SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
1
สรุป
กฎหมายมหาชน
รหัส 40201
2
คานา
บทสรุปนี้ทาเพื่อเป็นวิทยาทานให้แก่บุคคลทั่วไปที่กาลังศึกษาวิชาความรู้กฎหมาย มหาชน
(รหัส 40201) ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชานิติศาสตร์ โดยหวังว่าบทสรุปนี้จะมีประโยชน์
อย่างยิ่งในการล่นระยะเวลาในการอ่านหนังสือสาหรับผู้ที่มีเวลาน้อยในการอ่านหนังสือ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่าผู้อ่านจะสอบผ่านได้อย่างง่ายดาย……สาธุ
มาแว๊ว ๆ ๆ
12 มี.ค.51
3
สารบัญ
หน้า
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน 6
ตอนที่ 1.1 กาเนิดแนวความคิดและพัฒนาการของกฎหมายมหาชน 6
ตอนที่ 1.2 ความหมาย ประเภทและบ่อเกิดของกฎหมายมหาชน 6
หน่วยที่ 2 ปรัชญารากฐานในกฎหมายมหาชน 8
ตอนที่ 2.1 นักปรัชญาสาคัญบางคนที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายมหาชน 8
ตอนที่ 2.2 ปรัชญาว่าด้วยรัฐ 9
ตอนที่ 2.3 ปรัชญาว่าด้วยอานาจอธิปไตย 9
หน่วยที่ 3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ 10
ตอนที่ 3.1 ประวัติของรัฐธรรมนูญ 10
ตอนที่ 3.2 การจัดทารัฐธรรมนูญ 10
ตอนที่ 3.3 การแก้ไขและยกเลิกรัฐธรรมนูญ 11
ตอนที่ 3.4 โครงร่างรัฐธรรมนูญ 11
ตอนที่ 3.5 รูปของรัฐและรูปแบบของประมุขของรัฐ 11
หน่วยที่ 4 ระบอบการปกครอง 12
ตอนที่ 4.1 ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 12
ตอนที่ 4.2 ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ 12
หน่วยที่ 5 องค์กรนิติบัญญัติ 14
ตอนที่ 5.1 แนวความคิดเกี่ยวกับองค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตย 14
ตอนที่ 5.2 ลักษณะของรัฐสภา 14
ตอนที่ 5.3 อานาจหน้าที่ของรัฐสภา 14
ตอนที่ 5.4 การเลือกตั้ง 15
ตอนที่ 5.5 พรรคการเมือง 15
หน่วยที่ 6 องค์การบริหาร 16
4
ตอนที่ 6.1 ผู้ใช้อานาจบริหาร 16
ตอนที่ 6.2 อานาจหน้าที่ขององค์กรบริหาร 16
หน่วยที่ 7 องค์กรตุลาการ 17
ตอนที่ 7.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ตุลาการ 17
ตอนที่ 7.2 โครงสร้างขององค์การตุลาการ 17
ตอนที่ 7.3 ผู้พิพากษา 18
หน่วยที่ 8 สิทธิเสรีภาพของประชาชน 19
ตอนที่ 8.1 แนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชน 19
ตอนที่ 8.2 ความหมายของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในปัจจุบัน 20
หน่วยที่ 9 การควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ 21
ตอนที่ 9.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ 21
ตอนที่ 9.2 วิธีการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ 21
ตอนที่ 9.3 ผลของกฎหมายที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ 22
ตอนที่ 9.4 การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง 22
ตอนที่ 9.5 การควบคุมการออกกฎหมายลาดับรอง 22
หน่วยที่ 10 หลักทั่วไปแห่งกฎหมายปกครอง 23
ตอนที่ 10.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง 23
ตอนที่ 10.2 ลักษณะสาคัญของกฎหมายปกครอง 23
ตอนที่ 10.3 การควบคุมฝ่ายปกครองในประเทศไทย 23
หน่วยที่ 11 ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 25
ตอนที่ 11.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 25
ตอนที่ 11.2 การจักระเบียบบริหารราชการ 25
ตอนที่ 11.3 อานาจในการบริหารราชการ 26
หน่วยที่ 12 บริการสาธารณะ 27
ตอนที่ 12.1 กาเนิดการบริการสาธารณะ 27
ตอนที่ 12.2 ระเบียบวิธีการจัดทาบริการสาธารณะ 27
ตอนที่ 12.3 องค์การที่จัดทาบริการสาธารณะ 28
ตอนที่ 12.4 นโยบาย ปัญหา และการควบคุมการจัดทาบริการสาธารณะ 29
หน่วยที่ 13 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 31
5
ตอนที่ 13.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสาพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 31
ตอนที่ 13.2 ลักษณะของความสาพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 31
ตอนที่ 13.3 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับกับการสรรหาข้าราชการ 31
ตอนที่ 13.4 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการ 32
ตอนที่ 13.5 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาข้าราชการ 32
ตอนที่ 13.6 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับวินัยข้าราชการ 33
ตอนที่ 13.7 การดาเนินการเกี่ยวกับสวัสดิการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 4
หน่วยที่ 14 การควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 35
ตอนที่ 14.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 35
ตอนที่ 14.2 กลไกแห่งการควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 35
ตอนที่ 14.3 การควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในวงราชการ 36
ตอนที่ 14.4 การควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐจากภายนอก 36
หน่วยที่ 15 ศาลปกครอง 37
ตอนที่ 15.1 บทนา 37
ตอนที่ 15.2 วิวัฒนาการของศาลปกครอง 37
ตอนที่ 15.3 ลักษณะของศาลปกครอง 38
ตอนที่ 15.4 เจ้าหน้าที่ซึ่งรับผิดชอบการปฏิบัติงานในศาลปกครอง 38
ตอนที่ 15.5 วิธีพิจารณาคดีในศาลปกครอง 39
ตอนที่ 15.6 ผลของการจัดตั้งศาลปกครอง 39
แบบตัวอย่างข้อสอบกฎหมายมหาชน 40
6
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน
ตอนที่ 1.1 กาเนิดแนวความคิดและพัฒนาการของกฎหมายมหาชน
1. กาเนิดแนวความคิดกฎหมายมหาชน
ความคิดในการแบ่งสาขาของกฎหมายออกเป็นกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน มีมาตั้งแต่สมัย
โรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมัยอารยะธรรมโรมันโบราณ เมื่อประมาณ 500 ปี ก่อน ค .ศ. แต่ไม่สู้จะมีความสาคัญ
นัก จนกระทั่งเมื่อ อัลเปียน (Ulpian) ได้อธิบายว่า กฎหมายมหาชนคืออะไร และมีการจัดทากฎหมายปกครองขึ้น
ในยุคคลาสสิก จึงได้มีบทบาทสาคัญขึ้น และเสื่อมลงอีกครั้งเมื่อสิ้นสมัยของพระเจ้าจักรพรรดิจัสติเนียน
2. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศภาคยุโรป
กฎหมายมหาชนรุ่งเรืองมากในประเทศฝรั่งเศส เพราะอิทธิพลของกฎหมายโรมัน อิทธิพลของปรัชญา
กฎหมายธรรมชาติ และการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ซึ่งเป็นเหตุให้มีการจัดตั้งสภาแห่งรัฐขึ้นทาหน้าที่เป็น
ศาลปกครองสูงสุดในเวลาต่อมา
3. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศคอมมอนลอร์
ประเทศอังกฤษได้รับอิทธิพลจากกฎหมายโรมันน้อย และประกอบกับเหตุอื่นๆ อีกหลายเหตุ เช่น
นักกฎหมายผู้หนึ่ง คือไดซีย์ (A.V.Diccy) ซึ่งโจมตีการแบ่งสาขาของกฎหมายในฝรั่งเศส และคัดค้านการจัดตั้ง
ศาลปกครองในอังกฤษอย่างรุนแรง ทาให้พัฒนาเกี่ยวกับกฎหมายมหาชนช้ากว่าที่ควร
4. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศไทย พัฒนาช้ากว่าในประเทศอื่นเนื่องจาก
1. เราเพิ่งรู้จักกฎหมายสาขานี้เมื่อประมาณ 50-60 ปี มานี้เอง
2. อิทธิพลของกฎหมายอังกฤษ ทาให้เราไม่เห็นความจาเป็นในการแบ่งแยกสาขากฎหมายอย่างใน
ประเทศภาคพื้นทวีป
3. เราเพิ่งมีกฎหมายที่พอจะจัดเป็นกฎหมายมหาชนได้เมื่อหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง (2475)
4. อิทธิพลทางการเมือง การปกครอง หรือการปฏิวัติรัฐปร ะหาร ทาให้พัฒนาการของกฎหมาย
มหาชนชะงักลง
5. อิทธิพลของหลักการแบ่งแยกอานาจ ซึ่งเรายังเข้าใจไม่ตรงกัน
6. การจัดการศึกษาวิชากฎหมายในประเทศไทย ไม่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาการของกฎหมายมหาชน
ตอนที่ 1.2 ความหมาย ประเภทและบ่อเกิดของกฎหมายมหาชน
1. ความหมายของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชนคือ กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐกับราษฎรใน
ฐานะที่รัฐเป็นฝ่ายปกครองราษฎร กล่าวคือในฐานะที่รัฐมีฐานะเหนือกว่าราษฎร
7
2. ประเภทของกฎหมายมหาชน
(1) รัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นในลักษณะเดียวกัน เช่นพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน
(2) กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ เช่นกฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กฎหมายพรรค
การเมือง กฎหมายเกี่ยวกับการออกเสียงแสดงประชามติ กฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณาของตุลาการรัฐธรรมนูญ
(3) กฎหมายปกครอง ได้แก่กฎหมายที่วางหลักการจัดระเบียบการปกครองโดยตรง กฎหมายที่กาหนด
รายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารงาน เช่นกฎหมายภาษีอากร กฎหมายเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
กฎหมายแรงงาน
(4) กฎหมายการคลัง เช่นกฎหมายงบประมาณ กฎหมายเงินตรา
กฎหมายมหาชนที่จัดเพิ่มใหม่เมื่อไม่นานมานี้ได้แก่
(1) กฎหมายอาญา ซึ่งรวมประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญาทหาร
(2) กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รวมถึงวิธีพิจารณาความในศาลคดีเด็กและเยาวชน
(3) กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ซึ่งรวมกฎหมายล้มละลาย
(4) กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม
(5) กฎหมายเศรษฐกิจ
3. บ่อเกิดของกฎหมายมหาชน
(1) กฎหมายลายลักษณ์อักษร
(2) กฎหมายที่มิได้บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร
นอกจากนี้ยังมีบ่อเกิดจากทฤษฎีการเมือง การปกครอง และการคลังอีกด้วย
8
หน่วยที่ 2 ปรัชญารากฐานในกฎหมายมหาชน
ตอนที่ 2.1 นักปรัชญาสาคัญบางคนที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายมหาชน
1. กฎหมายมหาชนไม่เพียงแต่เป็นเรื่องในทางนิติศาสตร์เท่านั้น แต่ต้องอาศัยห ลักวิชารัฐศาสตร์ และ
เศรษฐศาสตร์ ตลอดจนปรัชญาด้วย
2. ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีส่วนทาให้กฎหมายมหาชนพัฒนาไปเป็นอันมาก
3. นักปรัชญาสมัยก่อนไม่สู้พอใจสภาพสังคมในสมัยตนจึงมักเสนอให้แก้ไขสภาพสังคมเสียใหม่ หรือ
มิฉะนั้นก็สมมติสังคมใหม่ในอุดมคติของตนขึ้น
1. บทบาทของนักปรัชญาในการพัฒนากฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชนไม่ได้เกิดจากตัวบทกฎหมายใดโดยเฉพาะ หากแต่พัฒนาไปตามความคิดนักปรัชญา
กฎหมายในแต่ละสมัย ปรัชญาของใครมีผู้เห็นด้วยก็เอาไปใช้เป็นรากฐานในการจัดทาตัวบทกฎหมายมหาชน
เช่น ทฤษฎีการแบ่งแยกอานาจของมองเตสกิเออ ทฤษฎีการจัดรูปแบบองค์กรวิ นิจฉัยว่ากฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ
หรือไม่ของเคลเซ่น เป็นต้น
2. นักปรัชญาสมัยกรีก
โสกราติส ปรัชญาแบบซักถาม (วิธีสร้างแบบโสกราติส) ปัจจุบันเรียกใหม่ว่า “ กรณีศึกษา ”
เปลโต้ ผู้ก่อตั้งสานักปรัชญาถาวร และเป็นบ่อเกิดของมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา
อริสโตเติล บิดาแห่งรัฐศาสตร์ ทฤษฎีมีส่วนปฏิบัติได้ และเห็นจริงกว่าทฤษฎีของ เปลโต้
3. นักปรัชญาสมัยโรมัน
ซิเซโร่ เป็นนักกฎหมาย นักการเมือง รัฐบุรุษ งานสาคัญคือหนังสือเรื่อง “สาธารณรัฐ” / “กฎหมาย”
นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป เน้นในความยุติธรรม แต่อธิบายไปในแง่ของศาสนา
4. นักปรัชญาสมัยกลาง สมัยกลางเริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 476
จอห์นแห่งซอสเบอรี เน้นในกฎหมาย คือ ราชาต้องเคารพกฎหมายและปกครองโดยธรรม
นักบุญโธมัส อไควนัส เป็นผู้ที่อธิบาย กฎหมายธรรมชาติโดยละเอียด
5. นักปรัชญาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
ฌอง โบแดง นักปรัชญาชาวฝรั่งเศล เผยแพร่อานาจอธิปไตยของเป็นของกษัตริย์
โธมัส ฮอบส์ เขียนหนังสือเรื่อง “รัฏฐาธิปัตย์” เป็นตาราเล่มแรกของโลกที่เขียนด้วยภาษาอังกฤษ
6. นักปรัชญาหลังสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
เจมส์ แฮริงตัน เป็นคนแรกที่กล้าพูดถึงเสรีภาพในการนับถือศาสนา อิทธิพลของ เจมส์ ทาให้
สหรัฐอเมริการ มีรัฐธรรนูญเป็นลายลักษณ์อักษร
จอห์น ล้อค เห็นว่าการหาคาตอบทางปรัชญาต้องอาศัยการพิสูจน์ค้นคว้าและปฏิบัติ มิใช่จินตนาการ
เอ็ดมัน เบอร์ค เน้นการนาสิทธิตามธรรมชาติมาปรับเข้ากับการเมืองการปกครอง
เจเรมี แบนเธม งานวรรณกรรมมีอิทธิในการตรา พ.ร.บ. เช่น พ.ร.บ.การปฏิรูป , พ.ร.บ.เทศบาล ฯลฯ
9
อัลเบิร์ต เวนน์ ไดซีย์ วรรณกรรม “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญ”
มองเตสกิเออ กฎหมายควรจะมีส่วนสัมพันธ์กับดิน ฟ้า อากาศของแต่ละประเทศ และคิดว่าอานาจ
นิติบัญญัติและอานาจบริหาร ควรแยกกัน
ฌอง ฌาคส์ รุสโซ่ กฎหมาย คือเจตจานงของประชาชนในชาติ ซึ่งแสดงออกร่วมกัน“สัญญาประชาคม”
โธมัส เจฟเฟอร์สัน สิทธธรรมชาติ เช่น สิทธิในเสรีภาพ ความเสมอภาค การก่อการปฏิวัติ ฯลฯ
จอห์น มาร์แชล เป็นผู้พิพากษา และคาพิพากษานั้นได้เป็นบรรทัดฐาน เช่น รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมาย
สูงสุด , กม.ธรรมดาจะขัดกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ เมื่อขัดก็ให้ กม.ธรรมดาย่อมไร้ผลบังคับใช้ฯลฯ
คาร์ล มาร์ก จัดตั้งสันนิบาตคอมมิวนิสต์ วรรณกรรมสาคัญ คาประกาศป่าวร้องของคอมมิวนิสต์
ฮันส์ เคลเส้น เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญออสเตรี ระบบตุลาการรัฐธรรมนูญเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ตอนที่ 2.2 ปรัชญาว่าด้วยรัฐ
1. วิวัฒนาการแนวความคิดเรื่องกาเนินของรัฐ
ทฤษฎีอธิบายกาเนิดของรัฐมีหลายทฤษฎี แต่ที่นับว่านิยมอ้างกันมากที่สุด คือทฤษฎีวิวัฒนาการของ
อริสโตเติล เรียกว่า Polis อันหมายถึงระเบียบองค์การขั้นสูงของประชาคมและอธิบายว่า รัฐเกิ ดจากวิวัฒนาการ
ในทางการเมืองของมนุษย์โดยเริ่มจากการอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ แล้วขยายตัวใหญ่ขึ้นจนเป็นสังคมเผ่าพันธุ์และใน
ที่สุดก็กลายเป็นนครหลายนคร เป็นจักรวรรดิ รัฐจึงเกิดจากมนุษย์นั่นเอง
2. องค์ประกอบของรัฐ ดินแดน ประชากร อานาจอธิปไตย และรัฐบาล เป็นองค์ประกอบทางการเมืองของรัฐ
3. นิติรัฐ หมายถึงรัฐที่ยอมอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย หลักนี้ให้ความคุ้มครองของประชาชน ว่าการดาเนิน
งานใดๆ ก็ตามของรัฐจะต้องเป็นไปตามกฎหมายมิใช่อาเภอใจของผู้ปกครองประเทศ
ตอนที่ 2.3 ปรัชญาว่าด้วยอานาจอธิปไตย
1. ความหมายและเจ้าของอานาจอธิปไตย
(1) เป็นของพระผู้เป็นเจ้า (2) ของพระสันตะปาปา
(3) เป็นของพระมหากษัตริย์ (4) เป็นของชาติ
(5) เป็นของประชาชน/ในปัจจุบันถือตามทฤษฎีที่ 4 และ 5 สอดคล้องการปกครองแบบประชาธิปไตย
2. ลักษณะของอานาจอธิปไตย
1. เด็ดขาด 2. ความครอบคลุมทั่วไป 3. ความถาวร 4. ความไม่อาจถูกแบ่งแยกได้
3. การแบ่งแยกอานาจ
สนับสนุนหลักการที่ว่า สมาชิกในสังคมควรแบ่งงานหรือแบ่งหน้าที่กันทา เพื่อจะได้มีหลักประกันว่า
จะไม่ถูกรังแกโดยอานาจเผด็จการของผู้ใด หรือต้องการโต้แย้งหลักการรวมอานาจหรือการตั้งตนเป็นเผด็จการ
4. รูปแบบของการใช้อานาจอธิปไตย
องค์กรนิติบัญญัติ องค์กรบริหาร และองค์กรตุลาการ แต่ให้เกี่ยวข้องกันได้ดังที่เรียกว่าระบบ รัฐสภา
10
หน่วยที่ 3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ตอนที่ 3.1 ประวัติของรัฐธรรมนูญ
1. ความหมายของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่วางระเบียบหรือกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับรัฐ กล่าวคือ ว่าด้วยดินแดน ประชากร
อานาจอธิปไตย และรัฐบาล ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่างๆ ที่กาหนดขึ้นเพื่อทาหน้าที่แบ่งแยกกัน
ออกไป โดยปกติแล้ว รัฐธรรมนูญต้องตราขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร
กฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่ว่าด้วยสถาบันการเมืองต่างๆ ในรัฐ ซึ่งรวมทั้งรัฐธรรมนูญกฎมล
เฑียรบาล จารีตประเพณีทางการเมืองและกฎหมายอื่นๆ ด้วย ด้วยเหตุนี้ กฎหมายรัฐธรรมนูญอาจไม่เป็นลาย
ลักษณ์อักษรก็ได้เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญของอังกฤษ หรือแม้แต่จารีตประเพณีของไทย
2. ประวัติแนวความคิดในการจัดทารัฐธรรมนูญ
จะเป็นธรรมนูญได้ต้องยอมรับหลักการแบ่งแยกอานาจตามทฤษฎีของ มองเตสกิเออ
3. ประเภทของรัฐธรรมนูญ แบ่งแยกตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) รัฐบาล = สาธารณรัฐ, ราชาธิปไตย , และเผด็จการ (2) รูปของรัฐ = รัฐเดี่ยว , รัฐรวม (3) วิธีการ
บัญญัติ = ลายลักษณ์อักษร, ไม่ลาย (4) การแก้ไข= แก้ไขง่าย , แก้ไขยาก (5) เวลาในการใช้ = ชั่วคราว , ถาวร
