SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ
สารสนเทศสามารถหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศ
จะประกอบไปด้วย ขนาด ปริมาณและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศ
สามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยาหรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถ
เป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น
สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน
ซึ่งทาให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะ
ใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู้ คาสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก และการกระตุ้น
ภายใน การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการบกวนการ
สื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน
ขั้นตอนการทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่ง
มีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา
 2. การตรวจสอบข้อมูล มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมี
การตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้า
ในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้
2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้
 1. การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยก
กลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน
 2. การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการ
จัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร
 3. การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมี
การสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนามาใช้ประโยชน์
 4. การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วน
ข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้
3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งานประกอบด้วย
 1.การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูล
มาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ
 2.การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้
งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยา
รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน
ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา
 3.การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษา
ไว้หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อ
การทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
1.มีความถูกต้องแม่นยา (accuracy) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรงกับความเป็น
จริงและเชื่อถือได้สารสนเทศบางอย่างมีความสาคัญ หากไม่ตรงกับความเป็นจริง
แล้ว อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้
2.ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง
ข้อมูลที่ป้อนให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีความเป็นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
3.มีความสมบูรณ์ครอบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความ
ครบถ้วน สารสนเทศที่มีความครบถ้วนเกิดจากการเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน
4. มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะต้อง
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มา
ได้ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศได้
องค์ประกอบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ที่ใช้ประมวลผล
หรือสร้างสาระสนเทศ
2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานตาม
ความต้องการของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
3. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information) คือ ข้อเท็จจริง
ต่างๆทั้งที่ผ่านการประมวลผลและยังไม่ผ่านการประมวลผล อยู่ในรูปของ
ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ ฯลฯ
4. บุคลากร (People ware) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
5. กระบวนการทางาน (Procedure) คือ ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้
สารสนเทศ ตามที่ต้องการ
5.1 การนาเข้า (Input) เป็นการนาข้อมูลและสารสนเทศต่างๆที่ได้จากการ
รวบรวมเข้าสู่ระบบ
5.2 การประมวลผล(Process) เป็นการนาข้อมูลที่ได้ไปประมวลผลตาม
เงื่อนไขที่กาหนดโดยการเรียงลาดับ การคานวณ ฯลฯ
5.3 การแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมา
แสดงในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อส่งเสริมหรือช่วยในการตัดสินใจ
5.4 การจัดเก็บ (Storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งหมดที่
เกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสารสนเทศสามารถนามาใช้ได้
ใหม่ในอนาคต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หรือ เอ็มไอเอส หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์
หรือขั้นตอนที่ช่วยในการจัดเก็บสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารและการจัดการ
องค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการนี้จะมีส่วน
ครอบคลุมถึง บุคคล เอกสาร เทคโนโลยี และขั้นตอนในการทางาน เพื่อที่จะ
แก้ปัญหาทางธุรกิจไม่ว่าทาง ราคา สินค้า บริการ หรือกลยุทธต่างๆ ระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการจะแตกต่างจากระบบสารสนเทศทั่วไป กล่าวคือ
ระบบนี้จะใช้ในการวิเคราะห์ระบบอื่นๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ ในทางวิชาการ
