SlideShare a Scribd company logo
การจัดการการ
จัดหา บทที่ 5
1.บทบาทกลยุทธ์
การจัดหา
ก่อนที่จะเริ่มเข ้าสู่เนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการการจัดหาที่จะนาเสนอต่อไป ขอทบทวน
เกี่ยวกับตาแหน่งของ กิจกรรมการจัดหาในแผนโลจิสติกส์
(ดูรูปที่ 1.8 ในบทที่ 1 ประกอบ การบูรณาการตั้งแต่ผู้ขาย ผู้ค ้าส่ง ผู้ค ้าปลีก ผู้บริโภค และผู้ที่เกี่ยวข ้อง)
ซึ่งจะเห็นได ้ว่าการจัดหานั้นเป็นกิจกรรมแรกที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการเคลื่อนที่ ของสารสนเทศและ
พัสดุ ดังนั้น เพื่อให ้การเริ่มต ้นของแผนโลจิสติกส์เป็นไปอย่างถูกต ้องและมีประสิทธิภาพ จึง มีความ
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต ้องเรียนรู้และทาความเข ้าใจเกี่ยวกับความหมายและบทบาทของการจัดหาอย่าง
ถูกต ้องชัดเจนเสียก่อน
การจัดหา หมายถึง กระบวนการค ้นหาและคัดเลือกผู้ค ้าที่สามารถตอบสนองความต ้องการ
ด ้านการจัดซื้อ สินค ้า/บริการเพื่อการผลิตหรือการขายที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทหนึ่งที่มี
ความสาคัญยิ่งต่อองค์กร เนื่องจากการจัดหานั้นเป็นกิจกรรมที่มีส่วนช่วยลดต ้นทุน รวมถึงการมีส่วน
สนับสนุนการเพิ่มผลผลิตและเพิ่ม ผลกาไรให ้แก่องค์กร เพราะการจัดหานั้นมีส่วนอย่างมากในการติดต่อ
กับผู้ค ้านอกองค์กร ซึ่งเป็นช่องทางในการ แสวงหาเพื่อรับรู้องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ
ได ้ตลอดเวลาโดยทั่วไปบทบาทของการจัดหาในเชิงกลยุทธ์นั้นแบ่งออกเป็น 2 บทบาทที่สาคัญคือ
บทบาทในการเป็น ช่องทางในการเข ้าถึงตลาดภายนอก และบทบาทของการทาหน้าที่ด ้านการบูรณา
การความสัมพันธ์กับหน่วยงาน อื่นขององค์กร
1.1 การเข ้าถึงตลาด
ภายนอก
1.2 ความสัมพันธ์กับ
บทบาทการจัดการ
โลกภายนอกได ้เข ้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ที่มีการเปิดเผยธุรกิจใหม่ในแนวราบ องค์กรในยุค
ปัจจุบันมีโอกาส กลายเป็นการแข่งขันข ้ามชาติและสามารถขยายตลาดแบบไร้พรมแดน
ธุรกิจสามารถได ้รับการติดต่อจากท ้องถิ่น ไปทั่วโลก (คู่ค ้าท ้องถิ่นภายในอาณาเขตของ
ประเทศและต่างประเทศในทุกสถานการณ์ การติดต่อกับภายนอก สามารถจัดส่งข ้อมูล
และค ้นหาพัสดุที่ต ้องการ เทคโนโลยีใหม่ ผู้ค ้าที่มีศักยภาพ และปัจจัยสาคัญอื่นๆ
ธุรกิจสามารถคัดเลือกและพัฒนาผู้ค ้าภายนอกได ้หลายวิธีที่จะสนับสนุนให ้
เกิดประสิทธิผลสูงขึ้นร่วมกัน ได ้ผู้ค ้าสามารถร่วมมือในกิจกรรมองค์กรซึ่งอาจนาเข ้าสู่
การประหยัดต ้นทุนและเวลาในการพัฒนาสินค ้า ตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมรถยนต์
ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงงานสามารถเชื่อมต่อกับผู้ค ้าทั้งหมดได ้ เมื่อผู้ออกแบบที่
สานักงานใหญ่มีการออกแบบรถยนต์คันใหม่ ผู้ออกแบบชิ้นส่วนสามารถตกแต่งชิ้นส่วน
ให ้สมบูรณ์ในระบบ คอมพิวเตอร์ เขาสามารถออกแบบระบบเบรกและระบบส่งกาลัง
เครื่องยนต์ในเวลาเดียวกันกับผู้ออกแบบรถยนต์ หลัก
นี่เป็นการประหยัดอย่างมากในการออกแบบ รวมทั้งสามารถพัฒนาทั้งต ้นทุนและ
เวลา รถยนต์คันใหม่ สามารถออกแบบและพัฒนาโดยใช ้เวลาเพียงครึ่งหนึ่งของเวลาที่
ใช ้ก่อนหน้านี้ เหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได ้โดยไม่ ต ้องมีผู้ออกแบบชิ้นส่วนในสานักงาน
หลักของผู้ออกแบบ
หน้าที่การจัดหาได ้มีการบูรณาการความสัมพันธ์กับบทบาทหน้าที่การ
จัดการขององค์กร ดังนี้
1. การจัดการระดับสูง การจัดการระดับสูงไว ้วางใจหน้าที่การจัดหาสาหรับ
การจัดซื้อ การเช่า และการ เช่าซื้อของพัสดุทั้งหมด การบริการ และ
ทรัพย์สิน
2. การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ การจัดการการผลิตและการ
ปฏิบัติการไว ้วางใจฝ่ ายจัดหาให ้จัด ซื้อเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือ พัสดุ
ชิ้นส่วน และวัสดุสิ้นเปลือง ฝ่ ายจัดหายังทาให ้มั่นใจว่าการบริการหลังการ
ขายเครื่องจักรเป็นไปด ้วยดีอีกด ้วย
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ไว ้วางใจให ้ฝ่ าย
จัดหาให ้จัดซื้อและสนับสนุน ด ้านเฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช ้สานักงาน เครื่อง
เขียนแบบพิมพ์ และอื่น ๆ
1.2 ความสัมพันธ์กับ
บทบาทการจัดการ
4. การจัดการการเงิน การจัดการการเงินไว ้วางใจฝ่ ายจัดหาให ้
จัดซื้อเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์เครื่องมือ สานักงาน เครื่องเขียนแบบ
พิมพ์ คอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ ฝ่ ายจัดหาไว ้วางใจฝ่ ายการเงินใน
ด ้านการเงินในการ จัดซื้อให ้ าเนินการอย่างราบรื่น
5. การจัดการสารสนเทศ สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสาคัญยิ่ง
ของการจัดการโลจิสติกส์ ฝ่ ายจัด จาเป็นต ้องใช ้ข ้อมูลที่ถูกต ้อง
และทันเวลาเกี่ยวกับการบริหารระดับสินค ้าคงคลัง เวลานา และ
ผู้ค ้า ที่แสดง ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานประจาวัน
6. การจัดการการตลาด ฝ่ ายการตลาดคือตัวเชื่อมต่อสุดท ้าย
ในซัพพลายเชนระหว่างองค์กรกับลูก ภายนอก เกี่ยวกับข ้อมูล
อุปสงค์เพื่อนาสินค ้าเข ้าสู่ระบบโลจิสติกส์ ในการกาหนดจานวน
สินค ้าที่จาเป็นต่อการ จัดซื้อหรือผลิตสินค ้าให ้ตรงกับอุปสงค์
ของลูกค ้า การปฏิบัติการโลจิสติกส์ รวมทั้งกระบวนการจัดหาก็
ต ้องอาศัย ข ้อมูลจากฝ่ ายการตลาด ที่ทาหน้าที่พยากรณ์หรือ
วิจัยปริมาณความต ้องการของลูกค ้าเป็นหลักใหญ่ในการดาเนิน
งานโลจิสติกส์ให ้มีประสิทธิภาพ
2.ลักษณะของการ
จัดการการจัดหา
เกี่ยวข ้องกับการวางแผนระยะกลาง แผน ควรดาเนินการ
โดยผู้บริหารระดับกลาง แผนกลยุทธ์ดาเนินการโดยผู้บริหารระดับสูง และนาแผนไปปฏิบัติ
โดยผู้บริหารระดับกลาง วัตถุประสงค์ของการจัดหาเชิงกลวิธีควรมีดังนี้
• ศึกษาความแตกต่างของระบบการควบคุมสินค ้าคงคลังที่มีเพียงพอ เหมาะสมต่อตลาด และ