(6) ลักษณะรัฐภา (7) ฝ่ายบริหาร = รับผิดชอบต่อรัฐสภา , ไม่รับผิด (8) ฝ่ายตุลาการ
ตอนที่ 3.2 การจัดทารัฐธรรมนูญ
1. อานาจการจัดให้มีรัฐธรรมนูญ
ผู้จัดให้มีรัฐธรรมนูญขึ้นมักเป็นผู้มีอานาจทางการเมือง หรืออยู่ในฐานะรัฎฐาธิปัตย์
2. อานาจการจัดทารัฐธรรมนูญ
ฉบับชั่วคราวอาจทาโดยคนเพียงคนเดียว แต่ถ้าเป็นฉบับถาวรควรจัดทาโดยสภานิติบัญญัติหรือสภาร่าง
รัฐธรรมนูญ
3. การจัดทารัฐธรรมนูญ
การจัดทารัฐธรรมนูญที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมด้วย
4. กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญที่ดีไม่ควรมีข้อความยาวและมีหลายมาตราเกินไปนัก รายละเอียดต่างๆ จึงมักไปกาหนดไว้
ในกฎหมายอื่นซึ่งเรียกว่า “กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ”
5. รัฐธรรมนูญไทย รัฐธรรมนูญไทยมีทั้งสิ้น 20 ฉบับ แต่ถ้านับเฉพาะฉบับที่สาคัญจะมีเพียง 13 ฉบับ
ฉบับ พ .ศ. 2489 เน้นในเรื่องของการให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมกับทางการเมือง ส่วน พ .ศ. 2492
และ พ.ศ. 2517 เน้นมากในเรื่องการจัดทาและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของพลเมือง
11
ตอนที่ 3.3 การแก้ไขและยกเลิกรัฐธรรมนูญ
1. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
อาจกาหนดข้อห้ามการแก้ไขรัฐธรรมนูญบางมาตรา หรือบางหลักการในรัฐธรรมนูญได้ เพื่อป้ องกันการ
ยกเลิกรัฐธรรมนูญโดยวิธีนอกรัฐธรรมนูญ
2. การยกเลิกรัฐธรรมนูญ
1) โดยวิธีทางรัฐธรรมนูญ 2) โดยวิธีนอกรัฐธรรมนูญ เช่น การปฏิวัติ ส่วนการรัฐประหาร เพียงแค่
เปลี่ยนรัฐบาลใหม่เท่านั้น รัฐธรรมนูญยังเหมือนเดิม
ตอนที่ 3.4 โครงร่างรัฐธรรมนูญ
1. คาปรารภของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญบางประเทศก็ไม่มีคาปรารภ แต่คาปรารภมีประโยชน์ดังนี้คือ
(1) ช่วยให้รัฐธรรมนูญสละสลวยขึ้น
(2) ช่วยในการตีความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
(3) ช่วยให้ทราบประวัติการเมืองของประเทศนั้น
(4) ช่วยให้ทราบประวัติการจัดทารัฐธรรมนูญฉบับนั้น
(5) บทบัญญัติบางเรื่องอาจบัญญัติไว้ที่อื่นไม่ได้ก็อาจนามาบัญญัติไว้ในคาปรารภ
2. เนื้อความของรัฐธรรมนูญ
เนื้อความของรัฐธรรมนูญได้แก่ กฎเกณฑ์การปกครองประเทศ สิทธิเสรีภาพของประชาชน กฎเกณฑ์
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ความเป็นกฎหมายสูงสุด หน้าที่พลเมือง แนวนโยบายแห่งรัฐ และอาจมีบทเฉพาะกาลด้วย
ก็ได้
ตอนที่ 3.5 รูปของรัฐและรูปแบบของประมุขของรัฐ
1. รูปของรัฐ มีทั้งที่เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐรวม
รัฐเดี่ยว คือ รัฐที่เป็นเอกภาพ มีการใช้อานาจสูงสุดทั้งภายในภายนอกโดยองค์การเดียวทั่วดินแดนของรัฐ
รัฐรวม คือ มีประมุขร่วมกัน โดยใช้อานาจภายนอกร่วมกัน แต่อานาจภายในแยกจากกัน
2. รูปของรัฐตามธรรมนูญไทย
ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว มีดินแดนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งประเทศ มีอานาจอธิปไตยเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกันทั้งประเทศ และประเทศไทยเป็น ราชอาณาจักร หมายถึง ดินแดนที่เป็นของประเทศไทยทั้งหมด ไม่ว่า
พื้นดิน พื้นน้า หรือพื้นอากาศ
3. รูปแบบของประมุขของรัฐ 2 แบบ คือ
1) แบประธานาธิบดี 2) แบบพระมหากษัตริย์
12
หน่วยที่ 4 ระบอบการปกครอง
ตอนที่ 4.1 ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
1. วิวัฒนาการระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
มีวิวัฒนาการมาจากการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยตรงในนครรัฐเอเธนส์ของประเทศกรีกโบราณ
ซึ่งในระยะต่อมาระบอบการปกครองนี้ได้สลายตัวในนครรัฐเอเธนส์ และมาเจริญเติบโตในประเทศอังกฤษ
จนกระทั่งกลายเป็นประเทศแม่บทแห่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในปัจจุบัน
2. ความหมายของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยหมายถึงระบอบการปกครอง ที่อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งอานาจ และหลักการที่ว่าด้วย “ความถูกต้องแห่ง
กฎหมาย”
3. องค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
องค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ได้แก่การเลือกตั้งหลักการแบ่งแยกอานาจและ
หลักการว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมาย
4. รูปแบบของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
1) แบบรัฐสภา คือระบอบการปกครองที่อานาจขององค์กรฝ่ายบริหารและ องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ
ทัดเทียมกันหรือใกล้เคียงกัน องค์กรทั้งสองต่างควบคุมซึ่งกันและกันและมีการประสานงานในการดาเนินการต่อ
กัน ระบอบการปกครองแบบรัฐสภานี้ องค์กรฝ่ายบริหารจะแบ่งเป็นสององค์กรคือ ประมุขของรัฐซึ่งเป็นกษัตริย์
ที่สืบสันติวงศ์ต่อทอดกันมา หรือประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้ง และคณะรัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบใน
การบริหารงานของรัฐ
2) แบบประธานาธิบดี เลือดตั้งทางอ้อมจากผู้คัดเลือกประธานาธิบดี ประธานาธิบดี เป็นทั้งประมุข
แห่งรัฐ และเป็นหัวหน้ารัฐบาล ฝ่ายบริหารไม่ได้แบ่งเป็น 2 องค์กรอย่างเช่น ระบบรัฐสภา
3) แบบกึ่งประธานาธิบดี เป็นการเลือกตั้งโดยตรงมาจากประชาชน
ตอนที่ 4.2 ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
1. ความหมายของระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
ความหมายเป็นสองนัย ประการแรก เป็นระบอบการปกครองชั่วคราวที่มีวัตถุประสงค์ชั่วคราวเพื่อปก
ปักษ์รักษาระบอบการปกครองเดิมของสังคม ประการที่สอง เป็นระบอบการปกครองที่อานาจปกครองของ
รัฐบาลมิได้มีที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน
13
2. ระบบการปกครองแบบเผด็จการที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ระบบการปกครองแบบเผด็จการเกิดขึ้นเมื่อสังคมของประเทศเกิดวิกฤติการณ์ร้างแรง ซึ่งอาจเป็น
วิกฤติการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นเป็นปกติวิสัยและมีความร้ายแรงมากน้อยต่างกัน ในบางครั้งความร้ายแรงแห่ง
วิกฤติการณ์ทางสังคมอาจถึงขั้นที่จะต้องเปลี่ยนโครงสร้างของสังคม หรืออาจเป็นวิกฤติการณ์ที่เกี่ยวกับกับ
ความชอบธรรมแห่งอานาจปกครองที่ขึ้นอยู่กับความเห็นพ้องต้องกันของประชาชนในประเทศ
วิธีการที่ทาให้ประชาชนยอมรับอานาจปกครองแบบเผด็จการวิธีหนึ่งคือ การปราบปราม ผู้ซึ่งโต้แย้ง
คัดค้านระบบการปกครองแบบเผด็จการ โดยการจับกุมคุมขัง การส่งตัวไปกักกันในค่าย การทรมานและการ
ประหารชีวิต สาหรับกลไกที่ใช้ในการปราบปราม ได้แก่ กฎหมาย ตารวจและศาล ซึ่งจะทาให้สังคมมีความสงบ
เรียบร้อยไม่ว่าในระบบการปกครองแบบใด แต่กลไกที่จะใช้ในการปราบปรามที่จะให้ได้ผลเด็ดขาด คือตารวจ
ลับ ซึ่งมีอานาจจับกุม คุมขัง และทรมานตลอดจนกระทั่งประหารชีวิตประชาชนที่สงสัยว่าเป็นปรปักษ์ต่อระ บบ
เผด็จการโดยไม่มีกระบวนการพิจารณา เช่น คดีตามปกติ
3. ระบบการปกครองแบบเผด็จการที่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ประเทศสังคมนิยมนั้นยึดถือโครงสร้างในการผลิตเป็นพื้นฐานสาคัญทางสังคม โดยถือว่า เครื่องมือใน
การผลิตเป็นของส่วนรวมหมายถึงอาจเป็นของรัฐ เป็นขององค์กรส่ วนท้องถิ่น หรือเป็นของสหกรณ์นอกจากนี้
ยังยึดถืออุดมการณ์เป็นสิ่งที่มีบทบาทสาคัญยิ่งในระบบสังคมนิยมเพราะอุดมการณ์เป็นความนึกคิดที่มีเหตุผล
ในทางวิทยาศาสตร์ และเป็นจุดเริ่มต้นของโครงสร้างในการผลิต อย่างไรก็ดีประเทศสังคมนิยมยอมรับอิทธิพล
ของอุดมการณ์อย่างอื่นด้วย เช่น อุดมการณ์แบบธรรมเนียมประเพณีและอุดมการณ์ทางการเมืองเป็นต้น
การใช้อานาจเผด็จการแบบปฏิวัติมีลักษณะเฉพาะสองประการคือ
(1) เป็นการใช้อานาจเผด็จการแบบชั่วคราวที่คณะปฏิวัติจะทาหน้าที่เสมือนหนึ่งผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาล
อนุบาลระบบการปกครองที่จัดตั้งขึ้น
(2) เป็นเผด็จการที่มุ่งหมายกล่อมเกลา เปลี่ยนแปลงทัศนคติของประชาชนเพื่อให้ประชาชนสามารถ
ใช้เสรีภาพและการดารงชีวิตอยู่โดยไม่ต้องใช้อานาจเผด็จการ เผด็จการปฏิวัติจะใช้วิธีการสองอย่างควบคู่กันไป
คือ การลงโทษและการโฆษณาชวนเชื่อ
4. รัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยม
ลักษณะสาคัญของรัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยมลักษณะหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งแบบหยั่ง
เสียง รัฐกาหนดให้มีการเลือกตั้งทุกระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้อานาจปกครองท้องถิ่น สมาชิกรัฐสภาและประธานาธิบดี
แทนที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะมีสิทธิเลือกตั้งผู้สมัครหนึ่งในบรรดาผู้สมัครเลือกตั้งหลายคน แต่กลับมีสิทธิเพียงการ
ให้การรับรองหรือไม่รับรองเห็นชอบผู้สมัครรับเลือกตั้งคนเดียว ดังนั้นสิทธิเสรีภาพของประชาชนในทาง
การเมืองจึงมีข้อจากัด กล่าวได้ว่าไม่มีการแข่งขันกันในทางการเมืองขณะที่มีการเลือกตั้ง
14
หน่วยที่ 5 องค์กรนิติบัญญัติ
ตอนที่ 5.1 แนวความคิดเกี่ยวกับองค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตย
1. การแบ่งแยกอานาจหน้าที่ในการใช้อานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่งแยกออกเป็นสาขาสาคัญๆ ได้สามอานาจ
คือ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ
2. วิวัฒนาการขององค์กรนิติบัญญัติในระบอบการปกครองแบบรัฐสภา
รัฐสภาซึ่งเป็นผู้ใช้อานาจนิติบัญญัติของประเทศอังกฤษเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยวิวัฒนาการ
ทางประวัติศาสตร์ ระบบรัฐสภาของอังกฤษถือเป็นแม่บทของรัฐสภาประเทศต่างๆทั่วโลก
3. ความเป็นมาขององค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตยของไทย
ก่อนมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศไทย เมื่อพุทธศักราช 2475 ได้มีความพยายามที่จะปู
พื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และเมื่อได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ก็ได้นาระบบรัฐสภาของ
อังกฤษมาประยุกต์ใช้
ตอนที่ 5.2 ลักษณะของรัฐสภา
1. รูปแบบของรัฐสภา
รูปแบบของรัฐสภาอาจจาแนกได้สองรูปแบบ คือ สภาเดี่ยวและสภาคู่ ขึ้นอยู่กับโครงสร้างและพื้นฐาน
ทางการปกครองของแต่ละประเทศ
รูปแบบของสภาเดียวหรือของรัฐเดี่ยวและรัฐรวมมีเหตุผลแตกต่างกัน และแม้แต่ในรัฐเดี่ยวการมีสอง
สภาเหมือนกันก็ยังมีเหตุผลความจาเป็นแตกต่างกัน โดยเฉพาะประเทศอังกฤษซึ่งมีเหตุผลทางประวัติศาสตร์การ
ปกครอง ส่วนประเทศที่เป็นรัฐเดี่ยวอื่นๆ มีเหตุผลแตกต่างกันออกไป
2. องค์ประกอบของรัฐสภา จานวนสภา( เช่น สภาขุนนางและ สภาสามัญ ของE) และมวลสมาชิกของสภา มี ดังนี้
1) เลือกตั้งโดยตรง 2) เลือกตั้งโดยอ้อม 3) โดยการสืบตระกูล(อังกฤษ) 4) แต่งตั้ง 5) ผู้แทนกลุ่มชน
3. องค์กรภายในของรัฐสภา
1) การกาหนดสมัยประชุมของรัฐสภา 2) การแบ่งงานภายในรัฐสภา 3) องค์กรที่ปฏิบัติงานในรัฐสภา
4) เอกสิทธิ์และความคุ้มครองกันของคณะกรรมาธิการ5) ตาแหน่งสาคัญๆ ในรัฐสภา6) สานักงานเลขาธิการรัฐสภา
ตอนที่ 5.3 อานาจหน้าที่ของรัฐสภา
1. อานาจหน้าที่ในการจัดทากฎหมาย
รัฐสภาเป็นสถาบันทางการปกครองที่ถือว่าเป็นตัวแทนของประชาชนในสังคม การจัดทากฎหมายมี
กระบวนการและขั้นตอน ที่อานวยให้กฎหมายที่ประกาศใช้เป็นกฎหมายที่มีความเป็นธรรมและให้ความ เสมอ
ภาคแก่ประชาชนโดยทั่วไป
องค์กรนิติบัญญัติมีอานาจหน้าที่ในการจัดทากฎหมายได้แก่ พระราชบัญญัติซึ่งมีกระบวนการจัดทา
คล้ายคลึงกันทั่วโลก ให้อธิบายขั้นตอนต่างๆ ในการจัดทากฎหมายของไทยในกรณีที่กฎหมายได้รับการพิจารณา
ให้ความเห็นชอบโดยไม่มีอุปสรรคใดๆ
15
2. อานาจหน้าที่ในการควบคุมฝ่ายบริหาร
ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถ เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือทั้งคณะได้
3. อานาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบ และอานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนด
สภามีอานาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบเรื่องสาคัญๆของประเทศเกี่ยวกับสถาบันประมุขของ
ประเทศ การทาสนธิสัญญากับประเทศอื่นๆ การประกาศสงครามและการให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง
คณะกรรมการชุดต่างๆ ตามที่กฎหมายกาหนด
ตอนที่ 5.4 การเลือกตั้ง
1. แนวความคิดเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
1) ประชาชนซึ่งเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยของชาตินั้น จาเป็นจะต้องมอบหมายให้ตัวแทนของตนมาใช้
อานาจแทนการเลือกตั้ง 2) การกาหนดเขตเลือดตั้ง 3) ผู้ที่ได้รับเลือกเรีอกว่าผู้แทนเป็นตัวแทนของประชาชนที่
ได้ทาการเลือกบุคคลนั้นโดยการเลือกตั้ง
2. วิธีและระบบการเลือกตั้ง
วิธีเลือกตั้งแบ่งออกเป็นสองวิธีการใหญ่ๆ คือ การเลือกตั้งโดยทางตรงและการเลือกตั้งโดยทางอ้อม และ
ระบบของการเลือกตั้งก็แบ่งเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ การเลือกตั้งระบบคะแนนเสียงข้างมากและระบบการเลือกตั้ง
แบบมีตัวแทนตามสัดส่วนของคะแนนเสียง
3. การเลือกตั้งในประเทศไทย
การเลือกตั้งที่มีมาในประเทศไทยหลายครั้ง ได้ใช้วิธีการเลือกตั้งทั้งวิธีโดยตรงและวิธีการเลือกตั้ง
ทางอ้อม ใช้ระบบการเลือกตั้งแบบคะแนนเสียงข้างมากเป็นการการตัดสิน สาหรับเรื่องกาหนดเขตเลือกตั้งนั้น
กระทาในรูป ทั้งรวมเขต และวิธีการผสม
ตอนที่ 5.5 พรรคการเมือง
1. แนวความคิดเกี่ยวกับพรรคการเมือง
พรรคการเมืองเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสาคัญต่อแนวความคิดทางการเมืองของประชากร และ
เป็นสื่อกลางที่มีระบบให้ประชาชนมีโอกาสเข้าร่วมทางการเมือง หรือการปกครองประเทศ
2. ระบบพรรคการเมือง
1) ระบบพรรคเดียว 2) ระบบสองพรรค 3) ระบบหลายพรรค
3. บทบาทของพรรคการเมืองในรัฐสภา
บทบาทของพรรคการเมืองในฐานะที่เป็นพรรคฝ่ายรัฐบาลหรือฝ่ายเสียงข้างมากและพรรคการเมืองฝ่ายค้าน
หรือฝ่ายเสียงข้างน้อย รัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ ยอมรับบทบาททั้งสองประการนี้ของพรรคการเมืองในรัฐสภา
4. พรรคการเมืองในประเทศไทย
พรรคการเมืองที่มีลักษณะกาเนิดในรัฐสภา และมีจานวนหลายพรรคตลอดระยะเวลาที่มีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยพรรคการเมืองขาดความต่อเนื่องทาให้ประชาชนมีความเข้าใจระบบการเมืองน้อย และ
พรรคการเมืองขาดรากฐานที่มั่นคง
16
หน่วยที่ 6 องค์การบริหาร
ตอนที่ 6.1 ผู้ใช้อานาจบริหาร
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ใช้อานาจบริหาร
อานาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขใช้อานาจนั้นในทาง รัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และศาล
2. ผู้ใช้อานาจบริหาร
(1) ประมุขของรัฐซึ่งอาจเป็นได้ทั้งพระมหากษัตริย์และประธานาธิบดี
(2) หัวหน้าฝ่ายบริหาร อาจเป็นนายกรัฐมนตรี หรือประธานาธิบดี
(3) คณะรัฐมนตรี
(4) รัฐมนตรี
ตอนที่ 6.2 อานาจหน้าที่ขององค์กรบริหาร
1. อานาจหน้าที่ในการบริหารประเทศขององค์กรบริหาร มีแก่นนโยบาย คือ
1) นโยบายหลักหรือแนวนโยบายแห่งรัฐ ซึ่งกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
2) นโยบายของรัฐบาล เช่น การกาหนดนโยบาย , การดาเนินการตามนโยบาย
2. อานาจหน้าที่ในด้านนิติบัญญัติขององค์กรบริหาร
กฎหมายขององค์กรบริหารให้อานาจองค์กรบริหารที่จะออกกฎหมายเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้เพื่อความ
สะดวกในการบริหารประเทศ ดังนั้น กฎหมายที่ออกโดยองค์กรบริหารประเภทนี้ จึงมีฐานะต่ากว่ากฎหมายของ
องค์กรนิติบัญญัติ อย่างไรก็ตามในกรณีฉุกเฉินหรือในกรณีพิเศษ องค์กรบริหารก็มีอานาจที่จะออกกฎหมายที่มี
ฐานะเท่ากับกฎหมายขององค์กรนิติบัญญัติได้ถ้าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้โดยกฎหมายรัฐธรรมนูญ
3. อานาจหน้าที่ในด้านตุลาการขององค์กรบริหาร
เป็นอานาจที่องค์กรบริหารมีไว้เพื่อเป็นเครื่อง มือช่วยองค์กรบริหารในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวกับการ
วินิจฉัยกรณีพิพาทเล็กๆ น้อยๆ ระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน ซึ่งจะแบ่งเบาภาระของ
องค์กรตุลาการ โดยปกติแล้วการใช้อานาจในด้านตุลาการขององค์กรบริหารจะไม่ถือว่าสิ้นสุดเด็ดขาด หาก
เอกชนไม่พอ ใจในผลของการใช้อานาจดังกล่าวก็มีสิทธิที่จะนาข้อพิพาทไปให้องค์กรตุลาการเป็นผู้วินิจฉัยได้
4. อานาจหน้าที่ในยามฉุกเฉินขององค์กรบริหาร
