SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
เรื่อง การนำาเสนอที่ดี
การสร้างงานนำาเสนอที่ดีต้องมีแบบแผน ต้องเตรียมการ ใช้ทั้ง
ศาสตร์และศิลป์ เริ่มต้นจากจุดประสงค์ในการนำาเสนอ ว่าจะนำาเสนอ
เรื่องอะไร ใครเป็นผู้รับฟัง มีกลุ่มเป้าหมายกี่ท่าน ใช้อุปกรณ์ใดในการนำา
เสนอ ฯลฯ สิ่งสำาคัญที่ขาดไม่ได้คือ ต้องมีระบบตรวจสอบการรับฟังว่าผู้
ฟังมีความเข้าใจถูกต้องตรงกับที่เราเสนอเพียงใด
ขั้นตอนการสร้างงานนำาเสนอไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว จาก
ประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่าหากเราจัดเตรียมงานเสนออย่างรัดกุม
โดยอยู่ในกรอบแบบแผนที่วางไว้ งานนำาเสนอจะออกมาดีแน่นอน
ต่อไปนี้เป็นขั้นตอนการเตรียมงานนำาเสนออย่างคร่าวๆซึ่งผู้อ่าน
สามารถนำาไปใช้ เป็นแนวทางตามความเหมาะสม
เตรียมข้อมูล การเตรียมตัวสำาหรับงานนำาเสนอ ต้องมี
ข้อมูลทั้งในส่วนของผู้บรรยายและผู้ฟังบรรยาย เรียกว่าต้องรู้เขารู้เรา
หากทำาเช่นนี้รบกี่ครั้งก็ชนะ ด้านหนึ่งคือต้องหาข้อมูลที่ดีที่สุดเพื่อใช้นำา
เสนอ เริ่มจากต้องทราบว่าการนำาเสนอในครั้งนี้มีจุดประสงค์อะไร
ต้องการให้ผู้ฟังทราบอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดสิ่ง
เหล่านี้ และอีกด้านหนึ่งก็เป็นส่วนสำาคัญคือ ต้องทราบว่าผู้ฟังเป็นใคร มี
วุฒิภาวะ การศึกษาระดับใด มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่จะนำาเสนอ
บ้าง หรือมีความสนในสิ่งนี้หรือไม่
เมื่อทราบวัตถุประสงค์อย่างคร่าวๆแล้ว ต่อไปก็ให้
รวบรวมข้อมูลที่เรามีอยู่มาทำาการวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดที่ควรนำามา ใส่ไว้
ในสไลด์บ้าง มีข้อมูลใดที่เป็นส่วนสำาคัญและยังขาดอยู่ ก็ให้หามาให้
ครบถ้วน
ใบความรู้
จัดทำางานนำาเสนอ เมื่อมีข้อมูลจนครบถ้วน ก็ให้นำา
ข้อมูลต่างๆมาสร้างเป็นงานนำาเสนอ เริ่มจากการจัดเตรียมหัวข้อหลักๆ
ให้เหมาะสม ให้เป็นไปตามจุดประสงค์ที่วางเอาไว้คือ ต้องทราบว่าใน
สไลด์แต่ละแผ่นมีวัตถุประสงค์อะไร ควรมีข้อข้อความใดบ้าง เมื่อครบ
ถ้วนแล้ว จึงค่อยตกแต่งแต่ละสไลด์ให้สวยงาม การตกแต่งอาจใส่
รูปภาพ ใส่กราฟ ตัวการ์ตูน ใส่เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ
เมื่อเราสร้างงานนำาเสนอเสร็จแล้ว ก็ให้จัดพิมพ์เอกสารลงกระดาษ
เพื่อเตรียมไว้แจกผู้เข้ารับฟังการบรรยาย แนะนำาว่าควรจัดทำาเผื่อไว้สัก
30 เปอร์เซ็นต์ เพราะเอกสารที่เหลือดีกว่าไม่มีพอแจกผู้ฟัง
ซักซ้อมก่อนนำาเสนอจริง เมื่อได้สร้างงานนำาเสนอ
พร้อมกับพิมพ์เอกสารเตรียมไว้แล้ว สิ่งที่ต้องทำาต่อไปคือ การซักซ้อม
การบรรยาย ผู้อ่านสามารถตรวจสอบท่าทางตัวเองได้ในกระจกบาน
ใหญ่ๆ สังเกตนำ้าเสียงและท่าทาง เพื่อป้องกันการประหม่าขณะอยู่
ท่ามกลางสายตาประชาชนจำานวนมาก จุดประสงค์ของการซ้อมก่อน
การนำาเสนอจริงมีดังนี้คือ
ซ้อมเพื่อให้เข้าใจข้อมูลอย่างถ่องแท้้ ใน ขณะที่ผู้อ่านทดลอง
บรรยายแต่ละหัวข้อสไลด์ จะทราบโดยทันทีว่าหัวข้อใดควรเน้นพิเศษ
หัวข้อใดควรข้ามไป ข้อดีอีกประการหนึ่งของการซ้อมการบรรยายคือ ผู้
บรรยายจะรู้ด้วยตนเองว่าอธิบายจุดใดได้ไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากตัวผู้
บรรยายเองไม่เข้าใจหัวข้อนี้ หรือข้อมูลที่ได้มายังไม่กระจ่างเพียง
พอ
ซ้อมเพื่อลำาดับการนำาเสนอที่ถูกต้อง ขณะทดลองบรรยาย หาก
พบว่าหัวข้อใดที่มีลำาดับไม่ถูกต้อง ก็สามารถกลับไปแก้ไขได้
ทันที
ซ้อมเพื่อให้เกิดความมั่นใจ การ ทดลองซ้อมจริงๆหน้ากระจก วิธี
การเน้นเสียง กิริยาท่าทาง หากเราซ้อมไปเรื่อยๆ จะเกิดความชำานาญ
และความมั่นใจ ช่วยให้ภาพโดยรวมของการนำาเสนอจริงเป็นไปอย่าง
ราบรื่น
ซ้อมเพื่อหากำาหนดเวลาที่แน่นอน การจับเวลาการซ้อมบรรยาย
จะได้ทราบว่าควรเน้นหัวข้อใดบ้าง หรือควรใช้เวลากับเรื่องใดเป็นพิเศษ
ถ้าพบว่าใช้ช่วงเวลาใดไม่เหมาะสมเราจะได้หาทางป้องกันและแก้ไขได้
ทันที
นำาเสนอจริง ขณะนำาเสนอจริง ผู้บรรยายควรเป็นส่วน
เดียวกับผู้ฟัง กล่าวคือควรทำาให้บรรยากาศการบรรยายเป็นกันเอง เมื่อ
เป็นกันเองแล้วเรื่องต่างๆ ก็จะง่าย ผู้บรรยายก็ไม่เกร็ง ผู้ฟังรู้สึกสบาย
งานนำาเสนอก็จะราบรื่นไปด้วยดี