นาไปสู่การ ปฏิบัติให ้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กร
ศึกษาระบบการไหลของพัสดุที่เหมาะสมที่สุดภายในวิสาหกิจและธุรกิจ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ
ให ้ดีที่สุด
• พัฒนาระบบจัดหาในปัจจุบัน พร ้อมทั้งผู้ค ้ารายใหม่ ทาสัญญาระยะยาวกับผู้ค ้าที่มีความ
เชื่อถือได ้
เกี่ยวข ้องกับการวางแผนระยะสั้นและการดาเนินการ
โดยผู้บริหารระดับล่าง วัตถุประสงค์การปฏิบัติการตั้งอยู่บนพื้นฐานการวางแผนเชิงกลวิธี ซึ่ง
ดาเนินการโดยผู้บริหาร ระดับกลางไว ้แล ้ว วัตถุประสงค์เหล่านี้มักแสดงเชิงประจักษ์และเชิง
ปริมาณ วัตถุประสงค์การจัดหาเชิงปฏิบัติ การควรมีดังนี้
• ดาาเนินการวิเคราะห์สินค ้าคงคลัง
•ลดระดับสินค ้าคงคลังให ้เหมาะสม
• ปรับปรุงความสัมพันธ์กับลูกค ้าอย่างต่อเนื่อง
• พัฒนาและช่วยเหลือผู้ค ้าด ้วยการสนับสนุนด ้านเทคนิคและด ้านอื่นๆ
2.2 การจัดการองค์กร
องค์กร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของธุรกิจ ขนาดขององค์กร และ
ระยะเวลาดาเนิน การตัดสินใจที่สาคัญในด ้านการจัดการองค์กรคือ
การพิจารณาว่าบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานการจัดหา การ เช่น ใน
บางองค์กรจัดให ้หน่วยงานที่ทาหน้าที่ด ้านการจัดหาอยู่ภายใต ้การ
ดูแลของผู้บริหารระดับกลางและ ขึ้นตรงต่อผู้อานวยการจัดหา แต่ใน
ปัจจุบันหลายองค์กรได ้จัดโครงสร ้างองค์กรโดยให ้หน่วยงานการ
จัดหาอยู่
ภายใต ้ผู้จัดการโลจิสติกส์ ซึ่งขึ้นตรงต่อผู้บริหารระดับสูงอีกทีหนึ่ง
สาหรับในเรื่องของรูปแบบการบริหารโครงสร ้างองค์กรการจัดหาที่มัก
พบเห็นในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทคือ การบริหารจัดการแบบรวมศูนย์
และการบริหารจัดการแบบกระจายอานาจ นั่นคือ หากมีการจัดตั้ง
หน่วยงาน น ฉพาะเพื่อดาเนินการจัดหาให ้กับทุกหน่วยงานของ
องค์กรหรือทุกบริษัทในเครือ ก็จะเรียกว่าเป็น การบริหาร การจัดหา
แบบรวมศูนย์ แต่ถ ้าทุกฝ่ ายหรือทุกสาขาขององค์กรต่างมีอานาจใน
การดาเนินการจัดหาอย่างเป็น เอกเทศ จะเรียกว่าเป็น การบริหาร
จัดการแบบกระจายอาานาจมอบหมาย 2.3 การนาองค์กร
เนื่องจากประสิทธิภาพของงานการจัดหานั้นนับเป็นตัวแปรสาคัญ
อย่างยิ่งต่อการดาเนินการวัดผลการ ปฏิบัติงานของส่วนงานอื่น ๆ
ขององค์กร เช่น ในฝ่ ายการผลิต การวัดผลการปฏิบัติงานทั้งในด ้าน
คุณภาพของ ของวัตถุดิบ และการส่งมอบวัตถุดิบเพื่อเข ้าสู่
กระบวนการผลิต หรือในด ้านของฝ่ ายการเงินนั้นก็จาเป็นที่จะต ้อง
พึ่งพาฝ่ ายจัดหาให ้ช่วยประสานงานจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่มีราคา
ประหยัดเพื่อไม่ก่อให ้เกิดความเสียเปรียบด ้าน นทุนต่อหน่วยการ
ผลิต เป็นต ้น
2.4 การประสานงาน
2.5 การควบคุม
บทบาทหน้าที่ของการจัดหานั้นนอกจากจะมีบทบาทในการ
สนับสนุนองค์กรแล ้ว ยังช่วยในการประสาน ความสัมพันธ์
ระหว่างฝ่ ายอื่นๆ ไปพร ้อมกัน และยังมีบทบาทในการเป็นที่
ปรึกษาการเพิ่มศักยภาพให ้แก่ฝ่ าย อื่นด ้วย เช่น บุคลากร
ฝ่ ายจัดหาสามารถแนะนาบุคลากรฝ่ ายผลิตในการจัดซื้อ
เครื่องจักรและอุปกรณ์เครื่องมือ ที่เหมาะสมกับงาน หรือ
แนะนาฝ่ ายการเงินในการจัดซื้อซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพในระบบ การเงิน เป็นต ้น
การควบคุมการจัดหาเพื่อให ้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ
องค์กร โดยการควบคุมคุณภาพผ่านการจัดหา และการใช ้การ
จัดหาเป็นตัวชี้บ่งศักยภาพการดาเนินการว่าเป็นไปตามที่
กาหนดไว ้หรือไม่ เช่น ในกรณีที่เกิด ส่วนต่างของต ้นทุนการ
สั่งซื้อวัตถุดิบซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากเกณฑ์มาตรฐานเดิมที่มี
อยู่ ในกรณีเช่นนี้หน้าที่ของ หน่วยงานการจัดหาคือ จะต ้อง
ค ้นหาที่มาของความคลาดเคลื่อนนั้นว่ามาจากสาเหตุใด หาก
เกิดจากปริมาณการ สั่งซื้อที่เปลี่ยนไป หรือเกิดจากความ
ผิดพลาดในการคานวณสินค ้าคงคลังจึงทาให ้ต ้องสั่งซื้อ
วัตถุดิบชนิดนั้นแบบ เร่งด่วน ทาให ้เกิดส่วนต่างในการ
ดาเนินงานของคู่ค ้า ซึ่งเมื่อทราบสาเหตุแล ้ว ก็จะได ้นาไปหา
แนวทางแก ้ไขได ้อย่างทันเวลา และเพื่อเตรียมการป้องกัน
3. ลักษณะ
ของการ
จัดซื้อสินค ้า
ความหลากหลายของสินค ้าที่จัดซื้อโดยฝ่ ายจัดซื้อมีสินค ้าหลักที่มักจัดซื้อ ได ้แก่ วัตถุดิบ
ชิ้นส่วนหลัก ชิ้นส่วนย่อยประกอบ สินค ้าทุน สินค ้าสาเร็จรูป และการบริการ
1. วัตถุดิบ หมายถึง สินค ้าที่ยังไม่มีการแปรรูป อาจจะมีลักษณะเป็นพืชผลทางการเกษตร กสิ
กรรม แร่ธาตุต่าง ๆ ที่จะนาเข ้าสู่กระบวนการผลิตหรือแปรรูปเป็นสินค ้าต่อไป
2 ชิ้นส่วนหลัก หมายถึง สินค ้าที่มีการแปรรูปในระดับหนึ่งแต่ยังไม่เป็นสินค ้าสาเร็จรูปขั้น
สุดท ้าย อาจ เป็นชิ้นส่วนที่จะนาไปประกอบในกระบวนการผลิต หรือนาไปซ่อมแซมเครื่องมือ
อุปกรณ์การผลิต เช่น เสื้อผ ้าที่ ขึ้นรูปแล ้ว
3. ชิ้นส่วนย่อยประกอบ หมายถึง อะไหล่ที่ใช ้ในการประกอบชิ้นส่วนหลักตามข ้อที่ 2 ใน
กระบวนการ ผลิตสินค ้า เช่น กระดุม ซิป ลูกไม ้ เป็นต ้น
การบริการมีลักษณะที่แตกต่างจากสินค ้าอื่นๆ ดังนี้
1.การบริการคือสิ่งที่สัมผัสไม่ได ้แต่อาจสูญเสียได ้การบริการมักเป็นสิ่งที่สัมผัสไม่ได ้
แต่อาจจะสูญเสียได ้ในกรณีอุตสาหกรรมบริการ เช่น ธนาคาร การบริการบรรจุภัณฑ์
การบริการมีลักษณะที่สัมผัสได ้และ สัมผัสไม่ได ้ในกรณีของธนาคารบริการลูกค ้า
ธนาคารเสนอบริการสมุดเช็ค สัมผัสได ้) และความสะดวกในบัญชี ธนาคาร (สัมผัส
ไม่ได ้) การบริการมีข ้อจากัดในเรื่องเวลา ซึ่งทาให ้สูญเสียลูกค ้าได ้ง่าย
2. การบริการไม่สามารถเก็บรักษาได ้เหมือนสินค ้า ความไม่เหมือนทางกายภาพสินค ้า
การบริการจึง ไม่สามารถเตรียมการล่วงหน้าไว ้ก่อนแล ้วเก็บรักษาไว ้ได ้เหมือนสินค ้า
สินค ้าสามารถรองรับความผันผวนของ อุปสงค์ในกรณีเป็นสินค ้าทางกายภาพที่จับ
3.