(1) สภาวะไม่ปกติเนื่องจากเหตุการณ์ภายนอกประเทศ
(2) สภาวะไม่ปกติเนื่องมาจากเหตุการณ์ภายในประเทศ อานาจขององค์กรบริหารในสภา วะไม่ปกติ
เนื่องจากเหตุการณ์ภายนอกคลุมถึงการทาสนธิสัญญา ประกาศสงครามและประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งเป็นอานาจ
หลักขององค์กรบริหารที่จะนามาใช้ในสภาวะไม่ปกติ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ภายในประเทศ
17
หน่วยที่ 7 องค์กรตุลาการ
ตอนที่ 7.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ตุลาการ
1. ความหมายขององค์กรตุลาการ
ศาลคือองค์กรที่ใช้อานาจตุลาการที่เป็นหนึ่งในสามของอานาจอธิปไตย ซึ่งพระมหา กษัตริย์ทรง
มอบหมายให้ดาเนินการแทน องค์กรตุลาการ เป็นองค์กรซึ่งทาหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี และเป็น
การใช้อานาจหน้าที่หนึ่งของอานาจอธิปไตย
2. วิวัฒนาการขององค์กรตุลาการในสมัยต่างๆ
การใช้อานาจตุลาการของไทย ปรากฏหลักฐานในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี คือ ศิลาจารึกของพ่อ
ขุนรามคาแหงมหาราช ซึ่งได้วางหลักปฏิบัติผู้ที่ทาหน้าที่ที่ทาหน้าที่พิจารณาและการไต่สวนทวนพยาน
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น มีกรมวัง กรมคลัง และ กรมนาเป็นผู้รับชาระคดี ต่อมามีศาลในหัวเมือง
ฝ่ายเหนือ และศาลในหัวเมืองฝ่ายใต้รวมตลอดถึงศาลในกรมต่างๆ ที่ทาหน้าที่ชาระคดี
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการจัดตั้งศาลโปลิส และศาลอื่นๆ อีกเป็นจานวนมาก การ
ดาเนินการผ่านหลายขั้นตอนคือมีทั้งกรมรับฟ้อง ลูกขุน ณ ศาลหลวง ตระลาการประจากรมฯ และผู้ปรับบท
กฎหมาย ไม่มีการอุทธรณ์ฎีกา ใช้ระบบจารีตนครบาลในการสอบสวน ต่างประเทศได้ขอใช้สิทธิสภาพนอก
อาณาเขต จนถึงสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ปรับปรุงระบบการศาล ตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้น ให้ศาล
ทุกศาลขึ้นกับกระทรวงยุติธรรม และได้จัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้น หลังจากนั้นก็ได้วิวัฒนาการมาจนถึง
ปัจจุบันนี้
3. การจัดระเบียบองค์กรตุลาการ
การจัดตั้งศาลต้องทาเป็นพระราชบัญญัติ
ตอนที่ 7.2 โครงสร้างขององค์การตุลาการ
1. ศาลยุติธรรม
ศาลยุติธรรม เป็นศาลที่มี อานาจพิจารณาพิพากษาคดีตามกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา หรือคดีที่พล
เรือนกระทาผิดอาญาร่วมกับบุคคลที่อยู่ในอานาจศาลทหาร
ศาลยุติธรรมแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ศาลชั้นต้นแบ่งออกเป็นหลาย
ประเภท ศาลอุทธรณ์ศาลเดียว และศาลฎีกาศาลเดียว
2. ศาลพิเศษ
(1) ศาลคดีเด็กและเยาวชน (2) ศาลแรงงาน (3) ศาลทหาร ศาลทหารในเวลาปกติมีสามชั้น คือศาล
ทหารชั้นต้น ศาลทหารชั้นกลาง และศาลทหารสูงสุด ส่วนในเวลาไม่ปกติมีศาลทหารเดี่ยว (4) ศาลปกครอง
18
ตอนที่ 7.3 ผู้พิพากษา
1. การสรรหาและการแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ
การสรรหาผู้ดารงตาแหน่งผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ ต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาตรีทาง
กฎหมาย สอบไล่ได้เนติบัณฑิต มีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ากว่า 25 ปี บริบูรณ์ และต้องผ่านการสอบ
คัดเลือกตามที่คณะกรรมการตุลาการกาหนด หรือเมื่อคณะกรรมการตุลาการพิจารณ าเห็นว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติ
ครบถ้วนตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติข้าราชการฝ่ายตุลาการ ก็ให้คัดเลือกเป็นผู้พิพากษาได้ซึ่งทั้งสองกรณี
ต้องผ่านการอบรมจากกระทรวงยุติธรรมไม่น้อยกว่า 1 ปี
การคัดเลือกตุลาการศาลทหารแบ่งออกเป็น ตุลาการพระธรรมนูญ และตุลาการศาลทหาร
ตุลาการพระธรรมนูญคัดเลือกจากผู้สอบไล่ได้ชั้นปริญญาตรีทางกฎหมาย มีสัญชาติไทยโดยการเกิด มี
อายุ 18 ปีบริบูรณ์ และผ่านการสอบแข่งขันตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมพระธรรมนูญ กระทรวงกลาโหม
กาหนด และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีคาสั่งแต่งตั้งเป็นนายทหารสัญญาบัตรยศว่าที่ร้ อยตรี ว่าที่เรือตรี
ว่าที่เรืออากาศตรี
การคัดเลือกตุลาการศาลทหาร ได้แก่นายทหารชั้นสัญญาบัตรประจาการ มียศทหารชั้นร้อยตรี เรือตรี
และเรืออากาศตรีขึ้นไป และอาจแต่งตั้งนายทหารนอกประจาการเป็นตุลาการได้เมื่อผู้มีอานาจเห็นสมควร
2. ความเป็นอิสระของผู้พิพากษาและตุลาการ
ผู้พิพากษาและตุลาการมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซงของอานาจใดๆ
ในอันที่จะทาให้เสียความเป็นธรรม
19
หน่วยที่ 8 สิทธิเสรีภาพของประชาชน
ตอนที่ 8.1 แนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชน
1. บทนา
สิทธิทางกฎหมายได้แก่อานาจหรือประโยชน์ที่กฎหมายรับรอง และคุ้มครอง
ส่วนสิทธิทางศีลธรรม เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกนึกคิดของคนทั่วไป อาจยังไม่มีกฎหมายรับรอง
คุ้มครอง หรือบังคับให้เป็นไปตามสิทธิ
2. ความหมายดั้งเดิมของแนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชน
แนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชนมาจากแนวความคิดในเรื่องสิทธิธรรมชาติที่เป็น
แนวความคิดทางการเมืองหรือปรัชญาทางการเมืองของชาวตะวันตก สาระสาคัญ “สิทธิธรรมชาติ” มีว่า มนุษย์
ทั้งหลายเกิดมาเท่าเทียมกัน มนุษย์มีสิทธิบางประการที่ติดตัวมาแต่กาเนิด สิทธิดังกล่าวได้แก่ สิทธิในชีวิต
เสรีภาพในร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน และความเสมอภาค
“สิทธิธรรมชาติ” ก็เพื่อจากัดอานาจของรัฐ หรือ “ผู้มีอานาจปกครอง” ดังนั้น ความหมายดั้งเดิมของ
สิทธิเสรีภาพของประชาชนก็คือสิทธิในการจากัดอานาจรัฐนั่นเอง
3. แนวความคิดในเรื่อง “กฎหมายธรรมชาติ”
แนวคิดในเรื่องกฎหมายธรรมชาติเป็นแนวคิดที่เชื่อว่านอกเหนือจากกฎหมายที่รัฐบัญญัติแล้ว ยังมี
กฎหมายอีกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับได้โดย
ไม่จากัดเวลาและสถานที่
5. คาสอนและหลักศาสนา {1. ความเสมอภาค 2.ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.การกาจัดอานาจของรัฐ(ศาสนาคริสต์)}
คาสอนและหลักศาสนามีหลักการที่ส่งเสริมและสนับสนุนสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ในเรื่องความเสมอ
ภาคเท่าเทียมกัน ความสานึกในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และการจากัดอานาจของรัฐ
6. กฎหมายและคาประกาศที่รับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนของประเทศต่างๆ
กฎหมายรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศอังกฤษได้แก่ แมคนา คาร์ตา (Magna Carta) มี
สาระสาคัญว่าบุคคลใดจะถูกจับกุมคุมขัง ริมทรัพย์เนรเทศ หรือถูกลงโทษโดยวิธีการอย่างใดหาได้ไม่ เว้นแต่จะ
ได้รับการพิจารณาอันเทียงทาจากบุคคลในชั้นเดียวกับเขา และตามกฎหมายบ้านเมือง นอกจากนี้ประเทศอังกฤษ
ยังได้ประกาศใช้กฎหมายที่มีเนื้อหาสาระเช่นเดียวกับแมคนา คาร์ตา อีกหลายฉบับเช่น “The Act of Heabeas
Corpus” และ “The English Bill of Rights” เป็นต้น
คาประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาเป็นคาประกาศที่รับรองถึงสิทธิ ตามธรรมชาติของมนุษย์คือ
สิทธิในชีวิต เสรีภาพและสิทธิในการแสวงหาความสุข และยืนยันถึงอานาจของรัฐบาลที่ต้องมาจากปวงชน
คาประกาศสิทธิมนุษย์ของพลเมืองฝรั่งเศสเกี่ยวกับเสรีภาพแนวความคิดเกี่ยวกับสังคมการเมือง และ
แนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายและความเสมอภาค
20
ตอนที่ 8.2 ความหมายของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในปัจจุบัน
1. แนวความคิดที่ทาให้ความหมายดั้งเดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลง
(1) แนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมแบบมาร์กซิสม์
(2) แนวความคิดในทางสังคมของศาสนาคริสต์
(3) แนวความคิดในทางเศรษฐกิจสมัยใหม่
(4) แนวความคิดของลัทธิฟาสซีสต์และลัทธินาซี
2. การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของความหมายดั้งเดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(1) สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ
(2) สิทธิในทรัพย์สินไม่เป็นสิทธิเด็ดขาด
(3) สิทธิเสรีภาพของกลุ่มบุคคล เช่นสิทธิในครอบครัว
3. สิทธิเสรีภาพของประชาชนในปัจจุบัน
แต่เดิม สิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นแนวความคิดทางการเมือง ซึ่งอาจสรุปได้ว่าสิทธิเสรีภาพส่วน
หนึ่งของบุคคลนั้นรัฐมีพันธะที่จะต้องงดเว้นไม่สอดแทรกเข้าไปเกี่ยวข้อง สิทธิดังกล่าวในปัจจุบันเรียกว่า “สิทธิ
ทางแพ่งและทางการเมือง”
ในขั้นต่อมาแนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมมาร์กซิสม์ แนวความคิดทางสังคมของศาสนาคริสต์และ
แนวความคิดของลัทธิเศรษฐกิจใหม่ ทาให้แนวความคิดดั้งเดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป
“สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ” ที่จะจัดหลักประกันให้แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถดารงชีพอยู่ได้อย่างน้อยตามมาตรฐาน
ขั้นต่า สิทธิดังกล่าวนี้เรียกว่า “สิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม”
21
หน่วยที่ 9 การควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ
ตอนที่ 9.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ
1. ข้อจากัดของการใช้อานาจนิติบัญญัติ
อานาจนิติบัญญัติมีข้อจากัดตามหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย ไม่มีองค์กรใดจะใช้อานาจโดย
อิสระโดยปราศจากการควบคุม เว้นแต่องค์กรนั้นจะเป็นองค์กรเผด็จการ ดังนั้นการควบคุมการใช้อานาจนิติ
บัญญัติต้องดาเนินการโดยองค์กรที่เหมาะสม ทั้งในด้านความรู้ความ สามารถและในด้านรากฐานทางระบอบ
ประชาธิปไตย
2. ขอบเขตของการใช้อานาจนิติบัญญัติ
การใช้อานาจนิติบัญญัติมีขอบเขตจากัดตามหลักการพื้นฐานการปกครอง และตาม หลัก การพิทักษ์
สิทธิพื้นฐานของประชาชน ขอบเขตการใช้อานาจนิติบัญญัติอาจมีกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายลายลักษณ์
อักษร และกฎหมายทั่วไป
3. กลไก ควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ
กลไกสาคัญที่ใช้ควบคุมอานาจขององค์กรคือกฎหมาย หรือรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะกาหนดอานาจหน้าที่
ขององค์กรไว้ นอกจากนี้กลไกควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติอีกประการหนึ่งคือสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
และความเสมอภาคกันในกฎหมาย
ตอนที่ 9.2 วิธีการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ
1. การควบคุมโดยฝ่ายนิติบัญญัติ
การควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ายนิติบัญญัติอาจกระทาได้ 4 วิธี คือ ควบคุมโดย
กระบวนการตรากฎหมาย ควบคุมโดยบังคับให้มีการปรึกษา ควบคุมโดยการยับยั้งการออกกฎหมาย และควบคุม
โดยการตีความบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
2. การควบคุมโดยฝ่ายตุลาการ
การควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ายตุลาการเป็นการควบคุมโดยศาลซึ่งเป็นการควบคุม
โดยองค์กรภายนอก
3. การควบคุมโดยองค์กรพิเศษ
การควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติโดยองค์กรพิเศษ คือ การจัดให้มีองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็นผู้พิจารณา
ปัญหากฎหมายขัดกับรัฐธรรมนูญ ซึ่งศาลปกติทั่วไปจะพิจารณาปัญหานี้ไม่ได้เพราะอาจเป็นปัญหาทางการเมือง
จาเป็นต้องจัดตั้งองค์กรพิเศษที่มีความเป็นกลางมีความรู้ความสามารถและมีอิสระในการพิจารณาโดยไม่ยอมให้
อิทธิพลใดเข้ามาแทรกแซง องค์กรพิเศษนั้นได้แก่ คณะกรรมการตุลาการรัฐธรรมนูญ เป็นต้น
22
ตอนที่ 9.3 ผลของกฎหมายที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ
1. ระบบการพิจารณากฎหมาย แบ่งออกเป็นสองระบบ คือ
1)ระบบการรวมศูนย์อานาจการทบทวนทางกฎหมาย
2)ระบบการกระจายอานาจการทบทวนทางกฎหมาย
2. ผลย้อนหลังและผลไม่ย้อนหลังของกฎหมาย
การที่จะให้กฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้นมีผลย้อนหลัง หรือไม่มีผลย้อนหลัง หรือใช้บังคับไม่ได้
ตั้งแต่จุดใด ขึ้นอยู่กับแนวความคิดของนักกฎหมายในแต่ละประเทศ
ตอนที่ 9.4 การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง
1. เหตุผลในการให้มีกฎหมายลาดับรอง
การจัดให้มีกฎหมายลาดับรองเป็นเพราะความซับซ้อนของระบบการปกครองที่ต้องการความเหมาะสม
และความรวดเร็ว การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง ควรมอบให้แก่องค์กรที่ผู้มอบอานาจสามารถควบคุม
ได้เพราะจะต้องรับผิดชอบร่วมด้วย ซึ่งอาจเป็นความรับผิดชอบในทางกฎหมาย หรือความรับผิดชอบในทาง
การเมืองก็ได้
กฎหมายลาดับลอง 1.ราชโอการ 2.กฤษฎีกา 3.กฎกระทรวง 4.ประการศกระทรวง 5.กฎหมายท้องถิ่น
2. วิธีการมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง
การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง จะต้องกาหนดไว้ในกฎหมายแม่บทโดยชัดแจ้งว่าองค์กรใด
จะมีสิทธิออกกฎหมายลาดับรองประเภทใด ส่วนการมอบอานาจต่อก็เป็นไปตามแนว ความ คิดของนักกฎหมาย
ในแต่ละประเภท
ตอนที่ 9.5 การควบคุมการออกกฎหมายลาดับรอง
1. การกาหนดแนวทางของการออกกฎหมายลาดับรอง
กฎหมายลาดับรองเป็นการใช้อานาจนิติบัญญัติอย่างหนึ่ง ฉะนั้นจึงมีขอบเขตเช่นเดียว กับขอบเขตของ
การใช้อานาจนิติบัญญัติโดยทั่วไป กฎหมายอาจกาหนดรายละเอียดต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมแต่ละเรื่อง
2. การกาหนดวิธีการตรากฎหมายลาดับรอง
อาจนาหลักเกณฑ์ในวิชาการปกครองมาใช้เพื่อให้กฎหมายลาดับรองออกมาให้เหมาะสมกับสถานการณ์
อาจกาหนดขั้นตอนในการตรากฎหมายขึ้นเพื่อให้เกิดผลตามที่มุ่งหวังได้เช่น ให้มีการคานและดุล กันทั้งในแง่
ของผู้ออกกฎหมาย ผู้ใช้บังคับกฎหมายและประชาชน การวางระบบเพื่อให้มีการตรวจสอบดุลพินิจภายหลังได้
ตลอดจนการจัดให้มีการแจ้งให้ผู้ถูกบังคับทราบตามความเป็นธรรมด้วย
3. การจัดให้มีวิธีการควบคุมเฉพาะสาหรับการออกกฎหมายลาดับรอง
ควบคุมเฉพาะเพื่อมิให้กฎหมายลาดับรองขัดกับกฎหมายมีบท
23
หน่วยที่ 10 หลักทั่วไปแห่งกฎหมายปกครอง
ตอนที่ 10.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง
.
1. บทนา
การศึกษากฎหมายปกครองในประเทศไทยไม่พัฒนาไปไกลเท่าที่ควรเพราะนักกฎหมายในประเทศ ไทย
ให้ความสนใจน้อย ส่วนใหญ่มุ่งสนใจไปที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอรรถคดีในศาลเสียมากกว่า
อย่างไรก็ตามกฎหมายปกครองก็มีลักษณะดีเด่นในตัวเองในการกาหนดให้รัฐใช้อานาจอธิปไตยในขอบเขตและ
กฎเกณฑ์ของกฎหมายโดยไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิ และประโยชน์ของประชาชน
2. การปกครองของรัฐ
รัฐเอกราชต้องมีอานาจอธิปไตยแต่การใช้อานาจอธิปไตยของรัฐต้องอยู่ภายในขอบเขตและตาม
กฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้เพื่อความสงบสุขของประเทศและเพื่อมิให้กระทบกระเทือนสิทธิและประโยชน์ของ
ประชาชน
3. อานาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง
อานาจหน้าที่สาคัญของฝ่ายปกครอง ได้แก่การบริการสาธารณะที่เป็นงานประจา ทั้งนี้เพื่อตอบสน อง
ความต้องการของประชาชนซึ่งจ่ายเงินที่เรียกว่า “ภาษี” ให้แก่รัฐ
4. ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน
ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ฝ่ายปกครองกับประชาชนมีความสัมพันธ์ใกล้ชินมาก ฝ่าย
ปกครองจะปฏิบัติหน้าที่ภายในขอบเขตที่กฎหมายกาหนด ส่วนประชาชนต้องเคารพกฎหมาย
ตอนที่ 10.2 ลักษณะสาคัญของกฎหมายปกครอง
1. ความหมายของกฎหมายปกครอง
กฎหมายปกครองเป็นกฎหมายสาขามหาชนที่วางหลักการ จัดระเบียบและวิธีการดาเนินงานสาธารณะ
ของฝ่ายปกครอง และวางหลักความเกี่ยวพันระหว่างองค์การฝ่ายปกครองด้วยกันเอง และระหว่างฝ่ายปกครอง
กับประชาชน
2. บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง
(1) กฎหมายลายลักษณ์อักษร
(2) จารีตประเพณี
(3) คาพิพากษาของศาล
(4) ทฤษฎีกฎหมาย
(5) หลักกฎหมายทั่วไป
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf
41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Europejskie systemy władzy lokalnej Francja
Europejskie systemy władzy lokalnej FrancjaEuropejskie systemy władzy lokalnej Francja
Europejskie systemy władzy lokalnej Francja
 