คาว่าระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการนี้ถูกใช้ในส่วน
ของรูปแบบการจัดการข้อมูล
คุณสมบัติของระบบสารสนเทศ
1.ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความ
เที่ยงตรงและเชื่อถือได้
2.ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) จากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหาร
ทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหาร
ได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ
ตัดสินใจ หรือการดาเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3.ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมี
ความสมบูรณ์ที่จะช่วยทาให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง
4.การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศของ
องค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้อง
ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้
5.ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่
สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์
ข้อมูลที่ใช้
ระดับของสารสนเทศในการตัดสินใจ
1.ระดับบุคคล คือ ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลนั้น จะ
เป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะสร้างและใช้สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการทางานส่วนตัวเท่านั้น
2. ระดับกลุ่ม คือ ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มนั้น จะเป็น
การที่กลุ่มของคนในองค์กรที่ต้องทางานร่วมกันจะสร้างและใช้สารสนเทศ
ร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดาเนินงานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. ระดับองค์กร คือ ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะ
เป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่น แผนการขายและการตลาด แผนการผลิต
แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและการบัญชี เป็นต้น มีการสร้างและ
ส่งผ่านสารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศใน
รูปแบบรายงาน หรือกราฟเพื่อให้ผู้บริหารนาไปประกอบการตัดสินใจได้
ระบบฐานข้อมูล
หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนามาจัดเก็บในที่
เดียวกัน โดยข้อมูลอาจเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย
ๆ แฟ้มข้อมูล แต่ต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเพื่อ
ประสิทธิภาพ
การจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลมีข้อดีกว่าการจัดเก็บข้อมูลใน
ระบบแฟ้มข้อมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้
• มีการใช้ข้อมูลร่วมกัน (data sharing)
• ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล (reduce data redundancy)
• ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น (improved data integrity)
• เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล (increased security)
• มีความเป็นอิสระของข้อมูล (data independency)
โครงสร้างในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูล ประกอบด้วย 3 แฟ้ม ในแต่ละแฟ้มมีความสัมพันธ์
ถึงกัน เช่น ข้อมูลในแฟ้มนักเรียนจะมีส่วนที่เป็นตัวชี้ที่บอกความสัมพันธ์กับแฟ้ม
อาจารย์ว่าอาจารย์ประจาชั้นเป็นใคร
กรณีที่การค้นหาข้อมูลของนักเรียน เช่น นักเรียนที่มีเลขประจาตัวนักเรียน 008
มีชื่อว่าอะไร มีใครเป็นอาจารย์ประจาชั้น และเรียนวิชาอะไร ลักษณะการค้นหาคือ
ค้นหาในแฟ้มนักเรียนทีละระเบียนจนพบระเบียนที่มีเลขประจาตัว 008 ก็จะทราบ
ชื่อนักเรียนและมีตัวชี้ที่ระบุว่าข้อมูลนี้สัมพันธ์กับข้อมูลในแฟ้มอาจารย์ทาให้ทราบ
ว่าอาจารย์ชื่ออะไร และจะทราบตัวชี้ที่ระบุต่อว่าอาจารย์สอนวิชาอะไร เป็นต้น
ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความหมายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
สมจิตร อาจอินทร์และงามนิจ อาจอินทร์ (2540:26) ให้ความหมายว่า สัมพันธ์เป็น
ฐานข้อมูลที่มีความนิยมใช้กันมากในปัจจุบันซึ่งจะสามารถใช้งานได้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกระดับตั้งแต่ไมโครคอมพิวเตอร์จนกระทั่งถึงเมนเฟรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) ซึ่งภายในตารางก็จะ
แบ่งออกเป็นแถว (row) และ คอลัมน์ (column)การแสดงความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลระหว่างแฟ้มข้อมูล จะสามารถมองเห็นได้จากตัวข้อมูลที่เก็บอยู่ใน
แฟ้มข้อมูลเลยายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
องค์ประกอบของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้
1) ส่วนโครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) เป็นส่วนการจัดเก็บข้อมูล
ในรูปแบบ
ของตารางที่ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว
2) ส่วนจัดการข้อมูล (Data Manipulation) เป็นส่วนของคาสั่งที่ใช้
จัดการข้อมูลที่ถูก
เก็บอยู่ในฐานข้อมูล (อยู่ในรปแบบของภาษา SQL)
3) ส่วนควบคมความคงสภาพของข้อมูล(Data Integrity) เป็นข้อกาหนด
หรือกฎเกณฑ์
ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
ผู้จัดทา
1. นางสาวพิชญ์สินี วิเศษสิงห์ เลขที่11
2. นางสาวภาฏิญา ทิมอรรถ เลขที่12
3. นางสาววริศรา คาทา เลขที่13
4. นางสาวสุภาพร มานพพนาไพร เลขที่16
5. นางสาวรัตนาพร สืบพลาย เลขที่22
6. นางสาวเกสรา ครชาตรี เลขที่28
7. นางสาวนิตย์รดี บัวทอง เลขที่31
8.นางสาวพนัสดา กัลยาฤทธิ์ เลขที่32
9. นางสาวศิริวรรณ วิเศษสิงห์ เลขที่33
10. นางสาวอภิญญา ศรีเมือง เลขที่34
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1

