงแหลงทุนของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้นก็มีมากมาย เชน กษัตริยผูนําอยางพระเจาพิมพิสาร, พระเจาประเสนทิโกศล, พระเจาอชาตศัตรู ฯลฯ พราหมณมหาศาล อยางอนาถบิณฑกเศรษฐี, นางวิสาขา เปนตน การจัดองคกรทางสังคม (Communalism) ในพระสูตรนี้ เราจะเห็นพระพุทธองคจัดระบบองคกร หรือกลุมผลประโยชน ไวในหลากหลายรูปแบบ จัดโดยอาศัยอาชีพบาง กําเนิดบาง หรือคติที่ไปบาง ก็ ไดเพื่อใหสามารถปรับใช ยืดหยุนตอระบบกลุมองคกรนั้น ๆ เชน ก. การจัดระบบองคการโดยอาศัยกลุมชน หรืออาชีพ ๘ ประการ คือ กลุมขัติยบริษัท พวกผูปกครอง นักการเมือง กลุมพราหมณบริษัท พวกครูอาจารย มีอาชีพทางการศึกษา กลุมคหบดีบริษัท พวกพอคาทํางานทางดานเศรษฐกิจ กลุมสมณะบริษัท พวกนักบวช กลุมจาตุมหาราชบริษัท พวกเทพ กลุมดาวดึงสบริษัท พวกเทพที่มีพระอินทรเปนผูนํา กลุมมารบริษัท กลุมผูเปนมิจฉาทิฏฐิ กลุมพรหมบริษัท กลุมของพระพรหม ข. การจัดระบบองคการโดยอาศัยกําเนิดหรือที่มา ๑. กําเนิดอัณฑชะ เกิดในไข ๒. กําเนิดชลาพุชะ เกิดในครรภ ๓. กําเนิดสังเสทชะ เกิดในเถาไคลหรือที่ชื้นแฉะ ๔. กําเนิดโอปปาติกะ เกิดผุดขึ้น ค. การจัดระบบองคการโดยอาศัยคติ หรือทางไป (เปาหมาย) ๑. นรก ทุคติ ภพภูมิที่ไมเจริญ ๒. ดิรัจฉาน ทุคติ ภพภูมิที่ไปทางขวาง ๓. เปรตวิสัย ทุคติ ภพภูมิผูละไปแลว ๔. มนุษย สุคติ ภพภูมิผูมีจิตใจสูง ๕. เทวดา สุคติ ภพภูมิแหงเทพ นอกจากนั้นแลวยังมีแผนพัฒนาสังคมโดยถือเอาพฤติกรรมที่มนุษยแสดง ออกมาเปนตัวชี้วัดวาทําอยางนี้จะมีวิถีชีวิตไปสูสิ่งนี้เหมือนกับกําหนดวิสัยทัศนเอาไว
  • 6. ๑๔๙ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เชน “เรากําหนดรูใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ดวยใจอยางนี้วา “บุคคลผูปฏิบัติ อยางนั้น เปนไปอยางนั้นและดําเนินทางนั้นแลว หลังจากตายแลวจักไปเกิดใน อบาย ทุคติ วินิบาต นรก” ตอมาเราเห็นเขาหลังจากตายแลวไปเกิดในอบายทุคติ วินิบาต นรก เสวยทุกขเวทนาโดยสวนเดียวอันแรงกลา เผ็ดรอนดวยตาทิพยอัน บริสุทธิ์เหนือมนุษย” นอกจากนั้นยังมีการเปรียบเทียบลงลึกใหเห็นภาพในหนทางไป ของสัตวตางๆ วาถากลุมชน หรือองคกรใดมีแนวคิดอยางนี้จะไดรับผล และเปาหมาย อยางนี้ เปนตนวา “หลุมถานเพลิงลึกมากกวาชวงตัวบุรุษเต็มไปดวยถานเพลิงที่ ปราศจากเปลวและควัน ลําดับนั้นบุรุษผูมีรางกายถูกความรอนแผดเผา ครอบงํา เหน็ดเหนื่อยสะทกสะทาน หิวกระหาย เดินมุงมายังหลุมถานเพลิงนั้นโดยหนทาง สายเดียวบุรุษผูมีตาดีเห็นเขาแลวจะพึงกลาวอยางนี้วา บุรุษผูเจริญนี้ปฏิบัติอยางนี้ เปนไปอยางนั้น