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
 
Luận văn: Hoạt động của chính quyền xã tại Hưng Yên, HAY
Luận văn: Hoạt động của chính quyền xã tại Hưng Yên, HAYLuận văn: Hoạt động của chính quyền xã tại Hưng Yên, HAY
Luận văn: Hoạt động của chính quyền xã tại Hưng Yên, HAY
 
2. peristilahan dan pengertian han
2. peristilahan dan pengertian han2. peristilahan dan pengertian han
2. peristilahan dan pengertian han
 
Tiểu Luận Hệ Thống Pháp Luật Xã Hội Chủ Nghĩa Việt Nam.docx
Tiểu Luận Hệ Thống Pháp Luật Xã Hội Chủ Nghĩa Việt Nam.docxTiểu Luận Hệ Thống Pháp Luật Xã Hội Chủ Nghĩa Việt Nam.docx
Tiểu Luận Hệ Thống Pháp Luật Xã Hội Chủ Nghĩa Việt Nam.docx
 
Luận văn: Đặc trưng cơ bản của Bộ dân luật Bắc Kì năm 1931, HOT
Luận văn: Đặc trưng cơ bản của Bộ dân luật Bắc Kì năm 1931, HOTLuận văn: Đặc trưng cơ bản của Bộ dân luật Bắc Kì năm 1931, HOT
Luận văn: Đặc trưng cơ bản của Bộ dân luật Bắc Kì năm 1931, HOT
 
Luận văn: Thực hành quyền công tố đối với các tội xâm phạm sở hữu
Luận văn: Thực hành quyền công tố đối với các tội xâm phạm sở hữuLuận văn: Thực hành quyền công tố đối với các tội xâm phạm sở hữu
Luận văn: Thực hành quyền công tố đối với các tội xâm phạm sở hữu
 
Thẩm quyền của Hội đồng xét xử phúc thẩm đối với bản án sơ thẩm
Thẩm quyền của Hội đồng xét xử phúc thẩm đối với bản án sơ thẩmThẩm quyền của Hội đồng xét xử phúc thẩm đối với bản án sơ thẩm
Thẩm quyền của Hội đồng xét xử phúc thẩm đối với bản án sơ thẩm
 
Test constitucion organziacion territorial del estado
Test constitucion   organziacion territorial del estadoTest constitucion   organziacion territorial del estado
Test constitucion organziacion territorial del estado
 
Luận văn: Thẩm định dự thảo văn bản quy phạm pháp luật, HAY
Luận văn: Thẩm định dự thảo văn bản quy phạm pháp luật, HAYLuận văn: Thẩm định dự thảo văn bản quy phạm pháp luật, HAY
Luận văn: Thẩm định dự thảo văn bản quy phạm pháp luật, HAY
 
Fungsi dan Peran DPRD sebagai Kekuatan Legislasi, Anggaran, dan Pengawasan
Fungsi dan Peran DPRD sebagai Kekuatan Legislasi, Anggaran, dan PengawasanFungsi dan Peran DPRD sebagai Kekuatan Legislasi, Anggaran, dan Pengawasan
Fungsi dan Peran DPRD sebagai Kekuatan Legislasi, Anggaran, dan Pengawasan
 