More Related Content

Similar to #5

นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4
Aum Forfang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
Cedric Jakkapat
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
AseansTradition55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Cedric Jakkapat
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
Rattana Wongphu-nga
 
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
Sakulsri Srisaracam
 

Similar to #5 (20)

Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5
 
นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
Work1m32 33-37
Work1m32 33-37Work1m32 33-37
Work1m32 33-37
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
Work1 M33 No31-34
Work1 M33 No31-34Work1 M33 No31-34
Work1 M33 No31-34
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
 
ใบความรู้ การนำเสนอโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การนำเสนอโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ การนำเสนอโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การนำเสนอโครงงาน โดยครูละออง
 
Work1m34 37-38
Work1m34 37-38Work1m34 37-38
Work1m34 37-38
 
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
 
Work1m34 37-38
Work1m34 37-38Work1m34 37-38
Work1m34 37-38
 
Presentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอPresentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอ
 

#5

  • 1. เรื่อง การนำาเสนอที่ดี การสร้างงานนำาเสนอที่ดีต้องมีแบบแผน ต้องเตรียมการ ใช้ทั้ง ศาสตร์และศิลป์ เริ่มต้นจากจุดประสงค์ในการนำาเสนอ ว่าจะนำาเสนอ เรื่องอะไร ใครเป็นผู้รับฟัง มีกลุ่มเป้าหมายกี่ท่าน ใช้อุปกรณ์ใดในการนำา เสนอ ฯลฯ สิ่งสำาคัญที่ขาดไม่ได้คือ ต้องมีระบบตรวจสอบการรับฟังว่าผู้ ฟังมีความเข้าใจถูกต้องตรงกับที่เราเสนอเพียงใด ขั้นตอนการสร้างงานนำาเสนอไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว จาก ประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่าหากเราจัดเตรียมงานเสนออย่างรัดกุม โดยอยู่ในกรอบแบบแผนที่วางไว้ งานนำาเสนอจะออกมาดีแน่นอน ต่อไปนี้เป็นขั้นตอนการเตรียมงานนำาเสนออย่างคร่าวๆซึ่งผู้อ่าน สามารถนำาไปใช้ เป็นแนวทางตามความเหมาะสม เตรียมข้อมูล การเตรียมตัวสำาหรับงานนำาเสนอ ต้องมี ข้อมูลทั้งในส่วนของผู้บรรยายและผู้ฟังบรรยาย เรียกว่าต้องรู้เขารู้เรา หากทำาเช่นนี้รบกี่ครั้งก็ชนะ ด้านหนึ่งคือต้องหาข้อมูลที่ดีที่สุดเพื่อใช้นำา เสนอ เริ่มจากต้องทราบว่าการนำาเสนอในครั้งนี้มีจุดประสงค์อะไร ต้องการให้ผู้ฟังทราบอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดสิ่ง เหล่านี้ และอีกด้านหนึ่งก็เป็นส่วนสำาคัญคือ ต้องทราบว่าผู้ฟังเป็นใคร มี วุฒิภาวะ การศึกษาระดับใด มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่จะนำาเสนอ บ้าง หรือมีความสนในสิ่งนี้หรือไม่ เมื่อทราบวัตถุประสงค์อย่างคร่าวๆแล้ว ต่อไปก็ให้ รวบรวมข้อมูลที่เรามีอยู่มาทำาการวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดที่ควรนำามา ใส่ไว้ ในสไลด์บ้าง มีข้อมูลใดที่เป็นส่วนสำาคัญและยังขาดอยู่ ก็ให้หามาให้ ครบถ้วน ใบความรู้
  • 2. จัดทำางานนำาเสนอ เมื่อมีข้อมูลจนครบถ้วน ก็ให้นำา ข้อมูลต่างๆมาสร้างเป็นงานนำาเสนอ เริ่มจากการจัดเตรียมหัวข้อหลักๆ ให้เหมาะสม ให้เป็นไปตามจุดประสงค์ที่วางเอาไว้คือ ต้องทราบว่าใน สไลด์แต่ละแผ่นมีวัตถุประสงค์อะไร ควรมีข้อข้อความใดบ้าง เมื่อครบ ถ้วนแล้ว จึงค่อยตกแต่งแต่ละสไลด์ให้สวยงาม การตกแต่งอาจใส่ รูปภาพ ใส่กราฟ ตัวการ์ตูน ใส่เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ เมื่อเราสร้างงานนำาเสนอเสร็จแล้ว ก็ให้จัดพิมพ์เอกสารลงกระดาษ เพื่อเตรียมไว้แจกผู้เข้ารับฟังการบรรยาย แนะนำาว่าควรจัดทำาเผื่อไว้สัก 30 เปอร์เซ็นต์ เพราะเอกสารที่เหลือดีกว่าไม่มีพอแจกผู้ฟัง ซักซ้อมก่อนนำาเสนอจริง เมื่อได้สร้างงานนำาเสนอ พร้อมกับพิมพ์เอกสารเตรียมไว้แล้ว สิ่งที่ต้องทำาต่อไปคือ การซักซ้อม การบรรยาย ผู้อ่านสามารถตรวจสอบท่าทางตัวเองได้ในกระจกบาน ใหญ่ๆ สังเกตนำ้าเสียงและท่าทาง เพื่อป้องกันการประหม่าขณะอยู่ ท่ามกลางสายตาประชาชนจำานวนมาก จุดประสงค์ของการซ้อมก่อน การนำาเสนอจริงมีดังนี้คือ ซ้อมเพื่อให้เข้าใจข้อมูลอย่างถ่องแท้้ ใน ขณะที่ผู้อ่านทดลอง บรรยายแต่ละหัวข้อสไลด์ จะทราบโดยทันทีว่าหัวข้อใดควรเน้นพิเศษ หัวข้อใดควรข้ามไป ข้อดีอีกประการหนึ่งของการซ้อมการบรรยายคือ ผู้ บรรยายจะรู้ด้วยตนเองว่าอธิบายจุดใดได้ไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากตัวผู้ บรรยายเองไม่เข้าใจหัวข้อนี้ หรือข้อมูลที่ได้มายังไม่กระจ่างเพียง พอ ซ้อมเพื่อลำาดับการนำาเสนอที่ถูกต้อง ขณะทดลองบรรยาย หาก พบว่าหัวข้อใดที่มีลำาดับไม่ถูกต้อง ก็สามารถกลับไปแก้ไขได้ ทันที ซ้อมเพื่อให้เกิดความมั่นใจ การ ทดลองซ้อมจริงๆหน้ากระจก วิธี การเน้นเสียง กิริยาท่าทาง หากเราซ้อมไปเรื่อยๆ จะเกิดความชำานาญ และความมั่นใจ ช่วยให้ภาพโดยรวมของการนำาเสนอจริงเป็นไปอย่าง ราบรื่น ซ้อมเพื่อหากำาหนดเวลาที่แน่นอน การจับเวลาการซ้อมบรรยาย จะได้ทราบว่าควรเน้นหัวข้อใดบ้าง หรือควรใช้เวลากับเรื่องใดเป็นพิเศษ
  • 3. ถ้าพบว่าใช้ช่วงเวลาใดไม่เหมาะสมเราจะได้หาทางป้องกันและแก้ไขได้ ทันที นำาเสนอจริง ขณะนำาเสนอจริง ผู้บรรยายควรเป็นส่วน เดียวกับผู้ฟัง กล่าวคือควรทำาให้บรรยากาศการบรรยายเป็นกันเอง เมื่อ เป็นกันเองแล้วเรื่องต่างๆ ก็จะง่าย ผู้บรรยายก็ไม่เกร็ง ผู้ฟังรู้สึกสบาย งานนำาเสนอก็จะราบรื่นไปด้วยดี