SlideShare a Scribd company logo
การเขียนโปรแกรมและฟังก์ชัน
การเขียนโปรแกรมโดยแบ่งการทางานของโปรแกรมออกเป็นโปรแกรมย่อย
การเขียนแบบนี้มีข้อดีคือ การทางานของโปรแกรมนั้นตรวจสอบได้ง่าย เพราะ
สามารถรันเฉพาะโปรแกรมย่อยได้ และทาให้ตัวโปรแกรมสั้นลงในกรณีที่มี
ชุดคาสั่งที่ซ้าๆ กัน ซึ่งนักเขียนโปรแกรมเกือบทั้งหมดนิยมเขียนในลักษณะนี้
โปรแกรมย่อยคือกลุ่มคาสั่งชุดหนึ่งที่เขียนขึ้นมาภายในโปรแกรมหลักเพื่อ
ประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถส่งผ่านค่าไปสู่โปรแกรมย่อยแล้วส่งผลลัพธ์
กลับมาสู่โปรแกรมหลักได้ในภาษาซีจะเรียกโปรแกรมย่อยว่าฟังก์ชั่น
(function)ซึ่งฟังก์ชั่นในภาษาซีจะมีการส่งค่าของฟังก์ชั่นกลับมาได้ด้วย
ในกรณีที่มีการเรียกใช้ฟังก์ชั่นก่อนที่จะนิยามฟังก์ชั่นจะกระทาไม่ได้ กล่าวคือ
ไปเขียนส่วนนิยามฟังก์ชั่น ไว้ในบรรทัดล่างเช่นบรรทัดที่ 40 แล้วเรียกใช้ใน
บรรทัดบนเช่นบรรทัดที่ 10 จะทาให้ตัวแปลภาษาไม่รู้จักชื่อของฟังก์ชั่นนั้นเกิด
ความผิดพลาดทางโครงสร้างภาษา กรณีนี้เราต้องเขียนต้นแบบของฟังก์ชั่น ไว้
บรรทัดบนเช่นบรรทัดที่ 4 นอกฟังก์ชั่น main()
โดยต้นแบบของฟังก์ชั่นจะบอกให้ตัวแปลภาษา รู้ถึงชื่อฟังก์ชั่น ชนิดของ
ข้อมูลที่จะส่งค่ากลับ และตัวแปรพารามิเตอร์ทาให้การเรียกใช้ถูกต้อง
การเขียนฟังก์ชั่น มี 3 ส่วน
1) ส่วนต้นแบบของฟังก์ชัน ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ชนิดข้อมูลของ
ค่าที่ส่งกลับ ชื่อฟังก์ชัน และรายชื่อพารามิเตอร์ ซึ่งจะมีการบอกชนิดข้อมูล
เหมือนการประกาศตัวแปร และสามารถมีหลายตัวได้โดยเครื่องหมายจุลภาค(,)
คั้นระหว่างแต่ละพารามิเตอร์
รายชื่อพารามิเตอร์จะอยู่ภายใต้วงเล็บถ้าเป็นการประกาศฟังก์ชั่นจะมีเครื่องหมาย
อัฒภาค(;) ปิดท้าย
รูปแบบของการนิยามฟังก์ชั่น
2) ส่วนนิยามของฟังก์ชั่น เหมือนกับส่วนนิยามฟังก์ชั่นแต่ไม่มีเครื่องหมายอัฒภาค มี
วงเล็บปี กกาเปิ ดและปี กกาปิ ดภายในวงเล็บปี กกามีคาสั่งต่างๆอยู่ภายในแทน
เครื่องหมายอัฒภาค
รูปแบบของการนิยามฟังก์ชั่น
[return-value-type] function-name([parameter-list]);
[return-value-type] function-name([parameter-list])
{
[declarations;]
statements;
}
3) การเรียกใช้ฟังก์ชั่น เขียนชื่อของฟังก์ชั่นวงเล็บเปิดและมีตัวแปรหรือค่าคงที่ ที่
กาหนดค่าให้พารามิเตอร์เรียกว่าอาร์กิวเมนต์ (argument) ตามจานวนและ
ตามชนิดของพารามิเตอร์และใส่วงเล็บปิดต่อท้าย โดยชื่อฟังก์ชันจะมีค่าตามชนิด
ข้อมูลที่ส่งกลับมาซึ่งเราเอาไปใช้งานต่อไปได้
/* 1st Sample Program */
#include<stdio.h>
int square(int);
void main( ) {
int x=3;
printf(“Square of %d = %dn”, x, square(x));
}
int square(int y) {
return y * y;
}
PROTOTYPE
CALLINGDEFINITION
ฟังก์ชันในภาษาซีมีการส่งค่ากลับมาโดยผ่านชื่อของฟังก์ชั่นซึ่งกาหนดชนิดข้อมูลที่
ส่งมาไว้ก่อนแล้ว แต่นอกเหนือจากชนิดข้อมูลอื่นๆ จะมีการกาหนดชนิดเป็นvoid
ให้กับชื่อฟังก์ชั่นชื่อฟังก์ชันที่กาหนดให้เป็นชนิดนี้ไม่ต้องใช้คาสั่ง returnใน
ฟังก์ชั่นและไม่สามารถเขียนคาสั่งใช้งานค่าที่ส่งกลับได้
การส่งค่ากลับของฟังก์ชั่น
