SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
๑๓๑
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๑๖๘๗ - ๑๗๕๕) ที่กลาวถึงหลักสําคัญในการปกครองคือ หลักการแบงแยกอํานาจ
(Separation des Pouvoirs) วาอํานาจในการปกครองรัฐ จะตองไมตกอยูในมือของ
ใครคนใดคนหนึ่ง หรือโดยกลุมใดกลุมเดียว มิฉะนั้นประชาชนจะถูกรังแกไมไดรับการ
ดูแล ประชาชนจะเดือดรอนจากการถูกริดรอนและจํากัดสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
ดังนั้นควรแยกอํานาจปกครองออกเปน ๓ สวน แตไมใชแยกกันโดยเด็ดขาด แต
จะตองประสานและถวงดุลอํานาจกันระหวาง อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และ
อํานาจตุลาการ แนวคิดของนักปราชญคนสําคัญ ๆ ไดรับการถายทอดตลอดมา
ประกอบกับสภาพทางเศรษฐกิจในประเทศตาง ๆ ถดถอยลง ประชาชนถูกเอารัดเอา
เปรียบจากผูปกครองในประเทศสมบูรณาญาสิทธิราชย เกิดความยากจนไปทั่ว แต
ผูปกครองกลับสุขสบาย สภาวะดังกลาวยิ่งสงผลใหแนวคิดของนักปราชญที่กลาวถึง
แพรหลายไปในประเทศตาง ๆ อยางรวดเร็ว จนในที่สุดก็เกิดการปฏิวัติในประเทศ
ตาง ๆ โดยเฉพาะการปฏิวัติครั้งสําคัญ โดยประชาชนของฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. ๑๗๘๙
สงผลใหระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยถูกลมลางลง และแทนที่ดวยระบอบการ
ปกครองที่ยึดหลักวาอํานาจสูงสุดเปนของประชาชน ไมมีผูใดหรือกลุมใดมีอํานาจ
เด็ดขาดอีกตอไปซึ่งเปนหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั่นเอง
รูปแบบการปกครองในปจจุบัน
ก ารป ก ค รอ งขอ งป ร ะเท ศ สว น ให ญใน ยุโร ป ต ะวัน ต ก ส ห รัฐ อ เม ริก า
ออสเตรเลีย ญี่ปุน ลวนเปนประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยและมีความ
มั่นคงทางการเมืองการปกครองจนเปนแบบอยางของประเทศตางๆ ลักษณะรวมกัน
ของการปกครองในกลุมประเทศเหลานี้ ไดแก
๑. ระบอบประชาธิปไตย ในประเทศกลุมดังกลาวขางตนนี้แตกตางกัน
ไปบาง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเชื่อในปรัชญาทางการเมือง แนวความคิดของนักปราชญ
ทางการเมืองทางการเมืองและความเหมะสมของแตละประเทศ
๒. ประมุขของรัฐ มีทั้งตําแหนงพระมหากษัตริยและประธานาธิบดี
ก. ประเทศที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขของรัฐ ไดแก
อังกฤษ ญี่ปุน สเปน ฯลฯ
ข. ประเทศที่มีประธานาธิบดีเปนประมุขของรัฐ ไดแก
สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมนี และประเทศสวนใหญในโลก
ทั้งพระมหากษัตริยและประธานาธิบดีจะทําหนาที่ดานพิธีการตาง
ๆ และเปนผูแทนของประเทศ สวนฐานะและอํานาจหนาที่ดานพิธีการตาง ๆ และ
เปนผูแทนของประเทศ สวนฐานะและอํานาจหนาที่ยอมเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญ
กําหนดไว
๓. ประมุขของรัฐบาล มี ๒ แบบ
ก. ตําแหนงประธานาธิบดี ในประเทศที่มีการปกครองแบบ
ประธานาธิบดี
๑๓๒
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ข. ตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในประเทศที่มีการปกครองแบบ
รัฐสภา
๔. รัฐบาล ทําหนาที่บริหารประเทศตามวาระ มักจะมีเสถียรภาพ
มั่นคง
๕. รัฐสภา สวนใหญประกอบดวยสภา ๒ สภา คือ
ก. สภาสูง
ข. สภาผูแทนราษฎร
สมาชิกของทั้ง ๒ สภานี้ตางก็มาจากการเลือกตั้งของประชาชน และ
มักจะกําหนดใหสมาชิกสภาสูงอยูในตําแหนงนานนานกวาสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
๖. ศาล ศาลจะทําหนาที่ดานตุลาการ เปนสถาบันการเมืองที่เปนอิสระ
จากอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร ระดับของศาลแบงเปน ๓ ระดับ คือ
ก. ศาลชั้นตน
ข. ศาลอุทธรณ
ค. ศาลฎีกา
นอกจากนี้ในบางประเทศยังจัดใหมีศาลโดยเฉพาะประเภท คือ ศาล
ภาษีอากร ศาลปกครอง เปนตน
๗. พรรคการเมือง เปนสถาบันการปกครองที่มีความสําคัญมากในกลุม
ประเทศดังกลาวนี้ พรรคการเมืองมีสวนชวยใหการปกครองใหการปกครองมี
ประสิทธิภาพและประชาชนมีความเปนอยูที่ดีมีความเจริญกาวหนา ลักษณะเดนของ
พรรคการเมืองในแถบยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนดและญี่ปุน
มีดังนี้คือ
ก. ประกอบดวยพรรคการเมืองใหญ ๒ พรรคเมื่อพรรค
การเมืองหนึ่งไดรับคะแนนเสียงขางมาก ไดดํารงตําแหนงรัฐบาลอีกพรรคหนึ่งจะทํา
ห นาที่เปน ฝาย คาน ตัวอยาง เชน พ รรครีพับ ลิกัน แล ะพ รรคดีโม เค รต ใน
สหรัฐอเมริกา พรรคอนุรักษนิยมและพรรคแรงงานในประเทศอังกฤษ
ข. พรรคการเมืองในประเทศเหลานี้จะมีความมั่นคงมาก
มีนโยบายที่แนนอนชัดเจนและสมาชิกของพรรคมีวินัย
ค. นอกจากพรรคการเมืองจะทําหนาที่ในดานการปกครอง
แลว ยังทําหนาที่ในการใหความรูทางการเมืองแกประชาชนอีกดวย
๘. ปญหาการเมือง ในกลุมประเทศดังกลาว ไดแก
ก. ปญหาการทุจริตของบุคคลบางคนในคณะรัฐบาล
ข. พรรคการเมืองในบางประเทศไดรับเลือกเปนรัฐบาล
หลายวาระติดตอกัน จนอาจจะกลายเปนเผด็จการทางรัฐสภาได
การปกครองในทวีปเอเชีย อเมริกาใต แอฟริกา และกลุมประเทศในยุโรป
ตะวันออก
๑๓๓
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๑. ประเทศตางๆ ในกลุมนี้มีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจคอนขางต่ํา
จนถึงปานกลาง สวนในดานการปกครองนั้นประเทศสวนใหญยังขาดความมั่นคงเปน
อันมาก
๒. สาเหตุที่ทําใหประเทศในกลุมนี้ขาดความมั่นคงทางการเมืองการ
ปกครอง ไดแก
๒.๑ ความยากจนของประชากร
๒.๒ ความดอยการศึกษา
๒.๓ ภัยธรรมชาติ เชน ความแหงแลง พายุราย อุทกภัย
๒.๔ ความขัดแยงภายในประเทศและสงครามกลางเมือง
๒.๕ การถูกแทรกแซงจากประเทศมหาอํานาจ
๓. ลักษณะการปกครองของประเทศในกลุมนี้มีพัฒนาการที่คลายคลึง
กัน ดังนี้
๓.๑ เดิมมีการปกครองโดยระบอบกษัตริย หัวหนาเผา หรือ
สุลตาน ฯลฯ
๓ .๒ ในสมัยจักรวรรดินิยมสวน ให ญตกอยูภ ายใตการ
ปกครองของประเทสมหาอํานาจในยุโรปเกือบทุกประเทศ ประเทศผูครอบครอง
อาณานิคมสวนใหญ ไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮอลันดา สเปน โปรตุเกส
๓.๓ ภายหลังไดรับเอกราชแลว ประเทศตาง ๆ เหลานั้นก็
ไดมีการปกครองตามแบบอยางที่ประเทศเมืองแมของตนไดปกครอง
๓.๕ ปญหาที่ตามมาคือ ความดอยทางการศึกษา เศรษฐกิจ
และขาดประสบการณทางการเมือง ทําใหไมประสบความสําเร็จในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย จนเกิดการยืดอํานาจโดยคณะบุคคลอยูเสมอ
๓.๖ ประชาธิปไตยในหลายประเทศจึงเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองเปนสังคมนิยมและคอมมิวนิสต
ลักษณะการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต
๑. แนวความคิดของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต คือ รัฐไมเพียงแตจะ
เปนเจาของปจจัยการผลิต แตยังมีอํานาจไปถึงการควบคุมสิทธิเสรีภาพ และวิถีการ
ดําเนินชีวิตของประชาชนอีกดวย
๒. ที่มาของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสตไดมาจากแนวความคิดของ
คารลมารกซ เจาของลัทธิมารกซิสม (Marxism)
๓. ประเทศแรกคือโซเวียตที่นําระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสตเขามาใช
โดยปฏิวัติยึดอํานาจของพระเจาซารนิโคลัสที่ ๒ คือ เลนิน โดยสามารถเปลี่ยนแปลง
การปกครองไดสําเร็จในป ค.ศ. ๑๙๑๗
๑๓๔
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๔. เลนินไดนําลัทธิมารกซิสมมาปรับเปนรูปแบบการปกครองระบอบ
คอมมิวนิสตในรัสเซีย ซึ่งตอมาไดแพรหลายไปยังประเทศตาง ๆ โดยมีลักษณะที่
สําคัญ ดังนี้
๔.๑ ใชวิธีการรุนแรงในการยึดอํานาจ
๔.๒ เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโดยชี้ใหเห็นวาลัทธิทุนนิยมมี
ขอบกพรองมากตองการขจัดชนชั้นนายทุนโดยเปลี่ยนมาใชระบบเศรษฐกิจแบบสังคม
นิยม
๔.๓ ยกเลิกกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินของบุคคล
๔ .๔ ใหรัฐ เปน เจา ข อ ง เค รื่อ งมือ ก า ร ผ ลิต แ ล ะ เปน
ผูประกอบการ กําหนดแผนทางเศรษฐกิจ สวนประชาชนเปนผูใชแรงงาน
๔.๕ จัดตั้งพรรคคอมมิวนิสตเพื่อเปนแนวทางหนาในการ
ตอสู พรรคคอมมิวนิสตมีลักษณะเปนกึ่งกองทัพ และเมื่อดําเนินการสําเร็จแลว ก็