Luận văn: Hình phạt cải tạo không giam giữ theo pháp luật hình sự
Luận văn: Hình phạt cải tạo không giam giữ theo pháp luật hình sựLuận văn: Hình phạt cải tạo không giam giữ theo pháp luật hình sự
Luận văn: Hình phạt cải tạo không giam giữ theo pháp luật hình sự
 
Luận văn: Người làm chứng trong Luật tố tụng hình sự Việt Nam
Luận văn: Người làm chứng trong Luật tố tụng hình sự Việt NamLuận văn: Người làm chứng trong Luật tố tụng hình sự Việt Nam
Luận văn: Người làm chứng trong Luật tố tụng hình sự Việt Nam
 
Luận văn: Thực hiện chính sách đối với công chức cấp xã, HOT
Luận văn: Thực hiện chính sách đối với công chức cấp xã, HOTLuận văn: Thực hiện chính sách đối với công chức cấp xã, HOT
Luận văn: Thực hiện chính sách đối với công chức cấp xã, HOT
 
Luận văn: Giáo dục pháp luật cho học viên trường sĩ quan, HOT
Luận văn: Giáo dục pháp luật cho học viên trường sĩ quan, HOTLuận văn: Giáo dục pháp luật cho học viên trường sĩ quan, HOT
Luận văn: Giáo dục pháp luật cho học viên trường sĩ quan, HOT
 
Báo cáo thực tập: Áp dụng pháp luật về quản lý hộ tịch, HAY
Báo cáo thực tập: Áp dụng pháp luật về quản lý hộ tịch, HAYBáo cáo thực tập: Áp dụng pháp luật về quản lý hộ tịch, HAY
Báo cáo thực tập: Áp dụng pháp luật về quản lý hộ tịch, HAY
 
Luận văn: Các dấu hiệu của lỗi cố ý và vô ý theo Luật hình sự, HAY
Luận văn: Các dấu hiệu của lỗi cố ý và vô ý theo Luật hình sự, HAYLuận văn: Các dấu hiệu của lỗi cố ý và vô ý theo Luật hình sự, HAY
Luận văn: Các dấu hiệu của lỗi cố ý và vô ý theo Luật hình sự, HAY
 
Anglia
AngliaAnglia
Anglia
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ถามตอบ 115 ข้อ
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ถามตอบ 115  ข้อแนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ถามตอบ 115  ข้อ
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ถามตอบ 115 ข้อ
 
Luận văn: Áp dụng hình phạt theo pháp luật hình sự tại Hà Nội
Luận văn: Áp dụng hình phạt theo pháp luật hình sự tại Hà NộiLuận văn: Áp dụng hình phạt theo pháp luật hình sự tại Hà Nội
Luận văn: Áp dụng hình phạt theo pháp luật hình sự tại Hà Nội
 

More from ssuser04a0ab

2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf
2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf
2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf
ssuser04a0ab
 
3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf
3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf
3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf
ssuser04a0ab
 
0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf
0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf
0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf
ssuser04a0ab
 
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
ssuser04a0ab
 

More from ssuser04a0ab (7)

2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf
2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf
2สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 กฎหมายลักษณะละเมิด.pdf
 
3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf
3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf
3สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 โอนสิทธิเรียกร้อง.pdf
 
0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf
0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf
0แนว ปรนัย แพ่ง2.pdf
 
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
 
AseanProject.pdf
AseanProject.pdfAseanProject.pdf
AseanProject.pdf
 
random-130819030835-phpapp01.pdf
random-130819030835-phpapp01.pdfrandom-130819030835-phpapp01.pdf
random-130819030835-phpapp01.pdf
 