พารามิเตอร์ของฟังก์ชั่น
พารามิเตอร์คือตัวแปรของฟังก์ชั่นที่รับข้อมูลมาจากภายนอกนามาใช้ประมวลผล
ทาได้2 รูปแบบคือ การรับข้อมูลเป็นการคัดลอกค่า และเป็นการคัดลอกที่อยู่ของ
ข้อมูล
1) การรับข้อมูลแบบคัดลอกค่า เมื่อมีการเรียกใช้งานฟังก์ชั่น และมีการส่งข้อมูลให้
ฟังก์ชั่นด้วยตัวแปร โดยฟังก์ชั่นที่ถูกเรียกใช้งานจะมีตัวแปรที่เป็นพารามิเตอร์มารับ
ค่าข้อมูล ซึ่งการกระทาใดๆ กับพารามิเตอร์ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงค่า จะไม่มีผลต่อ
ค่าของตัวแปรที่ส่งให้ฟังก์ชั่นนั้นๆ
2) การรับข้อมูลแบบคัดลอกที่อยู่ของข้อมูล เมื่อมีการเรียกใช้งานฟังก์ชั่นและมีการ
ส่งข้อมูลให้ฟังก์ชั่น โดยฟังก์ชั่นที่ถูกเรียนใช้งานจะมีตัวแปรมารับตาแหน่งที่อยู่
ของข้อมูล ซึ่งก็คือใช้ตัวแปรพอยน์เตอร์มารับค่าตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลนั่นเอง ซึ่ง
การกระทาใดๆกับตัวแปรพอยน์เตอร์ที่เป็นพารามิเตอร์ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงค่า
จะมีผลทาให้ค่าของตัวแปรที่ส่งค่าให้ฟังก์ชั่นเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ขอบเขตของตัวแปร
ขอบเขตของตัวแปรตัวนั้นๆ ขึ้นอยู่ที่จุดที่ประกาศตัวแปรนั้น การใช้ตัวแปรที่ผ่าน
มาในเนื้อหาก่อนๆ สร้างขึ้นเฉพาะที่โปรแกรมหลักเท่านั้น แต่เมื่อมีการสร้าฟังก์ชั่น
ขึ้นมาจะเกิดขอบเขตภายในฟังก์ชั่นขึ้นกล่าวคือ ตัวแปรที่ประกาศในโปรแกรมหลัก
มีขอบเขตกว้างขวางควบคุมฟังก์ชั่นที่เรียกใช้งาน เรียกว่า ตัวแปรประเภทโกลบอล
(global) ส่วนตัวแปรที่ประกาศในฟังก์ชั่นเรียกว่า ตัวแปรประเภทโลคอล (local) ซึ่ง
พารามิเตอร์แบบคัดลอกค่าถือว่าเป็นตัวแปรประเภทโลคอลด้วย
1. ตัวแปรชนิดโกลบอล(global)
ตัวแปรชนิดโกลบอลจะประกาศไว้ในส่วนของโปรแกรมหลัก คุณสมบัติของตัว
แปรประเภทนี้ สามารถเข้าถึงได้ทั่วทั้งโปรแกรม ทั้งในฟังก์ชั่นที่มีในโปรแกรมทุก
ฟังก์ชั่นก็สามารถเรียกใช้ตัวแปรประเภทนี้ได้
2. ตัวแปรชนิดโลคอล(local)
ตัวแปรชนิดโลคอล ต้องประกาศไว้ในฟังก์ชันเท่านั้น และต้องใช้ประมวลผลใน
ฟังก์ชันแต่ละฟังก์ชันเท่านั้น คุณสมบัติของตัวแปรโลคอล ไม่สามารถเรียกใช้ที่
โปรแกรมหลักได้และไม่สามารถประมวลผลตัวแปรนี้ในส่วนของฟังก์ชันอื่น ๆ
ได้เลยเพราะจะหายไปเมื่อสิ้นสุดการประมวลผลฟังก์ชั่นนั้น ในกรณีที่มีหลาย ๆ
ฟังก์ชันและแต่ละฟังก์ชันมีตัวแปรโลคอลที่มีชื่อเดียวกัน ตัวแปรภายในฟังก์ชัน
แต่ละฟังก์ชันต่างก็เป็นอิสระซึ่งกันและกัน มีค่าที่เก็บเอาไว้ตามแต่ละฟังก์ชัน
ฟังก์ชั่นอินไลน์
เมื่อโปรแกรมทางาน ระบบปฏิบัติการจะนาคาสั่งโปรแกรมขึ้นมา เก็บไว้ตาแหน่ง
แอดเดรสหนึ่งในหน่วยความจาจากนั้นทางานตามขั้นตอนของคาสั่ง หากเมื่อใดที่มี
การเรียกฟังก์ชั่นมาทางาน จะกระโดดไปยังแอดเดรส ของหน่วยความจาที่ได้ขอไว้
ให้ฟังก์ชั่นที่ถูกเรียก และรับค่าอาร์กิวเม้นต์เข้าเก็บไว้หลังจากทางานเสร็จลง
ก็จะต้องกระโดดกลับไปยังแอดเดรสที่เรียกใช้ฟังก์ชั่น การทางานดังกล่าว ทาให้
สูญเสียเวลาในการเรียกใช้ฟังก์ชั่นมาทางาน
ภาษาซี มีทางเลือกที่จะลดปัญหา การกระโดดไปยังฟังก์ชั่น และกระโดกลับ
มา โดยฟังก์ชั่นอินไลน์ซึ่งคอมไพเลอร์จะนาส่วนทางานของฟังก์ชั่น แทรกเข้าไป