ลักษณะ
ของการ
จัดซื้อ
สินค ้า
3. ลูกค ้าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริการ ลูกค ้าได ้รับการเสนอในสิ่งที่ดีที่สุดในบริการที่
ต ้องการ ตัวอย่างเช่น ผู้ป่ วยที่มาพบแพทย์ ลูกค ้ามาพบช่างตัดผม และเจ ้าของพาสัตว์เลี้ยง
มาหาสัตวแพทย์ เป็นต ้น
4. ศูนย์บริการขนาดเล็กใช ้เพื่อการบริการ ศูนย์บริการไม่ใช่โรงงานผลิตสินค ้าที่มีการเก็บ
สินค ้าและ กระจายสินค ้า ศูนย์บริการขนาดเล็กถูกใช ้เพื่อการบริการลูกค ้า ในกรณีของธุรกิจที่
ใช ้โรงงานผลิตสินค ้า โรงงาน ขนาดใหญ่สามารถสร ้างขึ้นเพื่อผลประโยชน์ด ้านขนาดของ
ความประหยัด สิ่งอานวยการบริการมักใช ้บริการ ทางการตลาดในสถานที่ที่อยู่ใกล ้วิธีนี้ธุรกิจ
จะต ้องตั้งอยู่ใกล ้ลูกค ้าหลัก ในกรณีโรงงานผลิตสินค ้าควรมีที่ตั้ง เหมาะสมในการขนส่งสินค ้า
ไปยังลูกค ้าได ้สะดวกและในเวลาที่ต ้องการก็ตาม การพัฒนาเทคโนโลยีที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงนาไปสู่การใช ้เครื่องจักรกลมากขึ้น ตัวอย่างเช่น เครื่อง
5. การบริการมุ่งเน้นการใช ้แรงงาน ธุรกิจบริการส่วนใหญ่มุ่งเน้นการใช ้แรงงานในหลายกรณี
อย่างไร เบิกถอนอัตโนมัติของธนาคาร เครื่องซักผ ้าอัตโนมัติที่ทางานแทนแรงงานคนมากขึ้น
6. การบริการมีการตอบสนองในเวลาสั้น ในกรณีของสินค ้าที่จับต ้องได ้มีเวลานาที่ยาวนาน
(ตัวอย่างเช่น เวลาที่ใช ้เริ่มตั้งแต่การเตรียมการ การผลิตตามคาสั่งซื้อ จนถึงเวลาการส่งมอบ
สินค ้า) เวลานา สามารถ แสดงให ้เห็นเป็นจานวนชั่วโมงการทางาน เป็นวัน เป็นสัปดาห์ หรือ
เดือน ส่วนในกรณีของการบริการไม่สามารถ จัดเก็บเป็นสินค ้าได ้เช่น ลูกค ้าที่ฝืนเข ้าคิวใน
ธนาคาร เขาจะหงุดหงิดอารมณ์เสียถ ้าต ้องรอคอยนานจนเกินไป กว่าจะได ้รับบริการ
โดยเฉพาะเมื่อการบริการตามล่าคับมีความล่าช ้าและไม่ดี
7. คุณภาพบริการยากต่อการวัดผล มาตรฐานคุณภาพของตัวสินค ้าคือข ้อกาหนด และ
คุณภาพของ สินค ้าเหล่านี้สามารถตรวจสอบกับข ้อกาหนดได ้ในกรณีของการบริการไม่ใช่
3.
ลักษณะ
ของการ
จัดซื้อ
สินค ้า
สินค ้าทุน เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช ้ใน
โรงงานผลิตสินค ้าและบริการ เครื่องจักรเหล่านี้มัก จะมีราคาแพง
และในหลายกรณีจะต ้องทาเป็นพิเศษตามข ้อกาหนดการจัดซื้อ
บางครั้งสาหรับเครื่องจักรเพื่อการผลิตและการจัดส่งอาจ
ต ้องใช ้เวลาในการผลิต โดยเฉพาะในกรณี เครื่องจักรพิเศษ
บริการหลังการขายจึงเป็นสิ่งสาคัญ เครื่องจักรจะต ้องมีการติดตั้ง
จนกระทั่งถึงการปฏิบัติงาน เพื่อสนองความพึงพอใจของผู้ขาย
การติดต่ออย่างใกล ้ชิดและต่อเนื่องกับผู้ชายหลังการสั่งซื้อ
เครื่องจักร เป็น ความจาเป็นเพื่อให ้มั่นใจว่าเครื่องจักรผลิตได ้ตาม
กาหนดการ สินค ้าทุนโดยทั่วไปมีราคาแพง ธุรกิจจาเป็นต ้องมีการ
วางแผนงบประมาณทางการเงินอย่างระมัดระวังเพื่อให ้มั่นใจได ้ว่า
ธุรกิจมีความสามารถที่จาเป็นอย่างเพียงพอและไม่มีปัญหาต่อ
สภาพคล่องทางการเงินด ้วย
3.4 สินค ้าสาเร็จรูป
สินค ้าสาเร็จรูปคือ ผลผลิตจากกระบวนการผลิตที่พร ้อมสาหรับ
ผู้ขาย และจัดเก็บโดยธุรกิจเพื่อกระจายสินค ้าสู่ผู้บริโภค
สินค ้าสาเร็จรูปของวิสาหกิจธุรกิจหนึ่งอาจหมายถึง วัตถุดิบ
ชิ้นส่วนหลัก ชิ้นส่วนประกอบย่อยอื่นๆ เช่น ทอง สินค ้าสาเร็จรูป
ขั้นสุดท ้ายก็คือ เครื่องประดับ ทองแท่งเป็นวัตถุดิบของสร ้อยคอที่
4.การจัดการ
ผู้ค ้า
ผู้ค ้าคือ ผู้ขายสินค ้าต ้นน้าของซัพพลายเชน จากผู้ผลิตชิ้นส่วนไปยังลูกค ้า ผู้ค ้าเหล่านี้
มีความสาคัญมาก และเชื่อมโยงในซัพพลายเชน โดยมีบทบาททาให ้เกิดประสิทธิผล
แก่ธุรกิจจากบุคคลภายนอก
เป็นความจาเป็นสาหรับวิสาหกิจในทุกซัพพลายเชนที่ต ้องจัดการผู้ค ้าในเครือข่ายธุรกิจ
สามารถดาเนิน การใดโดยการตรวจประเมิน สรรหา ประเมินผล และเลือกผู้ค ้าที่
เหมาะสมที่สุด ธุรกิจสามารถพัฒนาผู้ค ้าที่ได ้รับ การคัดเลือกและสามารถสร ้าง
ความสัมพันธ์อย่างใกล ้ชิดจนเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจในระยะยาวได ้
5.กิจกรรมสร ้าง
ประสิทธิภาพใน
ช่องทางโลจิสติกส์
มีหลากหลายกิจกรรมที่ทาให ้มั่นใจในประสิทธิภาพกลุ่มงานโลจิสติกส์ที่สาคัญ ได ้แก่
5.1 ระบบทันเวลาพอดี
ระบบทันเวลาพอดี (Just in Time - JIT) เป็นที่รู้จักกันในวิสาหกิจทั่วไป กิจกรรมในระบบ
ทันเวลา พอดีได ้รับการยอมรับเป็นอย่างดีของธุรกิจยุคใหม่ ด ้วยการเตรียมวัตถุดิบล่วงหน้า
ก่อนที่จะมีความต ้องการใน กระบวนการผลิต ส่งผลให ้การจัดเก็บสินค ้าคงคลังและลดของ
เสียต่าสุด ในกรณีของผู้ค ้าส่งและผู้ค ้าปลีก ระบบ ทันเวลาพอดีสามารถลดเงินลงทุนในสินค ้า
ได ้อย่างมาก ระบบทันเวลาพอดียังสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ ช่องทางโลจิสติกส์โดยรวม
อีกด ้วย
5.2 การวิเคราะห์คุณค่า
การวิเคราะห์คุณค่าเป็นการทดสอบการออกแบบการใช ้งาน ต ้นทุนสินค ้า และ
วัตถุดิบ จุดมุ่งหมายของ การวิเคราะห์คุณค่าก็เพื่อลดต ้นทุนและยังคงรักษาคุณค่าของสินค ้า
สิ่งที่สามารถกระทาได ้ด ้วยการเปลี่ยนการ ออกแบบสินค ้า โดยมีการทดแทนระหว่างชิ้นส่วน
เดิมกับชิ้นส่วนใหม่ การขจัดความไม่ยืดหยุ่นของชิ้นส่วน หรือ การเปลี่ยนแหล่งอุปทาน
คุณภาพ และความเชื่อถือได ้ของชิ้นส่วนขั้นสุดท ้ายที่ควรเป็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการ
ปรับเปลี่ยนจะเป็นของเหมือนกันหรือดีกว่า
การวิเคราะห์คุณค่าเป็นการดาเนินการโดยคณะกรรมการที่มีอยู่เป็นสมาชิกที่
ประกอบด ้วยฝ่ ายต่างๆ ดังนี้ ฝ่ ายดหา ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายออกแบบ ฝ่ ายปฏิบัติการ ฝ่ าย
การเงิน และฝ่ ายต ้นทุน บุคลากรจากฝ่ ายออกแบบ สินค ้าของผู้ค ้าควรมีส่วนสนับสนุน
คณะกรรมการนี้ด ้วย สมาชิกของคณะกรรมการทางานร่วมกันเพื่อสร ้างรูปแบบ การออกแบบ
5.3 การจัดการการขนส่งขาเข ้า
ระบบการขนส่งขาเข ้าอ ้างอิงถึงสิ่งอานวยการขนส่งที่
ใช ้เพื่อการขนส่งของแต่ละธุรกิจ ในเครือข่ายโลจิส ติกรูปแบบการ
ขนส่งที่ใช ้มีผลโดยตรงต่อเวลาของคาสั่งซื้อที่แตกต่างทางธุรกิจ