จัดเปนพรรคเดียวที่มีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ทําหนาที่กําหนดนโยบาย
ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมมาโดยตลอด
๔ .๖ มีการควบคุมสื่อมวลชน อยางเครงครัดเพื่อมิให
ประชาชนรับเอาแนวคิดอื่นนอกจากลัทธิคอมมิวนิสต
๕. ลัทธิคอมมิวนิสตไดแพรเขาไปยังประเทศตาง ๆ อยางรวดเร็วตาม
อุดมการณคอมมิวนิสต และประสบความสําเร็จในบางประเทศ โดยเฉพาะใน
สาธารณรัฐประชาชนจีน ยุโรปตะวันออก คิวบา ฯลฯ
๖. ลักษณะการเมืองการปกครองของประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต
มีดังนี้คือ
๖.๑ มีทั้งรัฐประเภทรัฐเดี่ยวและรัฐรวม
๖.๒ มีพรรคคอมมิวนิสตเปนแกนนํา มีองคกรของพรรคทํา
หนาที่อบรมและเผยแพรมติและนโยบายของพรรค
๖.๓ ประมุขของรัฐ ไมวาจะเปนระบบประธานาธิบดีหรือ
ระบบรัฐสภาจะอยูภายใตการควบคุมของพรรคคอมมิวนิสต กรรมการของพรรค
คอมมิวนิสต โดยเฉพาะเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตเปนผูมีอํานาจที่แทจริงในการ
ปกครอง
๖.๔ สมาชิกรัฐสภาเปนบุคคลที่พรรคคอมมิวนิสตเปนผู
กลั่นกรองแลวเสนอใหประชาชนรับรอง
๗. ปจจุบันนี้อุดมการณคอมมิวนิสตไดลดความสําคัญ ลงไปมาก
เนื่องจากสาเหตุที่สําคัญคือ สหภาพโซเวียตภายใตการนําของ นาย มิคาเอล กอร
บาชอฟไดใชนโยบายปฏิรูป ๒ อยางคือ
๑๓๕
วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๗.๑ กลาสนอต (GLASNOST) หมายถึง นโยบายเปดกวาง
คือ เปดโอกาสใหประชาชนไดแสดงความคิดเห็นมากขึ้น เปดกวางในการปรับปรุง
งานในดานตางๆ
๗ .๒ เป เร ส ท ร อ ย กา (PERESTROIKA) คือ ป รับ ป รุง
เศรษฐกิจโดยนํารูปแบบของเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมเขามาใชมากขึ้น
รูปแบบการปกครองตามแนวพุทธศาสตร
แมวาคณะสงฆจะเปนสังคมซึ่งรวมผูคนไวมากมายและมีความหลากหลาย
เนื่องจากสมาชิกมาจากคนทุกชนชั้นวรรณะเชนเดียวกับสังคมโดยทั่วไป แตมีความ
แตกตางจากสังคมโดยทั่วไป ก็คือสมาชิกทั้งหมดลวนเปนบรรพชิตหรือนักบวช ซึ่งผูที่
ใหกําเนิดคณะสงฆขึ้นมาก็คือพระพุทธเจา คณะสงฆดังกลาวนี้เกิดขึ้นหลังจาก
พระองคทรงเผยแผหลักธรรมคําสอนแลวมีผูตรัสรูตามหรือมีความศรัทธาในหลักธรรม
คําสอนนั้นแลวออกบวชเปนบรรพชิต จากเดิมซึ่งจํานวนสมาชิกของคณะสงฆยังมี
จํานวนนอย แตภายหลังเมื่อหลักธรรมคําสอนของพระองคไดรับการเผยแผออกไป
อยางกวางขวาง จํานวนสมาชิกของคณะสงฆก็คอยๆ เพิ่มจํานวนมากขึ้นตามลําดับ
เพราะฉะนั้นคณะสงฆจึงไมแตกตางจากสังคมโดยทั่วไป ซึ่งเกิดรูปแบบการปกครอง
ขึ้น ซึ่งเดิมทีรูปแบบการปกครองของคณะสงฆ ก็เปนแบบตามธรรมชาติเหมือนพอแม
ปกครองลูก เพราะพระพุทธเจาทรงเปนผูปกครองดวยพระองคเอง ดวยความที่
พระองคทรงเปนพระบรมศาสดาผูทรงใหกํานิดสาวกที่เปนสมาชิกของคณะสงฆ
ภายหลังรูปแบบการปกครองจึงคอยๆ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการไปตามลําดับตาม
จํานวนของพระสงฆสาวกที่เพิ่มจํานวนมากขึ้นตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป
และตามชวงเวลาที่ เหมาะสม ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้
พระพุทธเจาปกครองดวยตนเอง
การปกครองของคณะสงฆในชวงตนพุทธกาล มีลักษณะการปกครอง
แบบธรรมชาติ เหมือนพอแมปกครองดูแลลูก เนื่องจากพระพุทธเจาทรงเปน
ผูปกครองดวยพระองคเอง ดวยความที่พระองคทรงเปนพระบรมศาสดาผูทรงให
กําเนิดสาวกผูเปนสมาชิกของคณะสงฆ แมจะมีพระสงฆสาวก ซึ่งเปนพระอรหันต
จาริกออกไปเผยแผพระสัทธรรมยังสถานที่ตางๆ ในชมพูทวีปแลว แตเมื่อมี กิจกรรม
อันจําเปนหรือมีปญหาสําคัญใดๆ เกิดขึ้นและอาจกอใหเกิดผลกระทบตอสังคม คณะ
สงฆ หรือตัวพระสงฆสาวกเองในสถานที่ที่จาริกไปนั้น ไมวาจะอยูในสถานที่ที่หางไกล
เพียงใดก็ตาม พระสงฆสาวกเหลานั้นก็จะตองเดินทางกลับมาเฝาพระพุทธเจา เพื่อ
กราบทูลใหทรงทราบถึงปญหา และใหทรงตัดสินพระทัยเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆ หรือ
แกปญหาที่เกิดขึ้น แมบางสถานที่จะมีพระสงฆ สาวกผูใหญคอยดูแลตัดสินใจอยูแลว
แตการตัดสินใจในเรื่องสําคัญก็ยังตองขึ้นตรงตอพระพุทธเจาอยูนั่นเอง