และดําเนินทางนั้นจักมาถึงหลุมถานเพลิงนี้นั่นแล” ตอม าบุรุษ ผูมีต าดีนั้น จ ะพึงเห็น เขาผูต กล งใน ห ลุมถาน เพ ลิงนั้น เส วย ทุกขเวทนาโดยสวนเดียวอันแรงกลา เผ็ดรอน แมฉันใด เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน กําหนดรูใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ดวยใจอยางนี้วา “บุคคลนี้ปฏิบัติอยางนั้น เปนไปอยางนั้นและดําเนินทางนั้นแลวหลังจากตายแลวจักไปเกิดในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ตอมาเราเห็นเขาหลังจากตายแลวไปเกิดในอบาย ทุคติ วินิตบาต นรก เสวยทุกขเวทนา โดยสวนเดียวอันแรงกลา เผ็ดรอน ดวยตาทิพยอันบริสุทธิ์ เหนือมนุษย” และยังไดเปรียบเปรย หรือชี้ใหเห็นถึงแนวทางปฏิบัติเหมือนมีแผนที่ไวในมือ หรือสูตรสําเร็จอื่นๆ อีก เชน บุคคลปฏิบัติยางนี้ตองดําเนินไปสูดิรัจฉาน เปรตวิสัย, มนุษยภูมิ, โลกสวรรคเปนลําดับ แนวนโยบายที่ทรงใชการสรางศรัทธา นอกจากนั้น พระพุทธองคยังชี้ใหเห็นวาทฤษฎีตางๆ ก็ดีแนวทางตางๆ ก็ดี มิใชวาพระองคจะปฏิเสธหรือมีอคติวาผิดแตที่พระองคทรงรู,ทราบและเขาใจเพราะ พระองคทรงทดสอบทดลองมาดวยตัวของพระองคเอง เชน พระพุทธองคเคยเปน อเจลก คือประพฤติเปลือยกายทําตัวเปนผูไมมีมารยาท เลียมือ เขาเชิญใหไปรับ อาหารก็ไมไปเขาเชิญใหหยุดรับอาหารก็ไมหยุด ฯลฯ ไมกินปลา ไมกินเนื้อ ไมดื่ม สุราเมรัย รับอาหารในเรือนหลังเดียว ยังชีพดวยขาวคําเดียว รับอาหารบนเรือน ๒ หลัง ยังชีพดวยขาง ๒ คํา ฯลฯ รับอาหารในเรือน ๗ หลัง ยังชีพดวยขาว ๗ คํา เปนตน ก็ไมสามารถบรรลุธรรมดวยการบําเพ็ญตบะหรือจะทรงทําการทดลอง ทฤษฎี ประพฤติถือสิ่งเศราหมอง, การทดลองทฤษฎี ประพฤติรังเกียจ, การทดลอง ทฤษฎีประพฤติเปนผูสงัด, การทดลองทฤษฎีความบริสุทธิ์ไดดวยอาหาร, การทดลอง ทฤษฎีความบริสุทธิ์มีไดดวยสังสารวัฏ เปนตนพระองคก็ไมทรงคนพบเปาหมายของ ชีวิต จึงทรงเลิกการทดลองในทฤษฎีเหลานั้นเสียแลวพระองคทรงใชนโยบายใหม คืออริยมรรคคือ องค ๘ นั้นเอง
  • 7. ๑๕๐ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พระสูตรนี้ เมื่อศึกษาแลว ทําใหเห็นแนวคิดการจัดองคกรแนวพุทธไดอยาง ชัดเจน เชน จัดองคกรโดยยึดอาชีพ, กําเนิด, คติ เปนหลักก็เพื่อทรงสอนใหคน อินเดียในยุคพุทธกาลไดรูวา วรรณะ ๔ ของพราหมณนั้นเมื่อเทียบรายละเอียด แลว พระพุทธองคทรงวิเคราะหเจาะลึกมากกวา แมองคกรทางโลกจะใช POSDCoRB ในการบริหารจัดการ แตแนวคิดของ พระพุทธเจาก็เหมาะสมกับสถานการณและเหตุการณในยุคสมัยนั้นๆ ที่เห็นไดชัดเจน ก็คือ การแสดงภาวะผูนําของพระพุทธเจา และการแกปญหาสังคมดานตางๆ ดวย พุทธวิธี