และควรจัดการระบบขนส่งขาเข ้า อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให ้
มั่นใจการไหลของสินค ้าเข ้าอย่างสม่าเสมอ และมาถึงตามทาหนด
วันเวลาที่ต ้องการ
5.4 การจัดการคุณภาพโดยรวม
มีการมุ่งเน้นมาก่อนแล ้วว่าสินค ้าคงคลังจะต ้องลด
ระดับให ้ต่าที่สุด เพื่อการบรรลุผลนี้ ในช่วงเวลาเดียวกัน ก็ต ้องทา
ให ้มั่นใจในสินค ้าคงคลังที่พอเพียง เวลานาจะต ้องลดลง เปลี่ยน
การมุ่งเน้นจากคุณภาพในกระบวนการ ผลิตสู่การมุ่งเน้นคุณภาพ
โดยรวมของธุรกิจ โดยเฉพาะการให ้ความสนใจเป็นพิเศษในพื้นที่
บริการที่เชื่อมต่อกับ ลูกค ้าและสร ้างความพึงพอใจสูงสุด แนวคิด
นี้เรียกว่า “การจัดการคุณภาพโดยรวม” กลยุทธ์การจัดการ
คุณภาพ โดยรวมเกี่ยวกับองค์ประกอบโดยรวม ดังนี้
1. ความมุ่งหวังคุณภาพ คุณภาพควรเป็นความมุ่งหวังของ
บุคลากรทั้งหมดของธุรกิจ บุคลากรจะต ้อง ได ้รับการจูงใจให ้
บรรลุระดับคุณภาพสากลและมีการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลลัพธ์ก็เพื่อให ้สินค ้าและ บริการมีคุณภาพสูงขึ้นในราคาต่าลง
ซึ่งควรสร ้างความประทับใจให ้แก่ผู้บริโภคได ้อย่างสม่าเสมอ
2. จุดประสงค์เอกภาพ หมายถึง การจัดการและบุคลากรที่มีอยู่
ทั้งหมดเห็นความสาคัญของการแข่งขัน และการอยู่รอดในระยะ
3. บุคลากรที่เกี่ยวข ้องและการกระจายอานาจ บุคลากรที่เกี่ยวข ้องหมายถึง พนักงานที่
ได ้รับการ มอบหมายในทุกระดับของกระบวนการคิดในธุรกิจ ผลลัพธ์คือ พนักงานมีความ
รับผิดชอบต่อสิ่งที่ทาหรือความ ล ้มเหลว ความรู้ที่เขารับผิดชอบสาหรับการตัดสินใจควร
ได ้รับการส่งเสริมและจูงใจให ้ทางานดีขึ้น มีข ้อมูลที่ถูกต ้อง ในการตัดสินใจ พนักงานที่
เกี่ยวข ้องจะต ้องพร ้อมกับการกระจายอานาจให ้ถูกต ้อง มีการเพิ่มความรับผิดชอบ และ เพิ่ม
อานาจการกาหนดปัญหา การค ้นหาสาเหตุ และการนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อการแก ้ไขปัญหา
ได ้ทันที
4.มุ่งเน้นผู้บริโภค พนักงานทุกคนขององค์กรจะต ้องมุ่งเน้นผู้บริโภคร่วมกัน พนักงานควร
ทราบว่าใคร เป็นผู้บริโภคของธุรกิจ และควรดูแลเอาใจใส่เขาเหล่านั้นเป็นอย่างดีเหมือนดั่ง
ลูกค ้าขาประจาของเรา เป็นสิ่งสาคัญ ที่ต ้องตระหนักว่าสินค ้าขั้นสุดท ้ายของผู้ค ้าอาจจะ
เป็นวัตถุดิบของลูกค ้าได ้ควรให ้ผู้ค ้าจัดหาสินค ้าที่มีคุณภาพสูง จัดส่งตรงเวลา และบริการ
ด ้วยใจสาหรับลูกค ้าของธุรกิจ
5. แนวทางวิทยาศาสตร์ ตัวแบบทางสถิติควรใช ้วัดผลได ้การควบคุมผลปฏิบัติการ
คุณภาพ การ ปรับปรุง ตัวแบบเชิงปริมาณเหล่านี้เป็นความจริงและเป็นสาระสาคัญในการ
จัดการคุณภาพ
6. การผูกมัดระยะยาว คุณภาพองค์รวมคือ วิถีของการดารงอยู่ เป็นกระบวนทัศน์ใหม่ของ
การจัดการ ซึ่ง อาจเป็นเพียงผลลัพธ์ที่ดีเลิศหลังช่วงเวลาอันยาวนาน เป็นทั้งข ้อผูกมัด
ระยะยาวระหว่างธุรกิจ ผู้ค ้า ลูกค ้า และ ลูกค ้าขาประจา การรวมพลังกิจกรรมทั้งหมดของ
ธุรกิจเพื่อบรรลุมาตรฐานสาหรับการจัดการคุณภาพองค์รวม ในระบบ ISO 9000 คืองาน
8. ทีมงาน การศึกษา และการฝึกอบรม งานการจัดการคุณภาพโดยรวมที่ดีที่สุด พนักงาน
ทั้งหมดต ้อง
ทางานกันเป็นทีมเดียวกัน พนักงานจะต ้องมีความภูมิใจในงานและความเป็นพนักงานของ
องค์กร เป็นความ ปรารถนาในรูปแบบมิตรภาพระหว่างพนักงานขององค์กร ผู้ค ้า และ
ผู้บริโภค วัฒนธรรมความมั่นใจสร ้างจาก การทางานเป็นทีมพนักงานจาเป็นต ้องฝึกทักษะ
เพื่อส่งงานคุณภาพสูงระหว่างกัน และเป็นสมาชิกที่ทรงคุณค่าของทีมงาน การศึกษาและ
การฝึกอบรมเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาทีมงานนี้ เป็นหนึ่งเหตุผลว่าทาไมองค์กรที่ประสบ
ความ สาเร็จจึงมีนโยบายสากลในการพัฒนาทักษะของบุคลากรตลอดเวลา
9. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การจัดการคุณภาพโดยรวมไม่สามารถกาหนดบทบาทหน้าที่ที่
เกี่ยวข ้อง ในสิ่งแวดล ้อมตายตัว คุณภาพของสินค ้าและบริการจาเป็นต ้องปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่อง การปรับปรุงที่ต่อเนื่องใน ทักษะของพนักงาน การพัฒนากระบวนการที่เกิดขึ้น และ
รูปแบบสิ่งแวดล ้อม เป็นส่วนสาคัญของกระบวนการ จัดการคุณภาพโดยรวม
6.การจัดการต ้นทุน
การจัดหา
หลายธุรกิจใช ้จ่ายเงินจานวนมากในการจัดหาสินค ้าและบริการ การประหยัด
เงินจาอย่างมีประสิทธิผลมีส่วนสาคัญต่อกาไรสุทธิของธุรกิจเพิ่มขึ้น วิถีทางที่
ดีที่สุดก็คือการลดต ้นทุนการจัดหา โดยมี หลายธุรกิจใช ้จ่ายเงินจานวนมาก
ในการจัดหาสินค ้าและบริการ การประหยัดเงินจากการควบคุมต ้นทุน การ
กาหนดเป็นโครงงานลดต ้นทุน การจัดซื้อเก็งกาไร การจัดซื้อล่วงหน้า การ
จัดการเปลี่ยนแปลงราคา สัญญา จานวนการจัดซื้อไร ้สินค ้าคงคลัง หรือการ
จัดซื้อแบบทันเวลาพอดีกการควบคุมต ้นทุน
บทสรุป
ในบทนี้ได ้อธิบายถึงบทบาทกลยุทธ์การจัดหาและลักษณะการ
จัดการการจัดหา มีการแยกความแตกต่าง ระหว่างชนิดของ
สินค ้า การจัดการผู้ค ้าอย่างมีประสิทธิผลคืองานที่สาคัญ และมี
การอธิบายถึงกระบวนการการ คัดเลือกผู้ค ้าที่เหมาะสม กิจกรรม
ที่ทาให ้มั่นใจในช่องทางโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพที่แสดงให ้
เห็น และรูปแบบ ความแตกต่างของการจัดการต ้นทุนการจัดหา
ที่มีการแยกแยะและพรรณนา
จัดทาโดย นายเกีรยร์ติศักดิ์ ศรีดอกไม ้
6421297005

More Related Content

Similar to การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx

บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6praphol
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 4-สารสนเทศ
บทที่ 4-สารสนเทศบทที่ 4-สารสนเทศ
บทที่ 4-สารสนเทศSiriwan Wisetsing
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์filjerpark
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่arm_smiley
 
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxบทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงUtai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazadaปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazadassuser2a5292