More Related Content

Viewers also liked

CC Greyling_Golden Key Membership
CC Greyling_Golden Key MembershipCC Greyling_Golden Key Membership
CC Greyling_Golden Key MembershipCc Greyling
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300khon Kaen University
 
Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01
Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01
Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01Teresa Clotilde Ojeda Sánchez
 
Estadisticauno
EstadisticaunoEstadisticauno
EstadisticaunoCheita86
 
역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸
역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸
역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸dasom0060
 
Approved plots in neemranabehror nh8 4
Approved plots in neemranabehror nh8 4Approved plots in neemranabehror nh8 4
Approved plots in neemranabehror nh8 4Baburaj Patel
 
부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸
부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸
부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸dasom0060
 
Sesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papel
Sesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papelSesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papel
Sesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papelpatitavd
 
Cuadro Comparativo
Cuadro ComparativoCuadro Comparativo
Cuadro Comparativodanytics
 
Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...
Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...
Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...Startup AddVenture by CCC Startups
 
how much how many
how much how manyhow much how many
how much how manydanytics
 
Triptico tipos de violencia
Triptico tipos de violenciaTriptico tipos de violencia
Triptico tipos de violenciafidyuli Gonzalez
 
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfนอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfCh Khankluay
 

Viewers also liked (16)

CC Greyling_Golden Key Membership
CC Greyling_Golden Key MembershipCC Greyling_Golden Key Membership
CC Greyling_Golden Key Membership
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
 
Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01
Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01
Documentos primaria-sesiones-unidad06-quinto grado-integrados-5g-u6-sesion01
 
Estadisticauno
EstadisticaunoEstadisticauno
Estadisticauno
 
YaleChiang
YaleChiangYaleChiang
YaleChiang
 
Festival Petits Camaleons
Festival Petits CamaleonsFestival Petits Camaleons
Festival Petits Camaleons
 
역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸
역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸
역삼오피™청주오피※다솜넷※선릉오피방㏇수원오피걸
 
Approved plots in neemranabehror nh8 4
Approved plots in neemranabehror nh8 4Approved plots in neemranabehror nh8 4
Approved plots in neemranabehror nh8 4
 
부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸
부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸
부평오피™영통오피※다솜넷※청주오피방㏇선릉오피걸
 
Sesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papel
Sesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papelSesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papel
Sesion 22 agosto texto argumentativo leer sin papel
 
Itunes
Itunes Itunes
Itunes
 
Cuadro Comparativo
Cuadro ComparativoCuadro Comparativo
Cuadro Comparativo
 
Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...
Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...
Vitaly M. Golomb - Pitching Like A Boss (full) Workshop - Startup AddVenture ...
 
how much how many
how much how manyhow much how many
how much how many
 
Triptico tipos de violencia
Triptico tipos de violenciaTriptico tipos de violencia
Triptico tipos de violencia
 
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfนอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
 

Similar to บทที่ 4-สารสนเทศ

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptxการจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจleoline
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 

Similar to บทที่ 4-สารสนเทศ (20)

หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptxการจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 