More Related Content

Viewers also liked

Fama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.e
Fama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.eFama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.e
Fama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.e
andreastzortzis
 
Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)
Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)
Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)
Mari Carmen Moreno
 
5i media credential_2013_save
5i media credential_2013_save5i media credential_2013_save
5i media credential_2013_save
Mimi Trannguyen
 
Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...
Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...
Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...
Mery Miller
 
Informa_LinkedIn_Case Study
Informa_LinkedIn_Case StudyInforma_LinkedIn_Case Study
Informa_LinkedIn_Case Study
Ali Zeeshan
 

Viewers also liked (8)

Fama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.e
Fama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.eFama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.e
Fama group shipyards past projects.at.22.26.23.001.e
 
Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)
Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)
Projecte voices definitiuambbrandon bb(2)
 
New base 825 special 07 april 2016
New base 825 special 07 april  2016New base 825 special 07 april  2016
New base 825 special 07 april 2016
 
5i media credential_2013_save
5i media credential_2013_save5i media credential_2013_save
5i media credential_2013_save
 
Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...
Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...
Cuadernillo de español semana 14 al 18 de marzo del 2016 centro escolar juan ...
 
Informa_LinkedIn_Case Study
Informa_LinkedIn_Case StudyInforma_LinkedIn_Case Study
Informa_LinkedIn_Case Study
 
Software ownership rights
Software ownership rightsSoftware ownership rights
Software ownership rights
 
Немањићи - 4. разред
Немањићи - 4. разредНемањићи - 4. разред
Немањићи - 4. разред
 

More from manit akkhachat (6)