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 

Similar to การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx (20)

บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
096 kuntinun
096 kuntinun096 kuntinun
096 kuntinun
 
บทที่ 4-สารสนเทศ
บทที่ 4-สารสนเทศบทที่ 4-สารสนเทศ
บทที่ 4-สารสนเทศ
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxบทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
 
Data
DataData
Data
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
 
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazadaปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 

การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx

  • 2. 1.บทบาทกลยุทธ์ การจัดหา ก่อนที่จะเริ่มเข ้าสู่เนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการการจัดหาที่จะนาเสนอต่อไป ขอทบทวน เกี่ยวกับตาแหน่งของ กิจกรรมการจัดหาในแผนโลจิสติกส์ (ดูรูปที่ 1.8 ในบทที่ 1 ประกอบ การบูรณาการตั้งแต่ผู้ขาย ผู้ค ้าส่ง ผู้ค ้าปลีก ผู้บริโภค และผู้ที่เกี่ยวข ้อง) ซึ่งจะเห็นได ้ว่าการจัดหานั้นเป็นกิจกรรมแรกที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการเคลื่อนที่ ของสารสนเทศและ พัสดุ ดังนั้น เพื่อให ้การเริ่มต ้นของแผนโลจิสติกส์เป็นไปอย่างถูกต ้องและมีประสิทธิภาพ จึง มีความ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต ้องเรียนรู้และทาความเข ้าใจเกี่ยวกับความหมายและบทบาทของการจัดหาอย่าง ถูกต ้องชัดเจนเสียก่อน การจัดหา หมายถึง กระบวนการค ้นหาและคัดเลือกผู้ค ้าที่สามารถตอบสนองความต ้องการ ด ้านการจัดซื้อ สินค ้า/บริการเพื่อการผลิตหรือการขายที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งถือว่าเป็นบทบาทหนึ่งที่มี ความสาคัญยิ่งต่อองค์กร เนื่องจากการจัดหานั้นเป็นกิจกรรมที่มีส่วนช่วยลดต ้นทุน รวมถึงการมีส่วน สนับสนุนการเพิ่มผลผลิตและเพิ่ม ผลกาไรให ้แก่องค์กร เพราะการจัดหานั้นมีส่วนอย่างมากในการติดต่อ กับผู้ค ้านอกองค์กร ซึ่งเป็นช่องทางในการ แสวงหาเพื่อรับรู้องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ได ้ตลอดเวลาโดยทั่วไปบทบาทของการจัดหาในเชิงกลยุทธ์นั้นแบ่งออกเป็น 2 บทบาทที่สาคัญคือ บทบาทในการเป็น ช่องทางในการเข ้าถึงตลาดภายนอก และบทบาทของการทาหน้าที่ด ้านการบูรณา การความสัมพันธ์กับหน่วยงาน อื่นขององค์กร
  • 3. 1.1 การเข ้าถึงตลาด ภายนอก 1.2 ความสัมพันธ์กับ บทบาทการจัดการ โลกภายนอกได ้เข ้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ที่มีการเปิดเผยธุรกิจใหม่ในแนวราบ องค์กรในยุค ปัจจุบันมีโอกาส กลายเป็นการแข่งขันข ้ามชาติและสามารถขยายตลาดแบบไร้พรมแดน ธุรกิจสามารถได ้รับการติดต่อจากท ้องถิ่น ไปทั่วโลก (คู่ค ้าท ้องถิ่นภายในอาณาเขตของ ประเทศและต่างประเทศในทุกสถานการณ์ การติดต่อกับภายนอก สามารถจัดส่งข ้อมูล และค ้นหาพัสดุที่ต ้องการ เทคโนโลยีใหม่ ผู้ค ้าที่มีศักยภาพ และปัจจัยสาคัญอื่นๆ ธุรกิจสามารถคัดเลือกและพัฒนาผู้ค ้าภายนอกได ้หลายวิธีที่จะสนับสนุนให ้ เกิดประสิทธิผลสูงขึ้นร่วมกัน ได ้ผู้ค ้าสามารถร่วมมือในกิจกรรมองค์กรซึ่งอาจนาเข ้าสู่ การประหยัดต ้นทุนและเวลาในการพัฒนาสินค ้า ตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมรถยนต์ ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงงานสามารถเชื่อมต่อกับผู้ค ้าทั้งหมดได ้ เมื่อผู้ออกแบบที่ สานักงานใหญ่มีการออกแบบรถยนต์คันใหม่ ผู้ออกแบบชิ้นส่วนสามารถตกแต่งชิ้นส่วน ให ้สมบูรณ์ในระบบ คอมพิวเตอร์ เขาสามารถออกแบบระบบเบรกและระบบส่งกาลัง เครื่องยนต์ในเวลาเดียวกันกับผู้ออกแบบรถยนต์ หลัก นี่เป็นการประหยัดอย่างมากในการออกแบบ รวมทั้งสามารถพัฒนาทั้งต ้นทุนและ เวลา รถยนต์คันใหม่ สามารถออกแบบและพัฒนาโดยใช ้เวลาเพียงครึ่งหนึ่งของเวลาที่ ใช ้ก่อนหน้านี้ เหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได ้โดยไม่ ต ้องมีผู้ออกแบบชิ้นส่วนในสานักงาน หลักของผู้ออกแบบ หน้าที่การจัดหาได ้มีการบูรณาการความสัมพันธ์กับบทบาทหน้าที่การ จัดการขององค์กร ดังนี้ 1. การจัดการระดับสูง การจัดการระดับสูงไว ้วางใจหน้าที่การจัดหาสาหรับ การจัดซื้อ การเช่า และการ เช่าซื้อของพัสดุทั้งหมด การบริการ และ ทรัพย์สิน 2. การจัดการการผลิตและปฏิบัติการ การจัดการการผลิตและการ ปฏิบัติการไว ้วางใจฝ่ ายจัดหาให ้จัด ซื้อเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือ พัสดุ ชิ้นส่วน และวัสดุสิ้นเปลือง ฝ่ ายจัดหายังทาให ้มั่นใจว่าการบริการหลังการ ขายเครื่องจักรเป็นไปด ้วยดีอีกด ้วย 3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ไว ้วางใจให ้ฝ่ าย จัดหาให ้จัดซื้อและสนับสนุน ด ้านเฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช ้สานักงาน เครื่อง เขียนแบบพิมพ์ และอื่น ๆ
  • 4. 1.2 ความสัมพันธ์กับ บทบาทการจัดการ 4. การจัดการการเงิน การจัดการการเงินไว ้วางใจฝ่ ายจัดหาให ้ จัดซื้อเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์เครื่องมือ สานักงาน เครื่องเขียนแบบ พิมพ์ คอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ ฝ่ ายจัดหาไว ้วางใจฝ่ ายการเงินใน ด ้านการเงินในการ จัดซื้อให ้ าเนินการอย่างราบรื่น 5. การจัดการสารสนเทศ สารสนเทศเป็นองค์ประกอบสาคัญยิ่ง ของการจัดการโลจิสติกส์ ฝ่ ายจัด จาเป็นต ้องใช ้ข ้อมูลที่ถูกต ้อง และทันเวลาเกี่ยวกับการบริหารระดับสินค ้าคงคลัง เวลานา และ ผู้ค ้า ที่แสดง ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานประจาวัน 6. การจัดการการตลาด ฝ่ ายการตลาดคือตัวเชื่อมต่อสุดท ้าย ในซัพพลายเชนระหว่างองค์กรกับลูก ภายนอก เกี่ยวกับข ้อมูล อุปสงค์เพื่อนาสินค ้าเข ้าสู่ระบบโลจิสติกส์ ในการกาหนดจานวน สินค ้าที่จาเป็นต่อการ จัดซื้อหรือผลิตสินค ้าให ้ตรงกับอุปสงค์ ของลูกค ้า การปฏิบัติการโลจิสติกส์ รวมทั้งกระบวนการจัดหาก็ ต ้องอาศัย ข ้อมูลจากฝ่ ายการตลาด ที่ทาหน้าที่พยากรณ์หรือ วิจัยปริมาณความต ้องการของลูกค ้าเป็นหลักใหญ่ในการดาเนิน งานโลจิสติกส์ให ้มีประสิทธิภาพ