ไว้ในส่วนโปรแกรมโค้ด
การสร้างฟังก์ชั่นอินไลน์ ส่วนใหญ่เป็นการทางานสั้นๆ มีประโยคคาสั่งไม่
มาก จึงไม่จาเป็นต้องมีต้นแบบฟังก์ชั่นก็ได้ โดยสร้างขึ้นมาฟังก์ชั่น ที่มีคีย์เวิร์ด
inline นาหน้าส่วนหัวฟังก์ชั่น ดังตัวอย่างต่อไปนี้
inline int triple (int x) {return (x*x*x);}
triple()
int x = triple(3);
ฟังก์ชั่นเรียกตัวเอง
เป็นฟังก์ชั่นที่มีคาสั่งเรียกใช้งานฟังก์ชั่นชื่อฟังก์ชั่นตัวเอง ซึ่งการศึกษาฟังก์ชั่นเรียก
ตัวเองนี้ทาให้เข้าใจหลักการทางานของโปรแกรมมากขึ้นฟังก์ชั่นลักษณะจะมี
เงื่อนไขเพื่อสิ้นสุดการเรียกใช้ตัวเองซ้า
ภาษาซีมีการให้ฟังก์ชั่น สามารถเรียกตัวเองขึ้นมาทางาน ฟังก์ชั่นดังกล่าว มี
ลักษณะทางานซ้าแบบเดิม โดยเรียกตัวเองขึ้นมาทางาน ซึ่งให้การกาหนดค่าอาร์กิว
เม้นต์ ให้แตกต่างกันในแต่ละครั้ง ที่เรียกตัวเองมาทางาน มีรูปแบบการทางาน ที่
แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่หยุดการเรียกตัวเอง และส่วนที่เรียกตัวเองเป็น
ลูกโซ่ไม่มีจุดสิ้นสุด ดังนั้นจึงใช้ประโยคคาสั่ง if และมีโครงสร้างเป็นดังนี้
Typename recursivefunc( parameterList ) {
if ( stopping case is reached )
return (value for stopping case) ;
else
return (value computed by calling function itself
again) ;
}
ประโยคคาสั่ง if เมื่อตรวจสอบเงื่อนไขการหยุด แล้วเป็นจริง เป็นกรณีที่สามารถ
แก้ไขปัญหาได้ก็หยุดการเรียกตัวเอง พร้อมกับส่งค่ากลับคืนมา หากการตรวจสอบ
ได้เป็นเท็จ แสดงว่ายังแก้ไขปัญหาไม่ได้ จะต้องแตกเป็นปัญหาย่อย และเรียก
ตัวเองมาทางานต่อ โดยส่งค่าอาร์กิวเม้นต์ที่แตกต่างให้ พร้อมส่งค่ากลับคืนมา ใน
การกาหนดค่าอาร์กิวเม้นต์ จะต้องเข้าใกล้ค่าที่ทาให้ การตรวจสอบเป็นจริง เพื่อให้
ฟังก์ชั่นรีเคอซีฟจบการทางาน ไม่เช่นนั้นจะมีการเรียกตัวเองไม่สิ้นสุด
ปัญหาที่นาฟังก์ชั่นรีเคอซีฟมาใช้งานเช่น การหาค่าแฟคทอเรียล จาก
จานวนตัวเลข n ตัว (n!) เช่น 4! จะได้ค่าเท่ากับ 4x3x2x1 หรือ 24
n! = 1 สาหรับ n = 0 หรือ 1
n! = n สาหรับ n > 1
ฟังก์ชันมาตรฐานหรือไลบราลีฟังก์ชัน
• เป็นฟังก์ชันที่มีมาให้พร้อมกับตัวแปลภาษา C เพื่อใช้งานได้ทันที และใช้ใน
งานด้านต่างๆ โดยเน้นงานพื้นฐาน เช่น ฟังก์ชันคานวณทางคณิตศาสตร์
ฟังก์ชันสาหรับจัดการข้อความ ฟังก์ชันเวลา เป็นต้น เพื่อให้ผู้เขียนภาษา Cมี
ความสะดวกมากขึ้น
• คไลบราลีฟังก์ชันภาษา Cจะเก็บอยู่ในไฟล์นามสกุล .hหรือที่เรียกว่า
header fileยกตัวอย่างเช่น ฟังก์ชันเกี่ยวกับการคานวณจะเก็บอยู่ในไฟล์ชื่อ
math.h หรือฟังก์ชันเกี่ยวกับการจัดการข้อความอยู่ในไฟล์ชื่อ string.h
เป็นต้น
ฟังก์ชันสตริง
• สตริง (string) หรืออะเรย์ตัวอักษร คือ ข้อมูลที่ประกอบไปด้วย
ตัวอักษรที่มีการเรียงต่อเนื่องกันไป โดยมีจุดสิ้นสุดของข้อมูลสตริงที่
ตัวอักษร NULL character เขียนด้วย ‘0’
• ในภาษาซีรูปแบบข้อมูลประเภทสตริงไม่มีการกาหนดไว้ การ
ประกาศตัวแปรแบบสตริงทาได้ 2 วิธี คือ ในรูปของอะเรย์ กับในรูป
ของพอยน์เตอร์
• ตัวอย่างการประกาศตัวแปรสตริง
char p[9] = “ I think !” ;
p[0] p[1] p[2] p[3] p[4] p[5] p[6] p[7] p[8]