7.3
7.37.3
7.3
 
7.2
7.27.2
7.2
 
7.1
7.17.1
7.1
 
7.0
7.07.0
7.0
 
6.3
6.36.3
6.3
 
6.1
6.16.1
6.1
 

6.2

  • 1. ๑๓๑ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๑๖๘๗ - ๑๗๕๕) ที่กลาวถึงหลักสําคัญในการปกครองคือ หลักการแบงแยกอํานาจ (Separation des Pouvoirs) วาอํานาจในการปกครองรัฐ จะตองไมตกอยูในมือของ ใครคนใดคนหนึ่ง หรือโดยกลุมใดกลุมเดียว มิฉะนั้นประชาชนจะถูกรังแกไมไดรับการ ดูแล ประชาชนจะเดือดรอนจากการถูกริดรอนและจํากัดสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ดังนั้นควรแยกอํานาจปกครองออกเปน ๓ สวน แตไมใชแยกกันโดยเด็ดขาด แต จะตองประสานและถวงดุลอํานาจกันระหวาง อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และ อํานาจตุลาการ แนวคิดของนักปราชญคนสําคัญ ๆ ไดรับการถายทอดตลอดมา ประกอบกับสภาพทางเศรษฐกิจในประเทศตาง ๆ ถดถอยลง ประชาชนถูกเอารัดเอา เปรียบจากผูปกครองในประเทศสมบูรณาญาสิทธิราชย เกิดความยากจนไปทั่ว แต ผูปกครองกลับสุขสบาย สภาวะดังกลาวยิ่งสงผลใหแนวคิดของนักปราชญที่กลาวถึง แพรหลายไปในประเทศตาง ๆ อยางรวดเร็ว จนในที่สุดก็เกิดการปฏิวัติในประเทศ ตาง ๆ โดยเฉพาะการปฏิวัติครั้งสําคัญ โดยประชาชนของฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. ๑๗๘๙ สงผลใหระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยถูกลมลางลง และแทนที่ดวยระบอบการ ปกครองที่ยึดหลักวาอํานาจสูงสุดเปนของประชาชน ไมมีผูใดหรือกลุมใดมีอํานาจ เด็ดขาดอีกตอไปซึ่งเปนหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั่นเอง รูปแบบการปกครองในปจจุบัน ก ารป ก ค รอ งขอ งป ร ะเท ศ สว น ให ญใน ยุโร ป ต ะวัน ต ก ส ห รัฐ อ เม ริก า ออสเตรเลีย ญี่ปุน ลวนเปนประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยและมีความ มั่นคงทางการเมืองการปกครองจนเปนแบบอยางของประเทศตางๆ ลักษณะรวมกัน ของการปกครองในกลุมประเทศเหลานี้ ไดแก ๑. ระบอบประชาธิปไตย ในประเทศกลุมดังกลาวขางตนนี้แตกตางกัน ไปบาง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเชื่อในปรัชญาทางการเมือง แนวความคิดของนักปราชญ ทางการเมืองทางการเมืองและความเหมะสมของแตละประเทศ ๒. ประมุขของรัฐ มีทั้งตําแหนงพระมหากษัตริยและประธานาธิบดี ก. ประเทศที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขของรัฐ ไดแก อังกฤษ ญี่ปุน สเปน ฯลฯ ข. ประเทศที่มีประธานาธิบดีเปนประมุขของรัฐ ไดแก สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมนี และประเทศสวนใหญในโลก ทั้งพระมหากษัตริยและประธานาธิบดีจะทําหนาที่ดานพิธีการตาง ๆ และเปนผูแทนของประเทศ สวนฐานะและอํานาจหนาที่ดานพิธีการตาง ๆ และ เปนผูแทนของประเทศ สวนฐานะและอํานาจหนาที่ยอมเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญ กําหนดไว ๓. ประมุขของรัฐบาล มี ๒ แบบ ก. ตําแหนงประธานาธิบดี ในประเทศที่มีการปกครองแบบ ประธานาธิบดี