  • 6. เกี่ยวข ้องกับการวางแผนระยะกลาง แผน ควรดาเนินการ โดยผู้บริหารระดับกลาง แผนกลยุทธ์ดาเนินการโดยผู้บริหารระดับสูง และนาแผนไปปฏิบัติ โดยผู้บริหารระดับกลาง วัตถุประสงค์ของการจัดหาเชิงกลวิธีควรมีดังนี้ • ศึกษาความแตกต่างของระบบการควบคุมสินค ้าคงคลังที่มีเพียงพอ เหมาะสมต่อตลาด และ นาไปสู่การ ปฏิบัติให ้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กร ศึกษาระบบการไหลของพัสดุที่เหมาะสมที่สุดภายในวิสาหกิจและธุรกิจ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ ให ้ดีที่สุด • พัฒนาระบบจัดหาในปัจจุบัน พร ้อมทั้งผู้ค ้ารายใหม่ ทาสัญญาระยะยาวกับผู้ค ้าที่มีความ เชื่อถือได ้ เกี่ยวข ้องกับการวางแผนระยะสั้นและการดาเนินการ โดยผู้บริหารระดับล่าง วัตถุประสงค์การปฏิบัติการตั้งอยู่บนพื้นฐานการวางแผนเชิงกลวิธี ซึ่ง ดาเนินการโดยผู้บริหาร ระดับกลางไว ้แล ้ว วัตถุประสงค์เหล่านี้มักแสดงเชิงประจักษ์และเชิง ปริมาณ วัตถุประสงค์การจัดหาเชิงปฏิบัติ การควรมีดังนี้ • ดาาเนินการวิเคราะห์สินค ้าคงคลัง •ลดระดับสินค ้าคงคลังให ้เหมาะสม • ปรับปรุงความสัมพันธ์กับลูกค ้าอย่างต่อเนื่อง • พัฒนาและช่วยเหลือผู้ค ้าด ้วยการสนับสนุนด ้านเทคนิคและด ้านอื่นๆ
  • 7. 2.2 การจัดการองค์กร องค์กร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของธุรกิจ ขนาดขององค์กร และ ระยะเวลาดาเนิน การตัดสินใจที่สาคัญในด ้านการจัดการองค์กรคือ การพิจารณาว่าบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานการจัดหา การ เช่น ใน บางองค์กรจัดให ้หน่วยงานที่ทาหน้าที่ด ้านการจัดหาอยู่ภายใต ้การ ดูแลของผู้บริหารระดับกลางและ ขึ้นตรงต่อผู้อานวยการจัดหา แต่ใน ปัจจุบันหลายองค์กรได ้จัดโครงสร ้างองค์กรโดยให ้หน่วยงานการ จัดหาอยู่ ภายใต ้ผู้จัดการโลจิสติกส์ ซึ่งขึ้นตรงต่อผู้บริหารระดับสูงอีกทีหนึ่ง สาหรับในเรื่องของรูปแบบการบริหารโครงสร ้างองค์กรการจัดหาที่มัก พบเห็นในปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทคือ การบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ และการบริหารจัดการแบบกระจายอานาจ นั่นคือ หากมีการจัดตั้ง หน่วยงาน น ฉพาะเพื่อดาเนินการจัดหาให ้กับทุกหน่วยงานของ องค์กรหรือทุกบริษัทในเครือ ก็จะเรียกว่าเป็น การบริหาร การจัดหา แบบรวมศูนย์ แต่ถ ้าทุกฝ่ ายหรือทุกสาขาขององค์กรต่างมีอานาจใน การดาเนินการจัดหาอย่างเป็น เอกเทศ จะเรียกว่าเป็น การบริหาร จัดการแบบกระจายอาานาจมอบหมาย 2.3 การนาองค์กร เนื่องจากประสิทธิภาพของงานการจัดหานั้นนับเป็นตัวแปรสาคัญ อย่างยิ่งต่อการดาเนินการวัดผลการ ปฏิบัติงานของส่วนงานอื่น ๆ ขององค์กร เช่น ในฝ่ ายการผลิต การวัดผลการปฏิบัติงานทั้งในด ้าน คุณภาพของ ของวัตถุดิบ และการส่งมอบวัตถุดิบเพื่อเข ้าสู่ กระบวนการผลิต หรือในด ้านของฝ่ ายการเงินนั้นก็จาเป็นที่จะต ้อง พึ่งพาฝ่ ายจัดหาให ้ช่วยประสานงานจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่มีราคา ประหยัดเพื่อไม่ก่อให ้เกิดความเสียเปรียบด ้าน นทุนต่อหน่วยการ ผลิต เป็นต ้น
  • 8. 2.4 การประสานงาน 2.5 การควบคุม บทบาทหน้าที่ของการจัดหานั้นนอกจากจะมีบทบาทในการ สนับสนุนองค์กรแล ้ว ยังช่วยในการประสาน ความสัมพันธ์ ระหว่างฝ่ ายอื่นๆ ไปพร ้อมกัน และยังมีบทบาทในการเป็นที่ ปรึกษาการเพิ่มศักยภาพให ้แก่ฝ่ าย อื่นด ้วย เช่น บุคลากร ฝ่ ายจัดหาสามารถแนะนาบุคลากรฝ่ ายผลิตในการจัดซื้อ เครื่องจักรและอุปกรณ์เครื่องมือ ที่เหมาะสมกับงาน หรือ แนะนาฝ่ ายการเงินในการจัดซื้อซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในระบบ การเงิน เป็นต ้น การควบคุมการจัดหาเพื่อให ้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ องค์กร โดยการควบคุมคุณภาพผ่านการจัดหา และการใช ้การ จัดหาเป็นตัวชี้บ่งศักยภาพการดาเนินการว่าเป็นไปตามที่ กาหนดไว ้หรือไม่ เช่น ในกรณีที่เกิด ส่วนต่างของต ้นทุนการ สั่งซื้อวัตถุดิบซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากเกณฑ์มาตรฐานเดิมที่มี อยู่ ในกรณีเช่นนี้หน้าที่ของ หน่วยงานการจัดหาคือ จะต ้อง ค ้นหาที่มาของความคลาดเคลื่อนนั้นว่ามาจากสาเหตุใด หาก เกิดจากปริมาณการ สั่งซื้อที่เปลี่ยนไป หรือเกิดจากความ ผิดพลาดในการคานวณสินค ้าคงคลังจึงทาให ้ต ้องสั่งซื้อ วัตถุดิบชนิดนั้นแบบ เร่งด่วน ทาให ้เกิดส่วนต่างในการ ดาเนินงานของคู่ค ้า ซึ่งเมื่อทราบสาเหตุแล ้ว ก็จะได ้นาไปหา แนวทางแก ้ไขได ้อย่างทันเวลา และเพื่อเตรียมการป้องกัน
  • 9. 3. ลักษณะ ของการ จัดซื้อสินค ้า ความหลากหลายของสินค ้าที่จัดซื้อโดยฝ่ ายจัดซื้อมีสินค ้าหลักที่มักจัดซื้อ ได ้แก่ วัตถุดิบ ชิ้นส่วนหลัก ชิ้นส่วนย่อยประกอบ สินค ้าทุน สินค ้าสาเร็จรูป และการบริการ 1. วัตถุดิบ หมายถึง สินค ้าที่ยังไม่มีการแปรรูป อาจจะมีลักษณะเป็นพืชผลทางการเกษตร กสิ กรรม แร่ธาตุต่าง ๆ ที่จะนาเข ้าสู่กระบวนการผลิตหรือแปรรูปเป็นสินค ้าต่อไป 2 ชิ้นส่วนหลัก หมายถึง สินค ้าที่มีการแปรรูปในระดับหนึ่งแต่ยังไม่เป็นสินค ้าสาเร็จรูปขั้น สุดท ้าย อาจ เป็นชิ้นส่วนที่จะนาไปประกอบในกระบวนการผลิต หรือนาไปซ่อมแซมเครื่องมือ อุปกรณ์การผลิต เช่น เสื้อผ ้าที่ ขึ้นรูปแล ้ว 3. ชิ้นส่วนย่อยประกอบ หมายถึง อะไหล่ที่ใช ้ในการประกอบชิ้นส่วนหลักตามข ้อที่ 2 ใน กระบวนการ ผลิตสินค ้า เช่น กระดุม ซิป ลูกไม ้ เป็นต ้น การบริการมีลักษณะที่แตกต่างจากสินค ้าอื่นๆ ดังนี้ 1.การบริการคือสิ่งที่สัมผัสไม่ได ้แต่อาจสูญเสียได ้การบริการมักเป็นสิ่งที่สัมผัสไม่ได ้ แต่อาจจะสูญเสียได ้ในกรณีอุตสาหกรรมบริการ เช่น ธนาคาร การบริการบรรจุภัณฑ์ การบริการมีลักษณะที่สัมผัสได ้และ สัมผัสไม่ได ้ในกรณีของธนาคารบริการลูกค ้า ธนาคารเสนอบริการสมุดเช็ค สัมผัสได ้) และความสะดวกในบัญชี ธนาคาร (สัมผัส ไม่ได ้) การบริการมีข ้อจากัดในเรื่องเวลา ซึ่งทาให ้สูญเสียลูกค ้าได ้ง่าย 2. การบริการไม่สามารถเก็บรักษาได ้เหมือนสินค ้า ความไม่เหมือนทางกายภาพสินค ้า การบริการจึง ไม่สามารถเตรียมการล่วงหน้าไว ้ก่อนแล ้วเก็บรักษาไว ้ได ้เหมือนสินค ้า สินค ้าสามารถรองรับความผันผวนของ อุปสงค์ในกรณีเป็นสินค ้าทางกายภาพที่จับ