‘I’ ‘’ ‘t’ ‘h’ ‘i’ ‘n’ ‘k’ ‘!’ ‘0’
ฟังก์ชันมาตรฐานที่เกี่ยวกับสตริงที่ภาษาซีเตรียมไว้ให้เรียกใช้ ดังนี้
 gets( ) เป็นฟังก์ชันใช้รับค่าสตริง
 puts( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้แสดงผลสตริง
 strcat( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ต่อสตริง 2 ตัวเข้าด้วยกัน
 strcmp( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปรียบเทียบสตริง 2 ตัว
 strcpy( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ก๊อปปี้ สตริง
 strlen( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เพื่อหาความยาวของสตริง
ตัวอย่างโปรแกรมที่เรียกใช้ฟังก์ชันสตริง
ตัวอย่างโปรแกรมที่เรียกใช้ฟังก์ชันสตริง
#include<stdio.h>
#include<string.h>
main( )
{ char s1[50] ={"C is easy "};
char s2[50] = {"Uttaradit Rajabhat
University"};
char s3[50];
int count;
count = strlen(s1); printf("String S1 Length =
%dn",count);
strcat(s1,s2); printf("String s1 + String s2 =
%sn",s1);
strcpy(s3,s2); printf("String s3 = %sn",s3);
}
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

การใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editorการใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express EditorWarawut
 
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
Thinnakrit Knoo-Aksorn
 
59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์
Beam Suna
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 

What's hot (9)

Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
การใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editorการใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรแบบคงที่ใน VB.NET 2005 Express Editor
 
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 

Similar to กลุ่ม 6

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
Ja Phenpitcha
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
Ja Phenpitcha
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
korn27122540
 
C slide
C slideC slide
C slide
tawee1919
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solving
Nunnaphat Chadajit
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
nitchakan
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
แอมม' ออยย.
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Nattawut Pornonsung
 

Similar to กลุ่ม 6 (20)

งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
Recursion
RecursionRecursion
Recursion
 
power point.
power point.power point.
power point.
 
Presenter1234567
Presenter1234567Presenter1234567
Presenter1234567
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solving
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
Presenter
PresenterPresenter
Presenter
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

กลุ่ม 6