SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
การลาเลียงน้าของพืช
โครงสร้างของรากพืชใบเลี้ยงคู่
เอพิเดอร์มิส
คอร์เทกซ์
เอนโด
เดอร์มิส
เพอริไซเคิล
กลุ่มท่อ
ลาเลียง
• การดูดน้าของพืชเกิดขึ้นที่ราก
• ด้วยกระบวนการออสโมซิส
• สารละลายภายในเซลล์ของรากมี
ความเข้มข้นสูงกว่าภายนอก ดังนั้น
น้าในดินก็จะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
เข้าสู่เซลล์ของราก แต่ถ้าน้าในดิน
น้อย ความเข้มข้นของสารมาก พืชจะ
ดูดน้าไม่ได้และเหี่ยวตาย
ขนราก คอร์เท็กซ์ เอนโดเดอร์มิส เพอริไซเคิล ไซเล็ม
เส้นทางการลาเลียงน้า
การลาเลียงน้าจากขนรากไปสู่ไซเล็มมี 2 วิถี คือ
แบบอโพพลาสต์(apoplast) ซึ่งเป็นการลาเลียงน้าไปตามผนังเซลล์หรือ
ช่องว่างระหว่างเซลล์
แบบซิมพลาสต์(symplast) ซึ่งเป็นการลาเลียงน้าผ่านจากเซลล์หนึ่งสู่เซลล์
หนึ่งทางพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata) นอกจากนั้นน้ายังเคลื่อนที่
ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของสองเซลล์ที่ติดกัน (transmembrane) ได้อีกด้วย
ระหว่างเซลล์พืชสองเซลล์มีช่องเล็ก
เปิดสู่เซลล์ที่ติดกัน เรียกว่า
พลาสโมเดสมาตา(Plasmodesmata)
• โมเลกุลของน้าที่ลาเลียงแบบอโพพลาสต์ที่ผ่านเซลล์ขนรากและเซลล์ต่างๆ
ในชั้นคอร์เทกซ์ น้าจะไม่สามารถลาเลียงผ่านทางผนังเซลล์ด้านที่มีแถบแค
สพาเรียนได้
• น้าจึงถูกลาเลียงเข้าไปในเซลล์แบบซิมพลาสต์ ผ่านทางผนังเซลล์ที่ไม่มีแถบ
แคสพาเรียน เข้าสู่ชั้นในไปจนถึงเซลล์ของไซเล็ม
วิถีอโพพลาสต์ จะเปลี่ยนมาเป็นซิมพาสต์ เมื่อเจอแถบแคสพาเรียน(casparian
strip)บริเวณผนังเซลล์ของเอนโดเดอร์มิส โดยแถบแคสพาเรียนจะมีสารพวกซู
เบอริน ที่กันน้าได้
การลาเลียงน้ามีการ
ลาเลียงจากรากไปสู่ยอด
โดยผ่านท่อลาเลียงน้า
(xylem) โดยผ่านเซลล์2
ชนิดคือ
• เทรคีด
• เวสเซล
• เมื่อพืชลาเลียงน้าเข้าสู่ไซเล็มของรากแล้ว พืชจะอาศัยแรงดึงจาก
การคายน้าเพื่อลาเลียงน้าขึ้นสู่ด้านบน การลาเลียงน้าในไซเล็ม
จะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อน้าในไซเล็มต่อกันเป็นสายไม่ขาดตอน ดังนั้นจึง
จาเป็นที่จะต้องมี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้าดัวยกันเอง
เรียก แรงโคฮีชัน (cohesion) และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้า
กับผนังเซลล์ของท่อไซเล็ม เรียกว่า แรงแอดฮีชัน (adhesion)
หากแรงดึงจากการคายน้ามีค่ามากกว่าแรงโคฮีชัน ทาให้สายน้าไม่
ต่อเนื่อง เกิดฟองแก๊สเกิดขึ้น ซึ่งขัดขวางการลาเลียงน้า แต่เมื่อพืชหยุด
การคายน้า เช่น ในเวลากลางคืน ที่ปากใบปิด และน้าในดินมีเพียงพอ
และยังคงเคลื่อนที่เข้าสู่ไซเล็มของรากได้ ทาให้เกิดแรงดันของมวลน้า
ภายในราก เรียกว่า แรงดันราก (root pressure) ซึ่งจะดันน้าขึ้นไปบีบ
ฟองอากาศที่เกิดขึ้น เนื่องจากแรงดันจากการคายน้าให้หายไปได้
ในสภาวะที่ไม่มีการคายน้า เช่น ปากใบปิดในเวลากลางคืน
หรือในสภาวะที่อากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูงมาก หากปริมาณน้าใน
ดินมีเพียงพอที่พืชจะลาเลียงเข้าสู่ภายในได้ จะทาให้พืชบางชนิด
เกิดปรากฏการณ์ กัตเตชัน(guttation) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่มี
ลักษณะเป็นหยดน้าผ่านออกมาทางรูหยาดน้า หรือไฮดาโทด
(hydatode)
ป
ั จจัยที่มีผลต่อการลาเลียงของพืช
• น้าในดิน ถ้าน้าในดินมีมากพืชก็จะดูดได้เร็ว แต่ถ้ามีมากเกินไป จะทาให้
พืชดูดน้าได้น้อยลง เนื่องจากอากาศในดินมีน้อย ทาให้รากพืชหายใจไม่ได้
จึงขาดพลังงานในการเมแทบอลิซึม
• อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูงหรือต่าเกินไปจนเป็นน้าแข็ง จะทาให้พืชดูดน้าได้
น้อยลง หรือดูดน้าไม่ได้
• ความเข้มข้นของสารละลายภายในดิน ถ้าความเข้มข้นในดินสูงกว่า หรือ
เท่ากับสารละลายในราก จะทาให้รากพืชไม่สามารถดูดน้าจากดินได้

More Related Content

Similar to การลำเลียงน้ำของพืช (2).pdf

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 

Similar to การลำเลียงน้ำของพืช (2).pdf (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 

การลำเลียงน้ำของพืช (2).pdf