  • 10. 3. ลักษณะ ของการ จัดซื้อ สินค ้า 3. ลูกค ้าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริการ ลูกค ้าได ้รับการเสนอในสิ่งที่ดีที่สุดในบริการที่ ต ้องการ ตัวอย่างเช่น ผู้ป่ วยที่มาพบแพทย์ ลูกค ้ามาพบช่างตัดผม และเจ ้าของพาสัตว์เลี้ยง มาหาสัตวแพทย์ เป็นต ้น 4. ศูนย์บริการขนาดเล็กใช ้เพื่อการบริการ ศูนย์บริการไม่ใช่โรงงานผลิตสินค ้าที่มีการเก็บ สินค ้าและ กระจายสินค ้า ศูนย์บริการขนาดเล็กถูกใช ้เพื่อการบริการลูกค ้า ในกรณีของธุรกิจที่ ใช ้โรงงานผลิตสินค ้า โรงงาน ขนาดใหญ่สามารถสร ้างขึ้นเพื่อผลประโยชน์ด ้านขนาดของ ความประหยัด สิ่งอานวยการบริการมักใช ้บริการ ทางการตลาดในสถานที่ที่อยู่ใกล ้วิธีนี้ธุรกิจ จะต ้องตั้งอยู่ใกล ้ลูกค ้าหลัก ในกรณีโรงงานผลิตสินค ้าควรมีที่ตั้ง เหมาะสมในการขนส่งสินค ้า ไปยังลูกค ้าได ้สะดวกและในเวลาที่ต ้องการก็ตาม การพัฒนาเทคโนโลยีที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงนาไปสู่การใช ้เครื่องจักรกลมากขึ้น ตัวอย่างเช่น เครื่อง 5. การบริการมุ่งเน้นการใช ้แรงงาน ธุรกิจบริการส่วนใหญ่มุ่งเน้นการใช ้แรงงานในหลายกรณี อย่างไร เบิกถอนอัตโนมัติของธนาคาร เครื่องซักผ ้าอัตโนมัติที่ทางานแทนแรงงานคนมากขึ้น 6. การบริการมีการตอบสนองในเวลาสั้น ในกรณีของสินค ้าที่จับต ้องได ้มีเวลานาที่ยาวนาน (ตัวอย่างเช่น เวลาที่ใช ้เริ่มตั้งแต่การเตรียมการ การผลิตตามคาสั่งซื้อ จนถึงเวลาการส่งมอบ สินค ้า) เวลานา สามารถ แสดงให ้เห็นเป็นจานวนชั่วโมงการทางาน เป็นวัน เป็นสัปดาห์ หรือ เดือน ส่วนในกรณีของการบริการไม่สามารถ จัดเก็บเป็นสินค ้าได ้เช่น ลูกค ้าที่ฝืนเข ้าคิวใน ธนาคาร เขาจะหงุดหงิดอารมณ์เสียถ ้าต ้องรอคอยนานจนเกินไป กว่าจะได ้รับบริการ โดยเฉพาะเมื่อการบริการตามล่าคับมีความล่าช ้าและไม่ดี 7. คุณภาพบริการยากต่อการวัดผล มาตรฐานคุณภาพของตัวสินค ้าคือข ้อกาหนด และ คุณภาพของ สินค ้าเหล่านี้สามารถตรวจสอบกับข ้อกาหนดได ้ในกรณีของการบริการไม่ใช่
  • 11. 3. ลักษณะ ของการ จัดซื้อ สินค ้า สินค ้าทุน เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช ้ใน โรงงานผลิตสินค ้าและบริการ เครื่องจักรเหล่านี้มัก จะมีราคาแพง และในหลายกรณีจะต ้องทาเป็นพิเศษตามข ้อกาหนดการจัดซื้อ บางครั้งสาหรับเครื่องจักรเพื่อการผลิตและการจัดส่งอาจ ต ้องใช ้เวลาในการผลิต โดยเฉพาะในกรณี เครื่องจักรพิเศษ บริการหลังการขายจึงเป็นสิ่งสาคัญ เครื่องจักรจะต ้องมีการติดตั้ง จนกระทั่งถึงการปฏิบัติงาน เพื่อสนองความพึงพอใจของผู้ขาย การติดต่ออย่างใกล ้ชิดและต่อเนื่องกับผู้ชายหลังการสั่งซื้อ เครื่องจักร เป็น ความจาเป็นเพื่อให ้มั่นใจว่าเครื่องจักรผลิตได ้ตาม กาหนดการ สินค ้าทุนโดยทั่วไปมีราคาแพง ธุรกิจจาเป็นต ้องมีการ วางแผนงบประมาณทางการเงินอย่างระมัดระวังเพื่อให ้มั่นใจได ้ว่า ธุรกิจมีความสามารถที่จาเป็นอย่างเพียงพอและไม่มีปัญหาต่อ สภาพคล่องทางการเงินด ้วย 3.4 สินค ้าสาเร็จรูป สินค ้าสาเร็จรูปคือ ผลผลิตจากกระบวนการผลิตที่พร ้อมสาหรับ ผู้ขาย และจัดเก็บโดยธุรกิจเพื่อกระจายสินค ้าสู่ผู้บริโภค สินค ้าสาเร็จรูปของวิสาหกิจธุรกิจหนึ่งอาจหมายถึง วัตถุดิบ ชิ้นส่วนหลัก ชิ้นส่วนประกอบย่อยอื่นๆ เช่น ทอง สินค ้าสาเร็จรูป ขั้นสุดท ้ายก็คือ เครื่องประดับ ทองแท่งเป็นวัตถุดิบของสร ้อยคอที่
  • 12. 4.การจัดการ ผู้ค ้า ผู้ค ้าคือ ผู้ขายสินค ้าต ้นน้าของซัพพลายเชน จากผู้ผลิตชิ้นส่วนไปยังลูกค ้า ผู้ค ้าเหล่านี้ มีความสาคัญมาก และเชื่อมโยงในซัพพลายเชน โดยมีบทบาททาให ้เกิดประสิทธิผล แก่ธุรกิจจากบุคคลภายนอก เป็นความจาเป็นสาหรับวิสาหกิจในทุกซัพพลายเชนที่ต ้องจัดการผู้ค ้าในเครือข่ายธุรกิจ สามารถดาเนิน การใดโดยการตรวจประเมิน สรรหา ประเมินผล และเลือกผู้ค ้าที่ เหมาะสมที่สุด ธุรกิจสามารถพัฒนาผู้ค ้าที่ได ้รับ การคัดเลือกและสามารถสร ้าง ความสัมพันธ์อย่างใกล ้ชิดจนเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจในระยะยาวได ้
  • 13. 5.กิจกรรมสร ้าง ประสิทธิภาพใน ช่องทางโลจิสติกส์ มีหลากหลายกิจกรรมที่ทาให ้มั่นใจในประสิทธิภาพกลุ่มงานโลจิสติกส์ที่สาคัญ ได ้แก่ 5.1 ระบบทันเวลาพอดี ระบบทันเวลาพอดี (Just in Time - JIT) เป็นที่รู้จักกันในวิสาหกิจทั่วไป กิจกรรมในระบบ ทันเวลา พอดีได ้รับการยอมรับเป็นอย่างดีของธุรกิจยุคใหม่ ด ้วยการเตรียมวัตถุดิบล่วงหน้า ก่อนที่จะมีความต ้องการใน กระบวนการผลิต ส่งผลให ้การจัดเก็บสินค ้าคงคลังและลดของ เสียต่าสุด ในกรณีของผู้ค ้าส่งและผู้ค ้าปลีก ระบบ ทันเวลาพอดีสามารถลดเงินลงทุนในสินค ้า ได ้อย่างมาก ระบบทันเวลาพอดียังสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ ช่องทางโลจิสติกส์โดยรวม อีกด ้วย 5.2 การวิเคราะห์คุณค่า การวิเคราะห์คุณค่าเป็นการทดสอบการออกแบบการใช ้งาน ต ้นทุนสินค ้า และ วัตถุดิบ จุดมุ่งหมายของ การวิเคราะห์คุณค่าก็เพื่อลดต ้นทุนและยังคงรักษาคุณค่าของสินค ้า สิ่งที่สามารถกระทาได ้ด ้วยการเปลี่ยนการ ออกแบบสินค ้า โดยมีการทดแทนระหว่างชิ้นส่วน เดิมกับชิ้นส่วนใหม่ การขจัดความไม่ยืดหยุ่นของชิ้นส่วน หรือ การเปลี่ยนแหล่งอุปทาน คุณภาพ และความเชื่อถือได ้ของชิ้นส่วนขั้นสุดท ้ายที่ควรเป็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการ ปรับเปลี่ยนจะเป็นของเหมือนกันหรือดีกว่า การวิเคราะห์คุณค่าเป็นการดาเนินการโดยคณะกรรมการที่มีอยู่เป็นสมาชิกที่ ประกอบด ้วยฝ่ ายต่างๆ ดังนี้ ฝ่ ายดหา ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายออกแบบ ฝ่ ายปฏิบัติการ ฝ่ าย การเงิน และฝ่ ายต ้นทุน บุคลากรจากฝ่ ายออกแบบ สินค ้าของผู้ค ้าควรมีส่วนสนับสนุน คณะกรรมการนี้ด ้วย สมาชิกของคณะกรรมการทางานร่วมกันเพื่อสร ้างรูปแบบ การออกแบบ