  • 2. ๑๓๒ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ข. ตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในประเทศที่มีการปกครองแบบ รัฐสภา ๔. รัฐบาล ทําหนาที่บริหารประเทศตามวาระ มักจะมีเสถียรภาพ มั่นคง ๕. รัฐสภา สวนใหญประกอบดวยสภา ๒ สภา คือ ก. สภาสูง ข. สภาผูแทนราษฎร สมาชิกของทั้ง ๒ สภานี้ตางก็มาจากการเลือกตั้งของประชาชน และ มักจะกําหนดใหสมาชิกสภาสูงอยูในตําแหนงนานนานกวาสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ๖. ศาล ศาลจะทําหนาที่ดานตุลาการ เปนสถาบันการเมืองที่เปนอิสระ จากอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร ระดับของศาลแบงเปน ๓ ระดับ คือ ก. ศาลชั้นตน ข. ศาลอุทธรณ ค. ศาลฎีกา นอกจากนี้ในบางประเทศยังจัดใหมีศาลโดยเฉพาะประเภท คือ ศาล ภาษีอากร ศาลปกครอง เปนตน ๗. พรรคการเมือง เปนสถาบันการปกครองที่มีความสําคัญมากในกลุม ประเทศดังกลาวนี้ พรรคการเมืองมีสวนชวยใหการปกครองใหการปกครองมี ประสิทธิภาพและประชาชนมีความเปนอยูที่ดีมีความเจริญกาวหนา ลักษณะเดนของ พรรคการเมืองในแถบยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนดและญี่ปุน มีดังนี้คือ ก. ประกอบดวยพรรคการเมืองใหญ ๒ พรรคเมื่อพรรค การเมืองหนึ่งไดรับคะแนนเสียงขางมาก ไดดํารงตําแหนงรัฐบาลอีกพรรคหนึ่งจะทํา ห นาที่เปน ฝาย คาน ตัวอยาง เชน พ รรครีพับ ลิกัน แล ะพ รรคดีโม เค รต ใน สหรัฐอเมริกา พรรคอนุรักษนิยมและพรรคแรงงานในประเทศอังกฤษ ข. พรรคการเมืองในประเทศเหลานี้จะมีความมั่นคงมาก มีนโยบายที่แนนอนชัดเจนและสมาชิกของพรรคมีวินัย ค. นอกจากพรรคการเมืองจะทําหนาที่ในดานการปกครอง แลว ยังทําหนาที่ในการใหความรูทางการเมืองแกประชาชนอีกดวย ๘. ปญหาการเมือง ในกลุมประเทศดังกลาว ไดแก ก. ปญหาการทุจริตของบุคคลบางคนในคณะรัฐบาล ข. พรรคการเมืองในบางประเทศไดรับเลือกเปนรัฐบาล หลายวาระติดตอกัน จนอาจจะกลายเปนเผด็จการทางรัฐสภาได การปกครองในทวีปเอเชีย อเมริกาใต แอฟริกา และกลุมประเทศในยุโรป ตะวันออก
  • 3. ๑๓๓ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๑. ประเทศตางๆ ในกลุมนี้มีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจคอนขางต่ํา จนถึงปานกลาง สวนในดานการปกครองนั้นประเทศสวนใหญยังขาดความมั่นคงเปน อันมาก ๒. สาเหตุที่ทําใหประเทศในกลุมนี้ขาดความมั่นคงทางการเมืองการ ปกครอง ไดแก ๒.๑ ความยากจนของประชากร ๒.๒ ความดอยการศึกษา ๒.๓ ภัยธรรมชาติ เชน ความแหงแลง พายุราย อุทกภัย ๒.๔ ความขัดแยงภายในประเทศและสงครามกลางเมือง ๒.๕ การถูกแทรกแซงจากประเทศมหาอํานาจ ๓. ลักษณะการปกครองของประเทศในกลุมนี้มีพัฒนาการที่คลายคลึง กัน ดังนี้ ๓.๑ เดิมมีการปกครองโดยระบอบกษัตริย หัวหนาเผา หรือ สุลตาน ฯลฯ ๓ .๒ ในสมัยจักรวรรดินิยมสวน ให ญตกอยูภ ายใตการ ปกครองของประเทสมหาอํานาจในยุโรปเกือบทุกประเทศ ประเทศผูครอบครอง อาณานิคมสวนใหญ ไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮอลันดา สเปน โปรตุเกส ๓.