111.pdf
111.pdf111.pdf
111.pdf
 

41201สรุปย่อ-กฎหมายมหาชน.pdf

  • 2. 2 คานา บทสรุปนี้ทาเพื่อเป็นวิทยาทานให้แก่บุคคลทั่วไปที่กาลังศึกษาวิชาความรู้กฎหมาย มหาชน (รหัส 40201) ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชานิติศาสตร์ โดยหวังว่าบทสรุปนี้จะมีประโยชน์ อย่างยิ่งในการล่นระยะเวลาในการอ่านหนังสือสาหรับผู้ที่มีเวลาน้อยในการอ่านหนังสือ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าผู้อ่านจะสอบผ่านได้อย่างง่ายดาย……สาธุ มาแว๊ว ๆ ๆ 12 มี.ค.51
  • 3. 3 สารบัญ หน้า หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน 6 ตอนที่ 1.1 กาเนิดแนวความคิดและพัฒนาการของกฎหมายมหาชน 6 ตอนที่ 1.2 ความหมาย ประเภทและบ่อเกิดของกฎหมายมหาชน 6 หน่วยที่ 2 ปรัชญารากฐานในกฎหมายมหาชน 8 ตอนที่ 2.1 นักปรัชญาสาคัญบางคนที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายมหาชน 8 ตอนที่ 2.2 ปรัชญาว่าด้วยรัฐ 9 ตอนที่ 2.3 ปรัชญาว่าด้วยอานาจอธิปไตย 9 หน่วยที่ 3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ 10 ตอนที่ 3.1 ประวัติของรัฐธรรมนูญ 10 ตอนที่ 3.2 การจัดทารัฐธรรมนูญ 10 ตอนที่ 3.3 การแก้ไขและยกเลิกรัฐธรรมนูญ 11 ตอนที่ 3.4 โครงร่างรัฐธรรมนูญ 11 ตอนที่ 3.5 รูปของรัฐและรูปแบบของประมุขของรัฐ 11 หน่วยที่ 4 ระบอบการปกครอง 12 ตอนที่ 4.1 ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 12 ตอนที่ 4.2 ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ 12 หน่วยที่ 5 องค์กรนิติบัญญัติ 14 ตอนที่ 5.1 แนวความคิดเกี่ยวกับองค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตย 14 ตอนที่ 5.2 ลักษณะของรัฐสภา 14 ตอนที่ 5.3 อานาจหน้าที่ของรัฐสภา 14 ตอนที่ 5.4 การเลือกตั้ง 15 ตอนที่ 5.5 พรรคการเมือง 15 หน่วยที่ 6 องค์การบริหาร 16
  • 4. 4 ตอนที่ 6.1 ผู้ใช้อานาจบริหาร 16 ตอนที่ 6.2 อานาจหน้าที่ขององค์กรบริหาร 16 หน่วยที่ 7 องค์กรตุลาการ 17 ตอนที่ 7.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ตุลาการ 17 ตอนที่ 7.2 โครงสร้างขององค์การตุลาการ 17 ตอนที่ 7.3 ผู้พิพากษา 18 หน่วยที่ 8 สิทธิเสรีภาพของประชาชน 19 ตอนที่ 8.1 แนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชน 19 ตอนที่ 8.2 ความหมายของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในปัจจุบัน 20 หน่วยที่ 9 การควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ 21 ตอนที่ 9.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ 21 ตอนที่ 9.2 วิธีการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ 21 ตอนที่ 9.3 ผลของกฎหมายที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ 22 ตอนที่ 9.4 การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง 22 ตอนที่ 9.5 การควบคุมการออกกฎหมายลาดับรอง 22 หน่วยที่ 10 หลักทั่วไปแห่งกฎหมายปกครอง 23 ตอนที่ 10.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง 23 ตอนที่ 10.2 ลักษณะสาคัญของกฎหมายปกครอง 23 ตอนที่ 10.3 การควบคุมฝ่ายปกครองในประเทศไทย 23 หน่วยที่ 11 ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 25 ตอนที่ 11.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 25 ตอนที่ 11.2 การจักระเบียบบริหารราชการ 25 ตอนที่ 11.3 อานาจในการบริหารราชการ 26 หน่วยที่ 12 บริการสาธารณะ 27 ตอนที่ 12.1 กาเนิดการบริการสาธารณะ 27 ตอนที่ 12.2 ระเบียบวิธีการจัดทาบริการสาธารณะ 27 ตอนที่ 12.3 องค์การที่จัดทาบริการสาธารณะ 28 ตอนที่ 12.4 นโยบาย ปัญหา และการควบคุมการจัดทาบริการสาธารณะ 29 หน่วยที่ 13 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 31
  • 5. 5 ตอนที่ 13.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสาพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 31 ตอนที่ 13.2 ลักษณะของความสาพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 31 ตอนที่ 13.3 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับกับการสรรหาข้าราชการ 31 ตอนที่ 13.4 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการ 32 ตอนที่ 13.5 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาข้าราชการ 32 ตอนที่ 13.6 การดาเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับวินัยข้าราชการ 33 ตอนที่ 13.7 การดาเนินการเกี่ยวกับสวัสดิการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 4 หน่วยที่ 14 การควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 35 ตอนที่ 14.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 35 ตอนที่ 14.2 กลไกแห่งการควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 35 ตอนที่ 14.3 การควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในวงราชการ 36 ตอนที่ 14.4 การควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐจากภายนอก 36 หน่วยที่ 15 ศาลปกครอง 37 ตอนที่ 15.1 บทนา 37 ตอนที่ 15.2 วิวัฒนาการของศาลปกครอง 37 ตอนที่ 15.3 ลักษณะของศาลปกครอง 38 ตอนที่ 15.4 เจ้าหน้าที่ซึ่งรับผิดชอบการปฏิบัติงานในศาลปกครอง 38 ตอนที่ 15.5 วิธีพิจารณาคดีในศาลปกครอง 39 ตอนที่ 15.6 ผลของการจัดตั้งศาลปกครอง 39 แบบตัวอย่างข้อสอบกฎหมายมหาชน 40
  • 6. 6 หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน ตอนที่ 1.1 กาเนิดแนวความคิดและพัฒนาการของกฎหมายมหาชน 1. กาเนิดแนวความคิดกฎหมายมหาชน ความคิดในการแบ่งสาขาของกฎหมายออกเป็นกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน มีมาตั้งแต่สมัย โรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมัยอารยะธรรมโรมันโบราณ เมื่อประมาณ 500 ปี ก่อน ค .ศ. แต่ไม่สู้จะมีความสาคัญ นัก จนกระทั่งเมื่อ อัลเปียน (Ulpian) ได้อธิบายว่า กฎหมายมหาชนคืออะไร และมีการจัดทากฎหมายปกครองขึ้น ในยุคคลาสสิก จึงได้มีบทบาทสาคัญขึ้น และเสื่อมลงอีกครั้งเมื่อสิ้นสมัยของพระเจ้าจักรพรรดิจัสติเนียน 2. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศภาคยุโรป กฎหมายมหาชนรุ่งเรืองมากในประเทศฝรั่งเศส เพราะอิทธิพลของกฎหมายโรมัน อิทธิพลของปรัชญา กฎหมายธรรมชาติ และการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ซึ่งเป็นเหตุให้มีการจัดตั้งสภาแห่งรัฐขึ้นทาหน้าที่เป็น ศาลปกครองสูงสุดในเวลาต่อมา 3. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศคอมมอนลอร์ ประเทศอังกฤษได้รับอิทธิพลจากกฎหมายโรมันน้อย และประกอบกับเหตุอื่นๆ อีกหลายเหตุ เช่น นักกฎหมายผู้หนึ่ง คือไดซีย์ (A.V.Diccy) ซึ่งโจมตีการแบ่งสาขาของกฎหมายในฝรั่งเศส และคัดค้านการจัดตั้ง ศาลปกครองในอังกฤษอย่างรุนแรง ทาให้พัฒนาเกี่ยวกับกฎหมายมหาชนช้ากว่าที่ควร 4. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศไทย พัฒนาช้ากว่าในประเทศอื่นเนื่องจาก 1. เราเพิ่งรู้จักกฎหมายสาขานี้เมื่อประมาณ 50-60 ปี มานี้เอง 2. อิทธิพลของกฎหมายอังกฤษ ทาให้เราไม่เห็นความจาเป็นในการแบ่งแยกสาขากฎหมายอย่างใน ประเทศภาคพื้นทวีป 3. เราเพิ่งมีกฎหมายที่พอจะจัดเป็นกฎหมายมหาชนได้เมื่อหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง (2475) 4. อิทธิพลทางการเมือง การปกครอง หรือการปฏิวัติรัฐปร ะหาร ทาให้พัฒนาการของกฎหมาย มหาชนชะงักลง 5. อิทธิพลของหลักการแบ่งแยกอานาจ ซึ่งเรายังเข้าใจไม่ตรงกัน 6. การจัดการศึกษาวิชากฎหมายในประเทศไทย ไม่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาการของกฎหมายมหาชน ตอนที่ 1.2 ความหมาย ประเภทและบ่อเกิดของกฎหมายมหาชน 1. ความหมายของกฎหมายมหาชน กฎหมายมหาชนคือ กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐกับราษฎรใน ฐานะที่รัฐเป็นฝ่ายปกครองราษฎร กล่าวคือในฐานะที่รัฐมีฐานะเหนือกว่าราษฎร
  • 7. 7 2. ประเภทของกฎหมายมหาชน (1) รัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นในลักษณะเดียวกัน เช่นพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน (2) กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ เช่นกฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กฎหมายพรรค การเมือง กฎหมายเกี่ยวกับการออกเสียงแสดงประชามติ กฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณาของตุลาการรัฐธรรมนูญ (3) กฎหมายปกครอง ได้แก่กฎหมายที่วางหลักการจัดระเบียบการปกครองโดยตรง กฎหมายที่กาหนด รายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารงาน เช่นกฎหมายภาษีอากร กฎหมายเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม กฎหมายแรงงาน (4) กฎหมายการคลัง เช่นกฎหมายงบประมาณ กฎหมายเงินตรา กฎหมายมหาชนที่จัดเพิ่มใหม่เมื่อไม่นานมานี้ได้แก่ (1) กฎหมายอาญา ซึ่งรวมประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญาทหาร (2) กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รวมถึงวิธีพิจารณาความในศาลคดีเด็กและเยาวชน (3) กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ซึ่งรวมกฎหมายล้มละลาย (4) กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม (5) กฎหมายเศรษฐกิจ 3. บ่อเกิดของกฎหมายมหาชน (1) กฎหมายลายลักษณ์อักษร (2) กฎหมายที่มิได้บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากนี้ยังมีบ่อเกิดจากทฤษฎีการเมือง การปกครอง และการคลังอีกด้วย
  • 8. 8 หน่วยที่ 2 ปรัชญารากฐานในกฎหมายมหาชน ตอนที่ 2.1 นักปรัชญาสาคัญบางคนที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายมหาชน 1. กฎหมายมหาชนไม่เพียงแต่เป็นเรื่องในทางนิติศาสตร์เท่านั้น แต่ต้องอาศัยห ลักวิชารัฐศาสตร์ และ เศรษฐศาสตร์ ตลอดจนปรัชญาด้วย 2. ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีส่วนทาให้กฎหมายมหาชนพัฒนาไปเป็นอันมาก 3. นักปรัชญาสมัยก่อนไม่สู้พอใจสภาพสังคมในสมัยตนจึงมักเสนอให้แก้ไขสภาพสังคมเสียใหม่ หรือ มิฉะนั้นก็สมมติสังคมใหม่ในอุดมคติของตนขึ้น 1. บทบาทของนักปรัชญาในการพัฒนากฎหมายมหาชน กฎหมายมหาชนไม่ได้เกิดจากตัวบทกฎหมายใดโดยเฉพาะ หากแต่พัฒนาไปตามความคิดนักปรัชญา กฎหมายในแต่ละสมัย ปรัชญาของใครมีผู้เห็นด้วยก็เอาไปใช้เป็นรากฐานในการจัดทาตัวบทกฎหมายมหาชน เช่น ทฤษฎีการแบ่งแยกอานาจของมองเตสกิเออ ทฤษฎีการจัดรูปแบบองค์กรวิ นิจฉัยว่ากฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ หรือไม่ของเคลเซ่น เป็นต้น 2. นักปรัชญาสมัยกรีก โสกราติส ปรัชญาแบบซักถาม (วิธีสร้างแบบโสกราติส) ปัจจุบันเรียกใหม่ว่า “ กรณีศึกษา ” เปลโต้ ผู้ก่อตั้งสานักปรัชญาถาวร และเป็นบ่อเกิดของมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา อริสโตเติล บิดาแห่งรัฐศาสตร์ ทฤษฎีมีส่วนปฏิบัติได้ และเห็นจริงกว่าทฤษฎีของ เปลโต้ 3. นักปรัชญาสมัยโรมัน ซิเซโร่ เป็นนักกฎหมาย นักการเมือง รัฐบุรุษ งานสาคัญคือหนังสือเรื่อง “สาธารณรัฐ” / “กฎหมาย” นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป เน้นในความยุติธรรม แต่อธิบายไปในแง่ของศาสนา 4. นักปรัชญาสมัยกลาง สมัยกลางเริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 476 จอห์นแห่งซอสเบอรี เน้นในกฎหมาย คือ ราชาต้องเคารพกฎหมายและปกครองโดยธรรม นักบุญโธมัส อไควนัส เป็นผู้ที่อธิบาย กฎหมายธรรมชาติโดยละเอียด 5. นักปรัชญาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ฌอง โบแดง นักปรัชญาชาวฝรั่งเศล เผยแพร่อานาจอธิปไตยของเป็นของกษัตริย์ โธมัส ฮอบส์ เขียนหนังสือเรื่อง “รัฏฐาธิปัตย์” เป็นตาราเล่มแรกของโลกที่เขียนด้วยภาษาอังกฤษ 6. นักปรัชญาหลังสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เจมส์ แฮริงตัน เป็นคนแรกที่กล้าพูดถึงเสรีภาพในการนับถือศาสนา อิทธิพลของ เจมส์ ทาให้ สหรัฐอเมริการ มีรัฐธรรนูญเป็นลายลักษณ์อักษร จอห์น ล้อค เห็นว่าการหาคาตอบทางปรัชญาต้องอาศัยการพิสูจน์ค้นคว้าและปฏิบัติ มิใช่จินตนาการ เอ็ดมัน เบอร์ค เน้นการนาสิทธิตามธรรมชาติมาปรับเข้ากับการเมืองการปกครอง เจเรมี แบนเธม งานวรรณกรรมมีอิทธิในการตรา พ.ร.บ. เช่น พ.ร.บ.การปฏิรูป , พ.ร.บ.เทศบาล ฯลฯ
  • 9. 9 อัลเบิร์ต เวนน์ ไดซีย์ วรรณกรรม “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญ” มองเตสกิเออ กฎหมายควรจะมีส่วนสัมพันธ์กับดิน ฟ้า อากาศของแต่ละประเทศ และคิดว่าอานาจ นิติบัญญัติและอานาจบริหาร ควรแยกกัน ฌอง ฌาคส์ รุสโซ่ กฎหมาย คือเจตจานงของประชาชนในชาติ ซึ่งแสดงออกร่วมกัน“สัญญาประชาคม” โธมัส เจฟเฟอร์สัน สิทธธรรมชาติ เช่น สิทธิในเสรีภาพ ความเสมอภาค การก่อการปฏิวัติ ฯลฯ จอห์น มาร์แชล เป็นผู้พิพากษา และคาพิพากษานั้นได้เป็นบรรทัดฐาน เช่น รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมาย สูงสุด , กม.ธรรมดาจะขัดกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ เมื่อขัดก็ให้ กม.ธรรมดาย่อมไร้ผลบังคับใช้ฯลฯ คาร์ล มาร์ก จัดตั้งสันนิบาตคอมมิวนิสต์ วรรณกรรมสาคัญ คาประกาศป่าวร้องของคอมมิวนิสต์ ฮันส์ เคลเส้น เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญออสเตรี ระบบตุลาการรัฐธรรมนูญเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ตอนที่ 2.2 ปรัชญาว่าด้วยรัฐ 1. วิวัฒนาการแนวความคิดเรื่องกาเนินของรัฐ ทฤษฎีอธิบายกาเนิดของรัฐมีหลายทฤษฎี แต่ที่นับว่านิยมอ้างกันมากที่สุด คือทฤษฎีวิวัฒนาการของ อริสโตเติล เรียกว่า Polis อันหมายถึงระเบียบองค์การขั้นสูงของประชาคมและอธิบายว่า รัฐเกิ ดจากวิวัฒนาการ ในทางการเมืองของมนุษย์โดยเริ่มจากการอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ แล้วขยายตัวใหญ่ขึ้นจนเป็นสังคมเผ่าพันธุ์และใน ที่สุดก็กลายเป็นนครหลายนคร เป็นจักรวรรดิ รัฐจึงเกิดจากมนุษย์นั่นเอง 2. องค์ประกอบของรัฐ ดินแดน ประชากร อานาจอธิปไตย และรัฐบาล เป็นองค์ประกอบทางการเมืองของรัฐ 3. นิติรัฐ หมายถึงรัฐที่ยอมอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย หลักนี้ให้ความคุ้มครองของประชาชน ว่าการดาเนิน งานใดๆ ก็ตามของรัฐจะต้องเป็นไปตามกฎหมายมิใช่อาเภอใจของผู้ปกครองประเทศ ตอนที่ 2.3 ปรัชญาว่าด้วยอานาจอธิปไตย 1. ความหมายและเจ้าของอานาจอธิปไตย (1) เป็นของพระผู้เป็นเจ้า (2) ของพระสันตะปาปา (3) เป็นของพระมหากษัตริย์ (4) เป็นของชาติ (5) เป็นของประชาชน/ในปัจจุบันถือตามทฤษฎีที่ 4 และ 5 สอดคล้องการปกครองแบบประชาธิปไตย 2. ลักษณะของอานาจอธิปไตย 1. เด็ดขาด 2. ความครอบคลุมทั่วไป 3. ความถาวร 4. ความไม่อาจถูกแบ่งแยกได้ 3. การแบ่งแยกอานาจ สนับสนุนหลักการที่ว่า สมาชิกในสังคมควรแบ่งงานหรือแบ่งหน้าที่กันทา เพื่อจะได้มีหลักประกันว่า จะไม่ถูกรังแกโดยอานาจเผด็จการของผู้ใด หรือต้องการโต้แย้งหลักการรวมอานาจหรือการตั้งตนเป็นเผด็จการ 4. รูปแบบของการใช้อานาจอธิปไตย องค์กรนิติบัญญัติ องค์กรบริหาร และองค์กรตุลาการ แต่ให้เกี่ยวข้องกันได้ดังที่เรียกว่าระบบ รัฐสภา
  • 10. 10 หน่วยที่ 3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ ตอนที่ 3.1 ประวัติของรัฐธรรมนูญ 1. ความหมายของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่วางระเบียบหรือกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับรัฐ กล่าวคือ ว่าด้วยดินแดน ประชากร อานาจอธิปไตย และรัฐบาล ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่างๆ ที่กาหนดขึ้นเพื่อทาหน้าที่แบ่งแยกกัน ออกไป โดยปกติแล้ว รัฐธรรมนูญต้องตราขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร กฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่ว่าด้วยสถาบันการเมืองต่างๆ ในรัฐ ซึ่งรวมทั้งรัฐธรรมนูญกฎมล เฑียรบาล จารีตประเพณีทางการเมืองและกฎหมายอื่นๆ ด้วย ด้วยเหตุนี้ กฎหมายรัฐธรรมนูญอาจไม่เป็นลาย ลักษณ์อักษรก็ได้เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญของอังกฤษ หรือแม้แต่จารีตประเพณีของไทย 2. ประวัติแนวความคิดในการจัดทารัฐธรรมนูญ จะเป็นธรรมนูญได้ต้องยอมรับหลักการแบ่งแยกอานาจตามทฤษฎีของ มองเตสกิเออ 3. ประเภทของรัฐธรรมนูญ แบ่งแยกตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) รัฐบาล = สาธารณรัฐ, ราชาธิปไตย , และเผด็จการ (2) รูปของรัฐ = รัฐเดี่ยว , รัฐรวม (3) วิธีการ บัญญัติ = ลายลักษณ์อักษร, ไม่ลาย (4) การแก้ไข= แก้ไขง่าย , แก้ไขยาก (5) เวลาในการใช้ = ชั่วคราว , ถาวร (6) ลักษณะรัฐภา (7) ฝ่ายบริหาร = รับผิดชอบต่อรัฐสภา , ไม่รับผิด (8) ฝ่ายตุลาการ ตอนที่ 3.2 การจัดทารัฐธรรมนูญ 1. อานาจการจัดให้มีรัฐธรรมนูญ ผู้จัดให้มีรัฐธรรมนูญขึ้นมักเป็นผู้มีอานาจทางการเมือง หรืออยู่ในฐานะรัฎฐาธิปัตย์ 2. อานาจการจัดทารัฐธรรมนูญ ฉบับชั่วคราวอาจทาโดยคนเพียงคนเดียว แต่ถ้าเป็นฉบับถาวรควรจัดทาโดยสภานิติบัญญัติหรือสภาร่าง รัฐธรรมนูญ 3. การจัดทารัฐธรรมนูญ การจัดทารัฐธรรมนูญที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมด้วย 4. กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญที่ดีไม่ควรมีข้อความยาวและมีหลายมาตราเกินไปนัก รายละเอียดต่างๆ จึงมักไปกาหนดไว้ ในกฎหมายอื่นซึ่งเรียกว่า “กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ” 5. รัฐธรรมนูญไทย รัฐธรรมนูญไทยมีทั้งสิ้น 20 ฉบับ แต่ถ้านับเฉพาะฉบับที่สาคัญจะมีเพียง 13 ฉบับ ฉบับ พ .ศ. 2489 เน้นในเรื่องของการให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมกับทางการเมือง ส่วน พ .ศ. 2492 และ พ.ศ. 2517 เน้นมากในเรื่องการจัดทาและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของพลเมือง
  • 11. 11 ตอนที่ 3.3 การแก้ไขและยกเลิกรัฐธรรมนูญ 1. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ อาจกาหนดข้อห้ามการแก้ไขรัฐธรรมนูญบางมาตรา หรือบางหลักการในรัฐธรรมนูญได้ เพื่อป้ องกันการ ยกเลิกรัฐธรรมนูญโดยวิธีนอกรัฐธรรมนูญ 2. การยกเลิกรัฐธรรมนูญ 1) โดยวิธีทางรัฐธรรมนูญ 2) โดยวิธีนอกรัฐธรรมนูญ เช่น การปฏิวัติ ส่วนการรัฐประหาร เพียงแค่ เปลี่ยนรัฐบาลใหม่เท่านั้น รัฐธรรมนูญยังเหมือนเดิม ตอนที่ 3.4 โครงร่างรัฐธรรมนูญ 1. คาปรารภของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญบางประเทศก็ไม่มีคาปรารภ แต่คาปรารภมีประโยชน์ดังนี้คือ (1) ช่วยให้รัฐธรรมนูญสละสลวยขึ้น (2) ช่วยในการตีความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ (3) ช่วยให้ทราบประวัติการเมืองของประเทศนั้น (4) ช่วยให้ทราบประวัติการจัดทารัฐธรรมนูญฉบับนั้น (5) บทบัญญัติบางเรื่องอาจบัญญัติไว้ที่อื่นไม่ได้ก็อาจนามาบัญญัติไว้ในคาปรารภ 2. เนื้อความของรัฐธรรมนูญ เนื้อความของรัฐธรรมนูญได้แก่ กฎเกณฑ์การปกครองประเทศ สิทธิเสรีภาพของประชาชน กฎเกณฑ์ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ความเป็นกฎหมายสูงสุด หน้าที่พลเมือง แนวนโยบายแห่งรัฐ และอาจมีบทเฉพาะกาลด้วย ก็ได้ ตอนที่ 3.5 รูปของรัฐและรูปแบบของประมุขของรัฐ 1. รูปของรัฐ มีทั้งที่เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐรวม รัฐเดี่ยว คือ รัฐที่เป็นเอกภาพ มีการใช้อานาจสูงสุดทั้งภายในภายนอกโดยองค์การเดียวทั่วดินแดนของรัฐ รัฐรวม คือ มีประมุขร่วมกัน โดยใช้อานาจภายนอกร่วมกัน แต่อานาจภายในแยกจากกัน 2. รูปของรัฐตามธรรมนูญไทย ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว มีดินแดนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งประเทศ มีอานาจอธิปไตยเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันทั้งประเทศ และประเทศไทยเป็น ราชอาณาจักร หมายถึง ดินแดนที่เป็นของประเทศไทยทั้งหมด ไม่ว่า พื้นดิน พื้นน้า หรือพื้นอากาศ 3. รูปแบบของประมุขของรัฐ 2 แบบ คือ 1) แบประธานาธิบดี 2) แบบพระมหากษัตริย์
  • 12. 12 หน่วยที่ 4 ระบอบการปกครอง ตอนที่ 4.1 ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 1. วิวัฒนาการระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มีวิวัฒนาการมาจากการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยตรงในนครรัฐเอเธนส์ของประเทศกรีกโบราณ ซึ่งในระยะต่อมาระบอบการปกครองนี้ได้สลายตัวในนครรัฐเอเธนส์ และมาเจริญเติบโตในประเทศอังกฤษ จนกระทั่งกลายเป็นประเทศแม่บทแห่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในปัจจุบัน 2. ความหมายของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยหมายถึงระบอบการปกครอง ที่อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งอานาจ และหลักการที่ว่าด้วย “ความถูกต้องแห่ง กฎหมาย” 3. องค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย องค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ได้แก่การเลือกตั้งหลักการแบ่งแยกอานาจและ หลักการว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมาย 4. รูปแบบของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 1) แบบรัฐสภา คือระบอบการปกครองที่อานาจขององค์กรฝ่ายบริหารและ องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ ทัดเทียมกันหรือใกล้เคียงกัน องค์กรทั้งสองต่างควบคุมซึ่งกันและกันและมีการประสานงานในการดาเนินการต่อ กัน ระบอบการปกครองแบบรัฐสภานี้ องค์กรฝ่ายบริหารจะแบ่งเป็นสององค์กรคือ ประมุขของรัฐซึ่งเป็นกษัตริย์ ที่สืบสันติวงศ์ต่อทอดกันมา หรือประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้ง และคณะรัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบใน การบริหารงานของรัฐ 2) แบบประธานาธิบดี เลือดตั้งทางอ้อมจากผู้คัดเลือกประธานาธิบดี ประธานาธิบดี เป็นทั้งประมุข แห่งรัฐ และเป็นหัวหน้ารัฐบาล ฝ่ายบริหารไม่ได้แบ่งเป็น 2 องค์กรอย่างเช่น ระบบรัฐสภา 3) แบบกึ่งประธานาธิบดี เป็นการเลือกตั้งโดยตรงมาจากประชาชน ตอนที่ 4.2 ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ 1. ความหมายของระบอบการปกครองแบบเผด็จการ ความหมายเป็นสองนัย ประการแรก เป็นระบอบการปกครองชั่วคราวที่มีวัตถุประสงค์ชั่วคราวเพื่อปก ปักษ์รักษาระบอบการปกครองเดิมของสังคม ประการที่สอง เป็นระบอบการปกครองที่อานาจปกครองของ รัฐบาลมิได้มีที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน
  • 13. 13 2. ระบบการปกครองแบบเผด็จการที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ระบบการปกครองแบบเผด็จการเกิดขึ้นเมื่อสังคมของประเทศเกิดวิกฤติการณ์ร้างแรง ซึ่งอาจเป็น วิกฤติการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นเป็นปกติวิสัยและมีความร้ายแรงมากน้อยต่างกัน ในบางครั้งความร้ายแรงแห่ง วิกฤติการณ์ทางสังคมอาจถึงขั้นที่จะต้องเปลี่ยนโครงสร้างของสังคม หรืออาจเป็นวิกฤติการณ์ที่เกี่ยวกับกับ ความชอบธรรมแห่งอานาจปกครองที่ขึ้นอยู่กับความเห็นพ้องต้องกันของประชาชนในประเทศ วิธีการที่ทาให้ประชาชนยอมรับอานาจปกครองแบบเผด็จการวิธีหนึ่งคือ การปราบปราม ผู้ซึ่งโต้แย้ง คัดค้านระบบการปกครองแบบเผด็จการ โดยการจับกุมคุมขัง การส่งตัวไปกักกันในค่าย การทรมานและการ ประหารชีวิต สาหรับกลไกที่ใช้ในการปราบปราม ได้แก่ กฎหมาย ตารวจและศาล ซึ่งจะทาให้สังคมมีความสงบ เรียบร้อยไม่ว่าในระบบการปกครองแบบใด แต่กลไกที่จะใช้ในการปราบปรามที่จะให้ได้ผลเด็ดขาด คือตารวจ ลับ ซึ่งมีอานาจจับกุม คุมขัง และทรมานตลอดจนกระทั่งประหารชีวิตประชาชนที่สงสัยว่าเป็นปรปักษ์ต่อระ บบ เผด็จการโดยไม่มีกระบวนการพิจารณา เช่น คดีตามปกติ 3. ระบบการปกครองแบบเผด็จการที่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ประเทศสังคมนิยมนั้นยึดถือโครงสร้างในการผลิตเป็นพื้นฐานสาคัญทางสังคม โดยถือว่า เครื่องมือใน การผลิตเป็นของส่วนรวมหมายถึงอาจเป็นของรัฐ เป็นขององค์กรส่ วนท้องถิ่น หรือเป็นของสหกรณ์นอกจากนี้ ยังยึดถืออุดมการณ์เป็นสิ่งที่มีบทบาทสาคัญยิ่งในระบบสังคมนิยมเพราะอุดมการณ์เป็นความนึกคิดที่มีเหตุผล ในทางวิทยาศาสตร์ และเป็นจุดเริ่มต้นของโครงสร้างในการผลิต อย่างไรก็ดีประเทศสังคมนิยมยอมรับอิทธิพล ของอุดมการณ์อย่างอื่นด้วย เช่น อุดมการณ์แบบธรรมเนียมประเพณีและอุดมการณ์ทางการเมืองเป็นต้น การใช้อานาจเผด็จการแบบปฏิวัติมีลักษณะเฉพาะสองประการคือ (1) เป็นการใช้อานาจเผด็จการแบบชั่วคราวที่คณะปฏิวัติจะทาหน้าที่เสมือนหนึ่งผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาล อนุบาลระบบการปกครองที่จัดตั้งขึ้น (2) เป็นเผด็จการที่มุ่งหมายกล่อมเกลา เปลี่ยนแปลงทัศนคติของประชาชนเพื่อให้ประชาชนสามารถ ใช้เสรีภาพและการดารงชีวิตอยู่โดยไม่ต้องใช้อานาจเผด็จการ เผด็จการปฏิวัติจะใช้วิธีการสองอย่างควบคู่กันไป คือ การลงโทษและการโฆษณาชวนเชื่อ 4. รัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยม ลักษณะสาคัญของรัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยมลักษณะหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งแบบหยั่ง เสียง รัฐกาหนดให้มีการเลือกตั้งทุกระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้อานาจปกครองท้องถิ่น สมาชิกรัฐสภาและประธานาธิบดี แทนที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะมีสิทธิเลือกตั้งผู้สมัครหนึ่งในบรรดาผู้สมัครเลือกตั้งหลายคน แต่กลับมีสิทธิเพียงการ ให้การรับรองหรือไม่รับรองเห็นชอบผู้สมัครรับเลือกตั้งคนเดียว ดังนั้นสิทธิเสรีภาพของประชาชนในทาง การเมืองจึงมีข้อจากัด กล่าวได้ว่าไม่มีการแข่งขันกันในทางการเมืองขณะที่มีการเลือกตั้ง
  • 14. 14 หน่วยที่ 5 องค์กรนิติบัญญัติ ตอนที่ 5.1 แนวความคิดเกี่ยวกับองค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตย 1. การแบ่งแยกอานาจหน้าที่ในการใช้อานาจอธิปไตย อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่งแยกออกเป็นสาขาสาคัญๆ ได้สามอานาจ คือ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ 2. วิวัฒนาการขององค์กรนิติบัญญัติในระบอบการปกครองแบบรัฐสภา รัฐสภาซึ่งเป็นผู้ใช้อานาจนิติบัญญัติของประเทศอังกฤษเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยวิวัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ ระบบรัฐสภาของอังกฤษถือเป็นแม่บทของรัฐสภาประเทศต่างๆทั่วโลก 3. ความเป็นมาขององค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตยของไทย ก่อนมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศไทย เมื่อพุทธศักราช 2475 ได้มีความพยายามที่จะปู พื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และเมื่อได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ก็ได้นาระบบรัฐสภาของ อังกฤษมาประยุกต์ใช้ ตอนที่ 5.2 ลักษณะของรัฐสภา 1. รูปแบบของรัฐสภา รูปแบบของรัฐสภาอาจจาแนกได้สองรูปแบบ คือ สภาเดี่ยวและสภาคู่ ขึ้นอยู่กับโครงสร้างและพื้นฐาน ทางการปกครองของแต่ละประเทศ รูปแบบของสภาเดียวหรือของรัฐเดี่ยวและรัฐรวมมีเหตุผลแตกต่างกัน และแม้แต่ในรัฐเดี่ยวการมีสอง สภาเหมือนกันก็ยังมีเหตุผลความจาเป็นแตกต่างกัน โดยเฉพาะประเทศอังกฤษซึ่งมีเหตุผลทางประวัติศาสตร์การ ปกครอง ส่วนประเทศที่เป็นรัฐเดี่ยวอื่นๆ มีเหตุผลแตกต่างกันออกไป 2. องค์ประกอบของรัฐสภา จานวนสภา( เช่น สภาขุนนางและ สภาสามัญ ของE) และมวลสมาชิกของสภา มี ดังนี้ 1) เลือกตั้งโดยตรง 2) เลือกตั้งโดยอ้อม 3) โดยการสืบตระกูล(อังกฤษ) 4) แต่งตั้ง 5) ผู้แทนกลุ่มชน 3. องค์กรภายในของรัฐสภา 1) การกาหนดสมัยประชุมของรัฐสภา 2) การแบ่งงานภายในรัฐสภา 3) องค์กรที่ปฏิบัติงานในรัฐสภา 4) เอกสิทธิ์และความคุ้มครองกันของคณะกรรมาธิการ5) ตาแหน่งสาคัญๆ ในรัฐสภา6) สานักงานเลขาธิการรัฐสภา ตอนที่ 5.3 อานาจหน้าที่ของรัฐสภา 1. อานาจหน้าที่ในการจัดทากฎหมาย รัฐสภาเป็นสถาบันทางการปกครองที่ถือว่าเป็นตัวแทนของประชาชนในสังคม การจัดทากฎหมายมี กระบวนการและขั้นตอน ที่อานวยให้กฎหมายที่ประกาศใช้เป็นกฎหมายที่มีความเป็นธรรมและให้ความ เสมอ ภาคแก่ประชาชนโดยทั่วไป องค์กรนิติบัญญัติมีอานาจหน้าที่ในการจัดทากฎหมายได้แก่ พระราชบัญญัติซึ่งมีกระบวนการจัดทา คล้ายคลึงกันทั่วโลก ให้อธิบายขั้นตอนต่างๆ ในการจัดทากฎหมายของไทยในกรณีที่กฎหมายได้รับการพิจารณา ให้ความเห็นชอบโดยไม่มีอุปสรรคใดๆ
  • 15. 15 2. อานาจหน้าที่ในการควบคุมฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติสามารถ เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือทั้งคณะได้ 3. อานาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบ และอานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนด สภามีอานาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบเรื่องสาคัญๆของประเทศเกี่ยวกับสถาบันประมุขของ ประเทศ การทาสนธิสัญญากับประเทศอื่นๆ การประกาศสงครามและการให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง คณะกรรมการชุดต่างๆ ตามที่กฎหมายกาหนด ตอนที่ 5.4 การเลือกตั้ง 1. แนวความคิดเกี่ยวกับการเลือกตั้ง 1) ประชาชนซึ่งเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยของชาตินั้น จาเป็นจะต้องมอบหมายให้ตัวแทนของตนมาใช้ อานาจแทนการเลือกตั้ง 2) การกาหนดเขตเลือดตั้ง 3) ผู้ที่ได้รับเลือกเรีอกว่าผู้แทนเป็นตัวแทนของประชาชนที่ ได้ทาการเลือกบุคคลนั้นโดยการเลือกตั้ง 2. วิธีและระบบการเลือกตั้ง วิธีเลือกตั้งแบ่งออกเป็นสองวิธีการใหญ่ๆ คือ การเลือกตั้งโดยทางตรงและการเลือกตั้งโดยทางอ้อม และ ระบบของการเลือกตั้งก็แบ่งเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ การเลือกตั้งระบบคะแนนเสียงข้างมากและระบบการเลือกตั้ง แบบมีตัวแทนตามสัดส่วนของคะแนนเสียง 3. การเลือกตั้งในประเทศไทย การเลือกตั้งที่มีมาในประเทศไทยหลายครั้ง ได้ใช้วิธีการเลือกตั้งทั้งวิธีโดยตรงและวิธีการเลือกตั้ง ทางอ้อม ใช้ระบบการเลือกตั้งแบบคะแนนเสียงข้างมากเป็นการการตัดสิน สาหรับเรื่องกาหนดเขตเลือกตั้งนั้น กระทาในรูป ทั้งรวมเขต และวิธีการผสม ตอนที่ 5.5 พรรคการเมือง 1. แนวความคิดเกี่ยวกับพรรคการเมือง พรรคการเมืองเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสาคัญต่อแนวความคิดทางการเมืองของประชากร และ เป็นสื่อกลางที่มีระบบให้ประชาชนมีโอกาสเข้าร่วมทางการเมือง หรือการปกครองประเทศ 2. ระบบพรรคการเมือง 1) ระบบพรรคเดียว 2) ระบบสองพรรค 3) ระบบหลายพรรค 3. บทบาทของพรรคการเมืองในรัฐสภา บทบาทของพรรคการเมืองในฐานะที่เป็นพรรคฝ่ายรัฐบาลหรือฝ่ายเสียงข้างมากและพรรคการเมืองฝ่ายค้าน หรือฝ่ายเสียงข้างน้อย รัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ ยอมรับบทบาททั้งสองประการนี้ของพรรคการเมืองในรัฐสภา 4. พรรคการเมืองในประเทศไทย พรรคการเมืองที่มีลักษณะกาเนิดในรัฐสภา และมีจานวนหลายพรรคตลอดระยะเวลาที่มีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยพรรคการเมืองขาดความต่อเนื่องทาให้ประชาชนมีความเข้าใจระบบการเมืองน้อย และ พรรคการเมืองขาดรากฐานที่มั่นคง
  • 16. 16 หน่วยที่ 6 องค์การบริหาร ตอนที่ 6.1 ผู้ใช้อานาจบริหาร 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ใช้อานาจบริหาร อานาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขใช้อานาจนั้นในทาง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล 2. ผู้ใช้อานาจบริหาร (1) ประมุขของรัฐซึ่งอาจเป็นได้ทั้งพระมหากษัตริย์และประธานาธิบดี (2) หัวหน้าฝ่ายบริหาร อาจเป็นนายกรัฐมนตรี หรือประธานาธิบดี (3) คณะรัฐมนตรี (4) รัฐมนตรี ตอนที่ 6.2 อานาจหน้าที่ขององค์กรบริหาร 1. อานาจหน้าที่ในการบริหารประเทศขององค์กรบริหาร มีแก่นนโยบาย คือ 1) นโยบายหลักหรือแนวนโยบายแห่งรัฐ ซึ่งกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 2) นโยบายของรัฐบาล เช่น การกาหนดนโยบาย , การดาเนินการตามนโยบาย 2. อานาจหน้าที่ในด้านนิติบัญญัติขององค์กรบริหาร กฎหมายขององค์กรบริหารให้อานาจองค์กรบริหารที่จะออกกฎหมายเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้เพื่อความ สะดวกในการบริหารประเทศ ดังนั้น กฎหมายที่ออกโดยองค์กรบริหารประเภทนี้ จึงมีฐานะต่ากว่ากฎหมายของ องค์กรนิติบัญญัติ อย่างไรก็ตามในกรณีฉุกเฉินหรือในกรณีพิเศษ องค์กรบริหารก็มีอานาจที่จะออกกฎหมายที่มี ฐานะเท่ากับกฎหมายขององค์กรนิติบัญญัติได้ถ้าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้โดยกฎหมายรัฐธรรมนูญ 3. อานาจหน้าที่ในด้านตุลาการขององค์กรบริหาร เป็นอานาจที่องค์กรบริหารมีไว้เพื่อเป็นเครื่อง มือช่วยองค์กรบริหารในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวกับการ วินิจฉัยกรณีพิพาทเล็กๆ น้อยๆ ระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน ซึ่งจะแบ่งเบาภาระของ องค์กรตุลาการ โดยปกติแล้วการใช้อานาจในด้านตุลาการขององค์กรบริหารจะไม่ถือว่าสิ้นสุดเด็ดขาด หาก เอกชนไม่พอ ใจในผลของการใช้อานาจดังกล่าวก็มีสิทธิที่จะนาข้อพิพาทไปให้องค์กรตุลาการเป็นผู้วินิจฉัยได้ 4. อานาจหน้าที่ในยามฉุกเฉินขององค์กรบริหาร (1) สภาวะไม่ปกติเนื่องจากเหตุการณ์ภายนอกประเทศ (2) สภาวะไม่ปกติเนื่องมาจากเหตุการณ์ภายในประเทศ อานาจขององค์กรบริหารในสภา วะไม่ปกติ เนื่องจากเหตุการณ์ภายนอกคลุมถึงการทาสนธิสัญญา ประกาศสงครามและประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งเป็นอานาจ หลักขององค์กรบริหารที่จะนามาใช้ในสภาวะไม่ปกติ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ภายในประเทศ