  • 14. 5.3 การจัดการการขนส่งขาเข ้า ระบบการขนส่งขาเข ้าอ ้างอิงถึงสิ่งอานวยการขนส่งที่ ใช ้เพื่อการขนส่งของแต่ละธุรกิจ ในเครือข่ายโลจิส ติกรูปแบบการ ขนส่งที่ใช ้มีผลโดยตรงต่อเวลาของคาสั่งซื้อที่แตกต่างทางธุรกิจ และควรจัดการระบบขนส่งขาเข ้า อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให ้ มั่นใจการไหลของสินค ้าเข ้าอย่างสม่าเสมอ และมาถึงตามทาหนด วันเวลาที่ต ้องการ 5.4 การจัดการคุณภาพโดยรวม มีการมุ่งเน้นมาก่อนแล ้วว่าสินค ้าคงคลังจะต ้องลด ระดับให ้ต่าที่สุด เพื่อการบรรลุผลนี้ ในช่วงเวลาเดียวกัน ก็ต ้องทา ให ้มั่นใจในสินค ้าคงคลังที่พอเพียง เวลานาจะต ้องลดลง เปลี่ยน การมุ่งเน้นจากคุณภาพในกระบวนการ ผลิตสู่การมุ่งเน้นคุณภาพ โดยรวมของธุรกิจ โดยเฉพาะการให ้ความสนใจเป็นพิเศษในพื้นที่ บริการที่เชื่อมต่อกับ ลูกค ้าและสร ้างความพึงพอใจสูงสุด แนวคิด นี้เรียกว่า “การจัดการคุณภาพโดยรวม” กลยุทธ์การจัดการ คุณภาพ โดยรวมเกี่ยวกับองค์ประกอบโดยรวม ดังนี้ 1. ความมุ่งหวังคุณภาพ คุณภาพควรเป็นความมุ่งหวังของ บุคลากรทั้งหมดของธุรกิจ บุคลากรจะต ้อง ได ้รับการจูงใจให ้ บรรลุระดับคุณภาพสากลและมีการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์ก็เพื่อให ้สินค ้าและ บริการมีคุณภาพสูงขึ้นในราคาต่าลง ซึ่งควรสร ้างความประทับใจให ้แก่ผู้บริโภคได ้อย่างสม่าเสมอ 2. จุดประสงค์เอกภาพ หมายถึง การจัดการและบุคลากรที่มีอยู่ ทั้งหมดเห็นความสาคัญของการแข่งขัน และการอยู่รอดในระยะ
  • 15. 3. บุคลากรที่เกี่ยวข ้องและการกระจายอานาจ บุคลากรที่เกี่ยวข ้องหมายถึง พนักงานที่ ได ้รับการ มอบหมายในทุกระดับของกระบวนการคิดในธุรกิจ ผลลัพธ์คือ พนักงานมีความ รับผิดชอบต่อสิ่งที่ทาหรือความ ล ้มเหลว ความรู้ที่เขารับผิดชอบสาหรับการตัดสินใจควร ได ้รับการส่งเสริมและจูงใจให ้ทางานดีขึ้น มีข ้อมูลที่ถูกต ้อง ในการตัดสินใจ พนักงานที่ เกี่ยวข ้องจะต ้องพร ้อมกับการกระจายอานาจให ้ถูกต ้อง มีการเพิ่มความรับผิดชอบ และ เพิ่ม อานาจการกาหนดปัญหา การค ้นหาสาเหตุ และการนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อการแก ้ไขปัญหา ได ้ทันที 4.มุ่งเน้นผู้บริโภค พนักงานทุกคนขององค์กรจะต ้องมุ่งเน้นผู้บริโภคร่วมกัน พนักงานควร ทราบว่าใคร เป็นผู้บริโภคของธุรกิจ และควรดูแลเอาใจใส่เขาเหล่านั้นเป็นอย่างดีเหมือนดั่ง ลูกค ้าขาประจาของเรา เป็นสิ่งสาคัญ ที่ต ้องตระหนักว่าสินค ้าขั้นสุดท ้ายของผู้ค ้าอาจจะ เป็นวัตถุดิบของลูกค ้าได ้ควรให ้ผู้ค ้าจัดหาสินค ้าที่มีคุณภาพสูง จัดส่งตรงเวลา และบริการ ด ้วยใจสาหรับลูกค ้าของธุรกิจ 5. แนวทางวิทยาศาสตร์ ตัวแบบทางสถิติควรใช ้วัดผลได ้การควบคุมผลปฏิบัติการ คุณภาพ การ ปรับปรุง ตัวแบบเชิงปริมาณเหล่านี้เป็นความจริงและเป็นสาระสาคัญในการ จัดการคุณภาพ 6. การผูกมัดระยะยาว คุณภาพองค์รวมคือ วิถีของการดารงอยู่ เป็นกระบวนทัศน์ใหม่ของ การจัดการ ซึ่ง อาจเป็นเพียงผลลัพธ์ที่ดีเลิศหลังช่วงเวลาอันยาวนาน เป็นทั้งข ้อผูกมัด ระยะยาวระหว่างธุรกิจ ผู้ค ้า ลูกค ้า และ ลูกค ้าขาประจา การรวมพลังกิจกรรมทั้งหมดของ ธุรกิจเพื่อบรรลุมาตรฐานสาหรับการจัดการคุณภาพองค์รวม ในระบบ ISO 9000 คืองาน
  • 16. 8. ทีมงาน การศึกษา และการฝึกอบรม งานการจัดการคุณภาพโดยรวมที่ดีที่สุด พนักงาน ทั้งหมดต ้อง ทางานกันเป็นทีมเดียวกัน พนักงานจะต ้องมีความภูมิใจในงานและความเป็นพนักงานของ องค์กร เป็นความ ปรารถนาในรูปแบบมิตรภาพระหว่างพนักงานขององค์กร ผู้ค ้า และ ผู้บริโภค วัฒนธรรมความมั่นใจสร ้างจาก การทางานเป็นทีมพนักงานจาเป็นต ้องฝึกทักษะ เพื่อส่งงานคุณภาพสูงระหว่างกัน และเป็นสมาชิกที่ทรงคุณค่าของทีมงาน การศึกษาและ การฝึกอบรมเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาทีมงานนี้ เป็นหนึ่งเหตุผลว่าทาไมองค์กรที่ประสบ ความ สาเร็จจึงมีนโยบายสากลในการพัฒนาทักษะของบุคลากรตลอดเวลา 9. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การจัดการคุณภาพโดยรวมไม่สามารถกาหนดบทบาทหน้าที่ที่ เกี่ยวข ้อง ในสิ่งแวดล ้อมตายตัว คุณภาพของสินค ้าและบริการจาเป็นต ้องปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง การปรับปรุงที่ต่อเนื่องใน ทักษะของพนักงาน การพัฒนากระบวนการที่เกิดขึ้น และ รูปแบบสิ่งแวดล ้อม เป็นส่วนสาคัญของกระบวนการ จัดการคุณภาพโดยรวม
  • 17. 6.การจัดการต ้นทุน การจัดหา หลายธุรกิจใช ้จ่ายเงินจานวนมากในการจัดหาสินค ้าและบริการ การประหยัด เงินจาอย่างมีประสิทธิผลมีส่วนสาคัญต่อกาไรสุทธิของธุรกิจเพิ่มขึ้น วิถีทางที่ ดีที่สุดก็คือการลดต ้นทุนการจัดหา โดยมี หลายธุรกิจใช ้จ่ายเงินจานวนมาก ในการจัดหาสินค ้าและบริการ การประหยัดเงินจากการควบคุมต ้นทุน การ กาหนดเป็นโครงงานลดต ้นทุน การจัดซื้อเก็งกาไร การจัดซื้อล่วงหน้า การ จัดการเปลี่ยนแปลงราคา สัญญา จานวนการจัดซื้อไร ้สินค ้าคงคลัง หรือการ จัดซื้อแบบทันเวลาพอดีกการควบคุมต ้นทุน
  • 18. บทสรุป ในบทนี้ได ้อธิบายถึงบทบาทกลยุทธ์การจัดหาและลักษณะการ จัดการการจัดหา มีการแยกความแตกต่าง ระหว่างชนิดของ สินค ้า การจัดการผู้ค ้าอย่างมีประสิทธิผลคืองานที่สาคัญ และมี การอธิบายถึงกระบวนการการ คัดเลือกผู้ค ้าที่เหมาะสม กิจกรรม ที่ทาให ้มั่นใจในช่องทางโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพที่แสดงให ้ เห็น และรูปแบบ ความแตกต่างของการจัดการต ้นทุนการจัดหา ที่มีการแยกแยะและพรรณนา จัดทาโดย นายเกีรยร์ติศักดิ์ ศรีดอกไม ้ 6421297005