๓ ภายหลังไดรับเอกราชแลว ประเทศตาง ๆ เหลานั้นก็ ไดมีการปกครองตามแบบอยางที่ประเทศเมืองแมของตนไดปกครอง ๓.๕ ปญหาที่ตามมาคือ ความดอยทางการศึกษา เศรษฐกิจ และขาดประสบการณทางการเมือง ทําใหไมประสบความสําเร็จในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย จนเกิดการยืดอํานาจโดยคณะบุคคลอยูเสมอ ๓.๖ ประชาธิปไตยในหลายประเทศจึงเปลี่ยนแปลงการ ปกครองเปนสังคมนิยมและคอมมิวนิสต ลักษณะการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต ๑. แนวความคิดของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต คือ รัฐไมเพียงแตจะ เปนเจาของปจจัยการผลิต แตยังมีอํานาจไปถึงการควบคุมสิทธิเสรีภาพ และวิถีการ ดําเนินชีวิตของประชาชนอีกดวย ๒. ที่มาของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสตไดมาจากแนวความคิดของ คารลมารกซ เจาของลัทธิมารกซิสม (Marxism) ๓. ประเทศแรกคือโซเวียตที่นําระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสตเขามาใช โดยปฏิวัติยึดอํานาจของพระเจาซารนิโคลัสที่ ๒ คือ เลนิน โดยสามารถเปลี่ยนแปลง การปกครองไดสําเร็จในป ค.ศ. ๑๙๑๗
  • 4. ๑๓๔ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๔. เลนินไดนําลัทธิมารกซิสมมาปรับเปนรูปแบบการปกครองระบอบ คอมมิวนิสตในรัสเซีย ซึ่งตอมาไดแพรหลายไปยังประเทศตาง ๆ โดยมีลักษณะที่ สําคัญ ดังนี้ ๔.๑ ใชวิธีการรุนแรงในการยึดอํานาจ ๔.๒ เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโดยชี้ใหเห็นวาลัทธิทุนนิยมมี ขอบกพรองมากตองการขจัดชนชั้นนายทุนโดยเปลี่ยนมาใชระบบเศรษฐกิจแบบสังคม นิยม ๔.๓ ยกเลิกกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินของบุคคล ๔ .๔ ใหรัฐ เปน เจา ข อ ง เค รื่อ งมือ ก า ร ผ ลิต แ ล ะ เปน ผูประกอบการ กําหนดแผนทางเศรษฐกิจ สวนประชาชนเปนผูใชแรงงาน ๔.๕ จัดตั้งพรรคคอมมิวนิสตเพื่อเปนแนวทางหนาในการ ตอสู พรรคคอมมิวนิสตมีลักษณะเปนกึ่งกองทัพ และเมื่อดําเนินการสําเร็จแลว ก็ จัดเปนพรรคเดียวที่มีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ทําหนาที่กําหนดนโยบาย ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมมาโดยตลอด ๔ .๖ มีการควบคุมสื่อมวลชน อยางเครงครัดเพื่อมิให ประชาชนรับเอาแนวคิดอื่นนอกจากลัทธิคอมมิวนิสต ๕. ลัทธิคอมมิวนิสตไดแพรเขาไปยังประเทศตาง ๆ อยางรวดเร็วตาม อุดมการณคอมมิวนิสต และประสบความสําเร็จในบางประเทศ โดยเฉพาะใน สาธารณรัฐประชาชนจีน ยุโรปตะวันออก คิวบา ฯลฯ ๖. ลักษณะการเมืองการปกครองของประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต มีดังนี้คือ ๖.๑ มีทั้งรัฐประเภทรัฐเดี่ยวและรัฐรวม ๖.๒ มีพรรคคอมมิวนิสตเปนแกนนํา มีองคกรของพรรคทํา หนาที่อบรมและเผยแพรมติและนโยบายของพรรค ๖.๓ ประมุขของรัฐ ไมวาจะเปนระบบประธานาธิบดีหรือ ระบบรัฐสภาจะอยูภายใตการควบคุมของพรรคคอมมิวนิสต กรรมการของพรรค คอมมิวนิสต โดยเฉพาะเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตเปนผูมีอํานาจที่แทจริงในการ ปกครอง ๖.๔ สมาชิกรัฐสภาเปนบุคคลที่พรรคคอมมิวนิสตเปนผู กลั่นกรองแลวเสนอใหประชาชนรับรอง ๗. ปจจุบันนี้อุดมการณคอมมิวนิสตไดลดความสําคัญ ลงไปมาก เนื่องจากสาเหตุที่สําคัญคือ สหภาพโซเวียตภายใตการนําของ นาย มิคาเอล กอร บาชอฟไดใชนโยบายปฏิรูป ๒ อยางคือ