  • 17. 17 หน่วยที่ 7 องค์กรตุลาการ ตอนที่ 7.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ตุลาการ 1. ความหมายขององค์กรตุลาการ ศาลคือองค์กรที่ใช้อานาจตุลาการที่เป็นหนึ่งในสามของอานาจอธิปไตย ซึ่งพระมหา กษัตริย์ทรง มอบหมายให้ดาเนินการแทน องค์กรตุลาการ เป็นองค์กรซึ่งทาหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี และเป็น การใช้อานาจหน้าที่หนึ่งของอานาจอธิปไตย 2. วิวัฒนาการขององค์กรตุลาการในสมัยต่างๆ การใช้อานาจตุลาการของไทย ปรากฏหลักฐานในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี คือ ศิลาจารึกของพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช ซึ่งได้วางหลักปฏิบัติผู้ที่ทาหน้าที่ที่ทาหน้าที่พิจารณาและการไต่สวนทวนพยาน ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น มีกรมวัง กรมคลัง และ กรมนาเป็นผู้รับชาระคดี ต่อมามีศาลในหัวเมือง ฝ่ายเหนือ และศาลในหัวเมืองฝ่ายใต้รวมตลอดถึงศาลในกรมต่างๆ ที่ทาหน้าที่ชาระคดี ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการจัดตั้งศาลโปลิส และศาลอื่นๆ อีกเป็นจานวนมาก การ ดาเนินการผ่านหลายขั้นตอนคือมีทั้งกรมรับฟ้อง ลูกขุน ณ ศาลหลวง ตระลาการประจากรมฯ และผู้ปรับบท กฎหมาย ไม่มีการอุทธรณ์ฎีกา ใช้ระบบจารีตนครบาลในการสอบสวน ต่างประเทศได้ขอใช้สิทธิสภาพนอก อาณาเขต จนถึงสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ปรับปรุงระบบการศาล ตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้น ให้ศาล ทุกศาลขึ้นกับกระทรวงยุติธรรม และได้จัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้น หลังจากนั้นก็ได้วิวัฒนาการมาจนถึง ปัจจุบันนี้ 3. การจัดระเบียบองค์กรตุลาการ การจัดตั้งศาลต้องทาเป็นพระราชบัญญัติ ตอนที่ 7.2 โครงสร้างขององค์การตุลาการ 1. ศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม เป็นศาลที่มี อานาจพิจารณาพิพากษาคดีตามกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา หรือคดีที่พล เรือนกระทาผิดอาญาร่วมกับบุคคลที่อยู่ในอานาจศาลทหาร ศาลยุติธรรมแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ศาลชั้นต้นแบ่งออกเป็นหลาย ประเภท ศาลอุทธรณ์ศาลเดียว และศาลฎีกาศาลเดียว 2. ศาลพิเศษ (1) ศาลคดีเด็กและเยาวชน (2) ศาลแรงงาน (3) ศาลทหาร ศาลทหารในเวลาปกติมีสามชั้น คือศาล ทหารชั้นต้น ศาลทหารชั้นกลาง และศาลทหารสูงสุด ส่วนในเวลาไม่ปกติมีศาลทหารเดี่ยว (4) ศาลปกครอง
  • 18. 18 ตอนที่ 7.3 ผู้พิพากษา 1. การสรรหาและการแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ การสรรหาผู้ดารงตาแหน่งผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ ต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาตรีทาง กฎหมาย สอบไล่ได้เนติบัณฑิต มีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ากว่า 25 ปี บริบูรณ์ และต้องผ่านการสอบ คัดเลือกตามที่คณะกรรมการตุลาการกาหนด หรือเมื่อคณะกรรมการตุลาการพิจารณ าเห็นว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติข้าราชการฝ่ายตุลาการ ก็ให้คัดเลือกเป็นผู้พิพากษาได้ซึ่งทั้งสองกรณี ต้องผ่านการอบรมจากกระทรวงยุติธรรมไม่น้อยกว่า 1 ปี การคัดเลือกตุลาการศาลทหารแบ่งออกเป็น ตุลาการพระธรรมนูญ และตุลาการศาลทหาร ตุลาการพระธรรมนูญคัดเลือกจากผู้สอบไล่ได้ชั้นปริญญาตรีทางกฎหมาย มีสัญชาติไทยโดยการเกิด มี อายุ 18 ปีบริบูรณ์ และผ่านการสอบแข่งขันตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมพระธรรมนูญ กระทรวงกลาโหม กาหนด และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีคาสั่งแต่งตั้งเป็นนายทหารสัญญาบัตรยศว่าที่ร้ อยตรี ว่าที่เรือตรี ว่าที่เรืออากาศตรี การคัดเลือกตุลาการศาลทหาร ได้แก่นายทหารชั้นสัญญาบัตรประจาการ มียศทหารชั้นร้อยตรี เรือตรี และเรืออากาศตรีขึ้นไป และอาจแต่งตั้งนายทหารนอกประจาการเป็นตุลาการได้เมื่อผู้มีอานาจเห็นสมควร 2. ความเป็นอิสระของผู้พิพากษาและตุลาการ ผู้พิพากษาและตุลาการมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซงของอานาจใดๆ ในอันที่จะทาให้เสียความเป็นธรรม
  • 19. 19 หน่วยที่ 8 สิทธิเสรีภาพของประชาชน ตอนที่ 8.1 แนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชน 1. บทนา สิทธิทางกฎหมายได้แก่อานาจหรือประโยชน์ที่กฎหมายรับรอง และคุ้มครอง ส่วนสิทธิทางศีลธรรม เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกนึกคิดของคนทั่วไป อาจยังไม่มีกฎหมายรับรอง คุ้มครอง หรือบังคับให้เป็นไปตามสิทธิ 2. ความหมายดั้งเดิมของแนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชน แนวความคิดที่ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชนมาจากแนวความคิดในเรื่องสิทธิธรรมชาติที่เป็น แนวความคิดทางการเมืองหรือปรัชญาทางการเมืองของชาวตะวันตก สาระสาคัญ “สิทธิธรรมชาติ” มีว่า มนุษย์ ทั้งหลายเกิดมาเท่าเทียมกัน มนุษย์มีสิทธิบางประการที่ติดตัวมาแต่กาเนิด สิทธิดังกล่าวได้แก่ สิทธิในชีวิต เสรีภาพในร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน และความเสมอภาค “สิทธิธรรมชาติ” ก็เพื่อจากัดอานาจของรัฐ หรือ “ผู้มีอานาจปกครอง” ดังนั้น ความหมายดั้งเดิมของ สิทธิเสรีภาพของประชาชนก็คือสิทธิในการจากัดอานาจรัฐนั่นเอง 3. แนวความคิดในเรื่อง “กฎหมายธรรมชาติ” แนวคิดในเรื่องกฎหมายธรรมชาติเป็นแนวคิดที่เชื่อว่านอกเหนือจากกฎหมายที่รัฐบัญญัติแล้ว ยังมี กฎหมายอีกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับได้โดย ไม่จากัดเวลาและสถานที่ 5. คาสอนและหลักศาสนา {1. ความเสมอภาค 2.ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.การกาจัดอานาจของรัฐ(ศาสนาคริสต์)} คาสอนและหลักศาสนามีหลักการที่ส่งเสริมและสนับสนุนสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ในเรื่องความเสมอ ภาคเท่าเทียมกัน ความสานึกในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และการจากัดอานาจของรัฐ 6. กฎหมายและคาประกาศที่รับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนของประเทศต่างๆ กฎหมายรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศอังกฤษได้แก่ แมคนา คาร์ตา (Magna Carta) มี สาระสาคัญว่าบุคคลใดจะถูกจับกุมคุมขัง ริมทรัพย์เนรเทศ หรือถูกลงโทษโดยวิธีการอย่างใดหาได้ไม่ เว้นแต่จะ ได้รับการพิจารณาอันเทียงทาจากบุคคลในชั้นเดียวกับเขา และตามกฎหมายบ้านเมือง นอกจากนี้ประเทศอังกฤษ ยังได้ประกาศใช้กฎหมายที่มีเนื้อหาสาระเช่นเดียวกับแมคนา คาร์ตา อีกหลายฉบับเช่น “The Act of Heabeas Corpus” และ “The English Bill of Rights” เป็นต้น คาประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาเป็นคาประกาศที่รับรองถึงสิทธิ ตามธรรมชาติของมนุษย์คือ สิทธิในชีวิต เสรีภาพและสิทธิในการแสวงหาความสุข และยืนยันถึงอานาจของรัฐบาลที่ต้องมาจากปวงชน คาประกาศสิทธิมนุษย์ของพลเมืองฝรั่งเศสเกี่ยวกับเสรีภาพแนวความคิดเกี่ยวกับสังคมการเมือง และ แนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายและความเสมอภาค
  • 20. 20 ตอนที่ 8.2 ความหมายของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในปัจจุบัน 1. แนวความคิดที่ทาให้ความหมายดั้งเดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลง (1) แนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมแบบมาร์กซิสม์ (2) แนวความคิดในทางสังคมของศาสนาคริสต์ (3) แนวความคิดในทางเศรษฐกิจสมัยใหม่ (4) แนวความคิดของลัทธิฟาสซีสต์และลัทธินาซี 2. การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของความหมายดั้งเดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชน (1) สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ (2) สิทธิในทรัพย์สินไม่เป็นสิทธิเด็ดขาด (3) สิทธิเสรีภาพของกลุ่มบุคคล เช่นสิทธิในครอบครัว 3. สิทธิเสรีภาพของประชาชนในปัจจุบัน แต่เดิม สิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นแนวความคิดทางการเมือง ซึ่งอาจสรุปได้ว่าสิทธิเสรีภาพส่วน หนึ่งของบุคคลนั้นรัฐมีพันธะที่จะต้องงดเว้นไม่สอดแทรกเข้าไปเกี่ยวข้อง สิทธิดังกล่าวในปัจจุบันเรียกว่า “สิทธิ ทางแพ่งและทางการเมือง” ในขั้นต่อมาแนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมมาร์กซิสม์ แนวความคิดทางสังคมของศาสนาคริสต์และ แนวความคิดของลัทธิเศรษฐกิจใหม่ ทาให้แนวความคิดดั้งเดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป “สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ” ที่จะจัดหลักประกันให้แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถดารงชีพอยู่ได้อย่างน้อยตามมาตรฐาน ขั้นต่า สิทธิดังกล่าวนี้เรียกว่า “สิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม”
  • 21. 21 หน่วยที่ 9 การควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ ตอนที่ 9.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ 1. ข้อจากัดของการใช้อานาจนิติบัญญัติ อานาจนิติบัญญัติมีข้อจากัดตามหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย ไม่มีองค์กรใดจะใช้อานาจโดย อิสระโดยปราศจากการควบคุม เว้นแต่องค์กรนั้นจะเป็นองค์กรเผด็จการ ดังนั้นการควบคุมการใช้อานาจนิติ บัญญัติต้องดาเนินการโดยองค์กรที่เหมาะสม ทั้งในด้านความรู้ความ สามารถและในด้านรากฐานทางระบอบ ประชาธิปไตย 2. ขอบเขตของการใช้อานาจนิติบัญญัติ การใช้อานาจนิติบัญญัติมีขอบเขตจากัดตามหลักการพื้นฐานการปกครอง และตาม หลัก การพิทักษ์ สิทธิพื้นฐานของประชาชน ขอบเขตการใช้อานาจนิติบัญญัติอาจมีกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายลายลักษณ์ อักษร และกฎหมายทั่วไป 3. กลไก ควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติ กลไกสาคัญที่ใช้ควบคุมอานาจขององค์กรคือกฎหมาย หรือรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะกาหนดอานาจหน้าที่ ขององค์กรไว้ นอกจากนี้กลไกควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติอีกประการหนึ่งคือสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความเสมอภาคกันในกฎหมาย ตอนที่ 9.2 วิธีการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ 1. การควบคุมโดยฝ่ายนิติบัญญัติ การควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ายนิติบัญญัติอาจกระทาได้ 4 วิธี คือ ควบคุมโดย กระบวนการตรากฎหมาย ควบคุมโดยบังคับให้มีการปรึกษา ควบคุมโดยการยับยั้งการออกกฎหมาย และควบคุม โดยการตีความบทบัญญัติแห่งกฎหมาย 2. การควบคุมโดยฝ่ายตุลาการ การควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ายตุลาการเป็นการควบคุมโดยศาลซึ่งเป็นการควบคุม โดยองค์กรภายนอก 3. การควบคุมโดยองค์กรพิเศษ การควบคุมการใช้อานาจนิติบัญญัติโดยองค์กรพิเศษ คือ การจัดให้มีองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็นผู้พิจารณา ปัญหากฎหมายขัดกับรัฐธรรมนูญ ซึ่งศาลปกติทั่วไปจะพิจารณาปัญหานี้ไม่ได้เพราะอาจเป็นปัญหาทางการเมือง จาเป็นต้องจัดตั้งองค์กรพิเศษที่มีความเป็นกลางมีความรู้ความสามารถและมีอิสระในการพิจารณาโดยไม่ยอมให้ อิทธิพลใดเข้ามาแทรกแซง องค์กรพิเศษนั้นได้แก่ คณะกรรมการตุลาการรัฐธรรมนูญ เป็นต้น
  • 22. 22 ตอนที่ 9.3 ผลของกฎหมายที่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ 1. ระบบการพิจารณากฎหมาย แบ่งออกเป็นสองระบบ คือ 1)ระบบการรวมศูนย์อานาจการทบทวนทางกฎหมาย 2)ระบบการกระจายอานาจการทบทวนทางกฎหมาย 2. ผลย้อนหลังและผลไม่ย้อนหลังของกฎหมาย การที่จะให้กฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้นมีผลย้อนหลัง หรือไม่มีผลย้อนหลัง หรือใช้บังคับไม่ได้ ตั้งแต่จุดใด ขึ้นอยู่กับแนวความคิดของนักกฎหมายในแต่ละประเทศ ตอนที่ 9.4 การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง 1. เหตุผลในการให้มีกฎหมายลาดับรอง การจัดให้มีกฎหมายลาดับรองเป็นเพราะความซับซ้อนของระบบการปกครองที่ต้องการความเหมาะสม และความรวดเร็ว การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง ควรมอบให้แก่องค์กรที่ผู้มอบอานาจสามารถควบคุม ได้เพราะจะต้องรับผิดชอบร่วมด้วย ซึ่งอาจเป็นความรับผิดชอบในทางกฎหมาย หรือความรับผิดชอบในทาง การเมืองก็ได้ กฎหมายลาดับลอง 1.ราชโอการ 2.กฤษฎีกา 3.กฎกระทรวง 4.ประการศกระทรวง 5.กฎหมายท้องถิ่น 2. วิธีการมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง การมอบอานาจให้ออกกฎหมายลาดับรอง จะต้องกาหนดไว้ในกฎหมายแม่บทโดยชัดแจ้งว่าองค์กรใด จะมีสิทธิออกกฎหมายลาดับรองประเภทใด ส่วนการมอบอานาจต่อก็เป็นไปตามแนว ความ คิดของนักกฎหมาย ในแต่ละประเภท ตอนที่ 9.5 การควบคุมการออกกฎหมายลาดับรอง 1. การกาหนดแนวทางของการออกกฎหมายลาดับรอง กฎหมายลาดับรองเป็นการใช้อานาจนิติบัญญัติอย่างหนึ่ง ฉะนั้นจึงมีขอบเขตเช่นเดียว กับขอบเขตของ การใช้อานาจนิติบัญญัติโดยทั่วไป กฎหมายอาจกาหนดรายละเอียดต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมแต่ละเรื่อง 2. การกาหนดวิธีการตรากฎหมายลาดับรอง อาจนาหลักเกณฑ์ในวิชาการปกครองมาใช้เพื่อให้กฎหมายลาดับรองออกมาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ อาจกาหนดขั้นตอนในการตรากฎหมายขึ้นเพื่อให้เกิดผลตามที่มุ่งหวังได้เช่น ให้มีการคานและดุล กันทั้งในแง่ ของผู้ออกกฎหมาย ผู้ใช้บังคับกฎหมายและประชาชน การวางระบบเพื่อให้มีการตรวจสอบดุลพินิจภายหลังได้ ตลอดจนการจัดให้มีการแจ้งให้ผู้ถูกบังคับทราบตามความเป็นธรรมด้วย 3. การจัดให้มีวิธีการควบคุมเฉพาะสาหรับการออกกฎหมายลาดับรอง ควบคุมเฉพาะเพื่อมิให้กฎหมายลาดับรองขัดกับกฎหมายมีบท
  • 23. 23 หน่วยที่ 10 หลักทั่วไปแห่งกฎหมายปกครอง ตอนที่ 10.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง . 1. บทนา การศึกษากฎหมายปกครองในประเทศไทยไม่พัฒนาไปไกลเท่าที่ควรเพราะนักกฎหมายในประเทศ ไทย ให้ความสนใจน้อย ส่วนใหญ่มุ่งสนใจไปที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอรรถคดีในศาลเสียมากกว่า อย่างไรก็ตามกฎหมายปกครองก็มีลักษณะดีเด่นในตัวเองในการกาหนดให้รัฐใช้อานาจอธิปไตยในขอบเขตและ กฎเกณฑ์ของกฎหมายโดยไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิ และประโยชน์ของประชาชน 2. การปกครองของรัฐ รัฐเอกราชต้องมีอานาจอธิปไตยแต่การใช้อานาจอธิปไตยของรัฐต้องอยู่ภายในขอบเขตและตาม กฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้เพื่อความสงบสุขของประเทศและเพื่อมิให้กระทบกระเทือนสิทธิและประโยชน์ของ ประชาชน 3. อานาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง อานาจหน้าที่สาคัญของฝ่ายปกครอง ได้แก่การบริการสาธารณะที่เป็นงานประจา ทั้งนี้เพื่อตอบสน อง ความต้องการของประชาชนซึ่งจ่ายเงินที่เรียกว่า “ภาษี” ให้แก่รัฐ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ฝ่ายปกครองกับประชาชนมีความสัมพันธ์ใกล้ชินมาก ฝ่าย ปกครองจะปฏิบัติหน้าที่ภายในขอบเขตที่กฎหมายกาหนด ส่วนประชาชนต้องเคารพกฎหมาย ตอนที่ 10.2 ลักษณะสาคัญของกฎหมายปกครอง 1. ความหมายของกฎหมายปกครอง กฎหมายปกครองเป็นกฎหมายสาขามหาชนที่วางหลักการ จัดระเบียบและวิธีการดาเนินงานสาธารณะ ของฝ่ายปกครอง และวางหลักความเกี่ยวพันระหว่างองค์การฝ่ายปกครองด้วยกันเอง และระหว่างฝ่ายปกครอง กับประชาชน 2. บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง (1) กฎหมายลายลักษณ์อักษร (2) จารีตประเพณี (3) คาพิพากษาของศาล (4) ทฤษฎีกฎหมาย (5) หลักกฎหมายทั่วไป