บทที่ 4-สารสนเทศ

  • 1.
  • 2. ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ สารสนเทศสามารถหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศ จะประกอบไปด้วย ขนาด ปริมาณและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศ สามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยาหรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถ เป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน ซึ่งทาให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะ ใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู้ คาสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก และการกระตุ้น ภายใน การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการบกวนการ สื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน
  • 3. ขั้นตอนการทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย  1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่ง มีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา  2. การตรวจสอบข้อมูล มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมี การตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้า ในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้
  • 4. 2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้  1. การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยก กลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน  2. การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการ จัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร  3. การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมี การสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนามาใช้ประโยชน์  4. การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วน ข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้
  • 5. 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งานประกอบด้วย  1.การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูล มาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ  2.การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้ งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา  3.การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษา ไว้หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อ การทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย
  • 6. ลักษณะสารสนเทศที่ดี 1.มีความถูกต้องแม่นยา (accuracy) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรงกับความเป็น จริงและเชื่อถือได้สารสนเทศบางอย่างมีความสาคัญ หากไม่ตรงกับความเป็นจริง แล้ว อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ 2.ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีความเป็นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3.มีความสมบูรณ์ครอบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความ ครบถ้วน สารสนเทศที่มีความครบถ้วนเกิดจากการเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน 4. มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะต้อง สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ 5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มา ได้ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศได้
  • 7. องค์ประกอบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ที่ใช้ประมวลผล หรือสร้างสาระสนเทศ 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานตาม ความต้องการของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 3. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information) คือ ข้อเท็จจริง ต่างๆทั้งที่ผ่านการประมวลผลและยังไม่ผ่านการประมวลผล อยู่ในรูปของ ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ ฯลฯ 4. บุคลากร (People ware) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ 5. กระบวนการทางาน (Procedure) คือ ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ สารสนเทศ ตามที่ต้องการ
  • 8. 5.1 การนาเข้า (Input) เป็นการนาข้อมูลและสารสนเทศต่างๆที่ได้จากการ รวบรวมเข้าสู่ระบบ 5.2 การประมวลผล(Process) เป็นการนาข้อมูลที่ได้ไปประมวลผลตาม เงื่อนไขที่กาหนดโดยการเรียงลาดับ การคานวณ ฯลฯ 5.3 การแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมา แสดงในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อส่งเสริมหรือช่วยในการตัดสินใจ 5.4 การจัดเก็บ (Storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งหมดที่ เกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสารสนเทศสามารถนามาใช้ได้ ใหม่ในอนาคต
  • 9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หรือ เอ็มไอเอส หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ หรือขั้นตอนที่ช่วยในการจัดเก็บสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารและการจัดการ องค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการนี้จะมีส่วน ครอบคลุมถึง บุคคล เอกสาร เทคโนโลยี และขั้นตอนในการทางาน เพื่อที่จะ แก้ปัญหาทางธุรกิจไม่ว่าทาง ราคา สินค้า บริการ หรือกลยุทธต่างๆ ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการจะแตกต่างจากระบบสารสนเทศทั่วไป กล่าวคือ ระบบนี้จะใช้ในการวิเคราะห์ระบบอื่นๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ ในทางวิชาการ คาว่าระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการนี้ถูกใช้ในส่วน ของรูปแบบการจัดการข้อมูล