  • 5. ๑๓๕ วิชาพุทธรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๗.๑ กลาสนอต (GLASNOST) หมายถึง นโยบายเปดกวาง คือ เปดโอกาสใหประชาชนไดแสดงความคิดเห็นมากขึ้น เปดกวางในการปรับปรุง งานในดานตางๆ ๗ .๒ เป เร ส ท ร อ ย กา (PERESTROIKA) คือ ป รับ ป รุง เศรษฐกิจโดยนํารูปแบบของเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมเขามาใชมากขึ้น รูปแบบการปกครองตามแนวพุทธศาสตร แมวาคณะสงฆจะเปนสังคมซึ่งรวมผูคนไวมากมายและมีความหลากหลาย เนื่องจากสมาชิกมาจากคนทุกชนชั้นวรรณะเชนเดียวกับสังคมโดยทั่วไป แตมีความ แตกตางจากสังคมโดยทั่วไป ก็คือสมาชิกทั้งหมดลวนเปนบรรพชิตหรือนักบวช ซึ่งผูที่ ใหกําเนิดคณะสงฆขึ้นมาก็คือพระพุทธเจา คณะสงฆดังกลาวนี้เกิดขึ้นหลังจาก พระองคทรงเผยแผหลักธรรมคําสอนแลวมีผูตรัสรูตามหรือมีความศรัทธาในหลักธรรม คําสอนนั้นแลวออกบวชเปนบรรพชิต จากเดิมซึ่งจํานวนสมาชิกของคณะสงฆยังมี จํานวนนอย แตภายหลังเมื่อหลักธรรมคําสอนของพระองคไดรับการเผยแผออกไป อยางกวางขวาง จํานวนสมาชิกของคณะสงฆก็คอยๆ เพิ่มจํานวนมากขึ้นตามลําดับ เพราะฉะนั้นคณะสงฆจึงไมแตกตางจากสังคมโดยทั่วไป ซึ่งเกิดรูปแบบการปกครอง ขึ้น ซึ่งเดิมทีรูปแบบการปกครองของคณะสงฆ ก็เปนแบบตามธรรมชาติเหมือนพอแม ปกครองลูก เพราะพระพุทธเจาทรงเปนผูปกครองดวยพระองคเอง ดวยความที่ พระองคทรงเปนพระบรมศาสดาผูทรงใหกํานิดสาวกที่เปนสมาชิกของคณะสงฆ ภายหลังรูปแบบการปกครองจึงคอยๆ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการไปตามลําดับตาม จํานวนของพระสงฆสาวกที่เพิ่มจํานวนมากขึ้นตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป และตามชวงเวลาที่ เหมาะสม ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้ พระพุทธเจาปกครองดวยตนเอง การปกครองของคณะสงฆในชวงตนพุทธกาล มีลักษณะการปกครอง แบบธรรมชาติ เหมือนพอแมปกครองดูแลลูก เนื่องจากพระพุทธเจาทรงเปน ผูปกครองดวยพระองคเอง ดวยความที่พระองคทรงเปนพระบรมศาสดาผูทรงให กําเนิดสาวกผูเปนสมาชิกของคณะสงฆ แมจะมีพระสงฆสาวก ซึ่งเปนพระอรหันต จาริกออกไปเผยแผพระสัทธรรมยังสถานที่ตางๆ ในชมพูทวีปแลว แตเมื่อมี กิจกรรม อันจําเปนหรือมีปญหาสําคัญใดๆ เกิดขึ้นและอาจกอใหเกิดผลกระทบตอสังคม คณะ สงฆ หรือตัวพระสงฆสาวกเองในสถานที่ที่จาริกไปนั้น ไมวาจะอยูในสถานที่ที่หางไกล เพียงใดก็ตาม พระสงฆสาวกเหลานั้นก็จะตองเดินทางกลับมาเฝาพระพุทธเจา เพื่อ กราบทูลใหทรงทราบถึงปญหา และใหทรงตัดสินพระทัยเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆ หรือ แกปญหาที่เกิดขึ้น แมบางสถานที่จะมีพระสงฆ สาวกผูใหญคอยดูแลตัดสินใจอยูแลว แตการตัดสินใจในเรื่องสําคัญก็ยังตองขึ้นตรงตอพระพุทธเจาอยูนั่นเอง