  • 10. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศ 1.ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความ เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ 2.ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) จากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหาร ทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหาร ได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ตัดสินใจ หรือการดาเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
  • 11. 3.ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมี ความสมบูรณ์ที่จะช่วยทาให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง 4.การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศของ องค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้อง ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ 5.ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่ สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ใช้
  • 12. ระดับของสารสนเทศในการตัดสินใจ 1.ระดับบุคคล คือ ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลนั้น จะ เป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะสร้างและใช้สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทางานส่วนตัวเท่านั้น 2. ระดับกลุ่ม คือ ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มนั้น จะเป็น การที่กลุ่มของคนในองค์กรที่ต้องทางานร่วมกันจะสร้างและใช้สารสนเทศ ร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดาเนินงานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. ระดับองค์กร คือ ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะ เป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่น แผนการขายและการตลาด แผนการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและการบัญชี เป็นต้น มีการสร้างและ ส่งผ่านสารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศใน รูปแบบรายงาน หรือกราฟเพื่อให้ผู้บริหารนาไปประกอบการตัดสินใจได้
  • 13. ระบบฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนามาจัดเก็บในที่ เดียวกัน โดยข้อมูลอาจเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล แต่ต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเพื่อ ประสิทธิภาพ การจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลมีข้อดีกว่าการจัดเก็บข้อมูลใน ระบบแฟ้มข้อมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้ • มีการใช้ข้อมูลร่วมกัน (data sharing) • ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล (reduce data redundancy) • ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น (improved data integrity) • เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล (increased security) • มีความเป็นอิสระของข้อมูล (data independency)
  • 14. โครงสร้างในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูล โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูล ประกอบด้วย 3 แฟ้ม ในแต่ละแฟ้มมีความสัมพันธ์ ถึงกัน เช่น ข้อมูลในแฟ้มนักเรียนจะมีส่วนที่เป็นตัวชี้ที่บอกความสัมพันธ์กับแฟ้ม อาจารย์ว่าอาจารย์ประจาชั้นเป็นใคร กรณีที่การค้นหาข้อมูลของนักเรียน เช่น นักเรียนที่มีเลขประจาตัวนักเรียน 008 มีชื่อว่าอะไร มีใครเป็นอาจารย์ประจาชั้น และเรียนวิชาอะไร ลักษณะการค้นหาคือ ค้นหาในแฟ้มนักเรียนทีละระเบียนจนพบระเบียนที่มีเลขประจาตัว 008 ก็จะทราบ ชื่อนักเรียนและมีตัวชี้ที่ระบุว่าข้อมูลนี้สัมพันธ์กับข้อมูลในแฟ้มอาจารย์ทาให้ทราบ ว่าอาจารย์ชื่ออะไร และจะทราบตัวชี้ที่ระบุต่อว่าอาจารย์สอนวิชาอะไร เป็นต้น
  • 15. ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ความหมายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ สมจิตร อาจอินทร์และงามนิจ อาจอินทร์ (2540:26) ให้ความหมายว่า สัมพันธ์เป็น ฐานข้อมูลที่มีความนิยมใช้กันมากในปัจจุบันซึ่งจะสามารถใช้งานได้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกระดับตั้งแต่ไมโครคอมพิวเตอร์จนกระทั่งถึงเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) ซึ่งภายในตารางก็จะ แบ่งออกเป็นแถว (row) และ คอลัมน์ (column)การแสดงความสัมพันธ์ของ ข้อมูลระหว่างแฟ้มข้อมูล จะสามารถมองเห็นได้จากตัวข้อมูลที่เก็บอยู่ใน แฟ้มข้อมูลเลยายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
  • 16. องค์ประกอบของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ 1) ส่วนโครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) เป็นส่วนการจัดเก็บข้อมูล ในรูปแบบ ของตารางที่ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว 2) ส่วนจัดการข้อมูล (Data Manipulation) เป็นส่วนของคาสั่งที่ใช้ จัดการข้อมูลที่ถูก เก็บอยู่ในฐานข้อมูล (อยู่ในรปแบบของภาษา SQL) 3) ส่วนควบคมความคงสภาพของข้อมูล(Data Integrity) เป็นข้อกาหนด หรือกฎเกณฑ์ ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
  • 17. ผู้จัดทา 1. นางสาวพิชญ์สินี วิเศษสิงห์ เลขที่11 2. นางสาวภาฏิญา ทิมอรรถ เลขที่12 3. นางสาววริศรา คาทา เลขที่13 4. นางสาวสุภาพร มานพพนาไพร เลขที่16 5. นางสาวรัตนาพร สืบพลาย เลขที่22 6. นางสาวเกสรา ครชาตรี เลขที่28 7. นางสาวนิตย์รดี บัวทอง เลขที่31 8.นางสาวพนัสดา กัลยาฤทธิ์ เลขที่32 9. นางสาวศิริวรรณ วิเศษสิงห์ เลขที่33 10. นางสาวอภิญญา ศรีเมือง เลขที่34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1