SlideShare a Scribd company logo
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน
จังหวัดนครราชสีมา
จากขŒอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท ประจําป‚ 2559
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน
จังหวัดนครราชสีมา
จากขŒอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท ประจําป‚ 2559
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
Nakhonratchasima Community Development Provincial Office
ประมวลสรุป
พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะกรรมการอ�ำนวยการ
งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจ้าหน้าที่
เข้าเฝ้าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย
	 การด�ำเนินงานพัฒนา แต่ก่อนใช้วัดด้วยสายตาบ้าง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็นที่ไม่เป็นเชิงสถิติบ้าง ท�ำ
ไปเรื่อย ๆ บ้าง แต่ตอนนี้ทางราชการมีการส�ำรวจข้อมูล จปฐ. เป็นข้อมูลที่คิดว่าในขณะนี้ดีที่สุดแล้ว ดีในการ
เป็นฐานให้เริ่มต้นแก้ไขปัญหา เป็นข้อมูลที่ง่าย ดูง่าย และเห็นด้วยที่มีการส�ำรวจข้อมูล จปฐ. มีการวัดเพื่อให้พบ
ปัญหา ซึ่งเมื่อรู้ปัญหาแล้วจะได้มีการแก้ไขส�ำหรับการวัดนั้นจะตรงหรือไม่ตรง แน่นอนต้องมีการผิดพลาดบ้าง ก็
ไม่น่าจะเป็นปัญหาใหญ่ ขอให้มีสิ่งที่จะช่วยชี้ให้ฝ่ายรัฐเข้าไปหาชาวบ้านได้ทราบปัญหาชาวบ้านบ้าง เมื่อเราท�ำ
จริง ส�ำรวจจริงแล้ว จะท�ำให้พบกับบุคคลที่ควรสงเคราะห์ หรือท�ำให้พบปัญหา และเมื่อพบปัญหาแล้วจะแก้ไข
อย่างไร เป็นสิ่งซึ่งจะตามมา หลักการพัฒนาที่ควรจะค�ำนึงถึง คือ ช่วยเขาเพื่อให้เขาช่วยตัวเองได้การให้ค�ำแนะน�ำ
เพื่อให้ชาวบ้านได้เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองจึงเป็น สิ่งส�ำคัญ
(ได้รับพระราชทานพระราชานุญาต ตามหนังสือส�ำนักราชเลขาธิการ ที่ รล. 0017/10527 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2534)
ค�ำน�ำ
	 รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา จัดท�ำขึ้นเพื่อน�ำเสนอผลการ
จัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัด ด้วยเกณฑ์ตัวชี้วัดขั้นพื้นฐาน ที่
ครอบคลุมในด้านต่างๆ ที่ประชาชนทุกคนพึงมีโดยด�ำเนินการส�ำรวจและจัดเก็บข้อมูลจาก ทุกครัว
เรือน ทุกหมู่บ้านในเขตชนบท และเขตเมืองของจังหวัดนครราชสีมา ผลที่ได้จากการส�ำรวจข้อมูลจะ
ท�ำให้ทราบถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน ในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ และภาพรวมของ
จังหวัด โดยใช้เครื่องชี้วัดข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด
	 ในการประมวลผลการจัดเก็บข้อมูล ปี 2559 ภาพรวมของจังหวัดนครราชสีมาจาก 639,462
ครัวเรือน 4,238 หมู่บ้าน/ชุมชน 333 ต�ำบล 32 อ�ำเภอ พบว่าร้อยละของตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์เรียงล�ำดับ
จากมากไปน้อยได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 19, 3, 26, 25, 22, 6, 24, 21, 18, 12, 30, 5, 4, 11, 8, 10, 13, 15,
9, 14, 1, 27, 23, 29, 7, 16, 2, 20, 17 และตัวชี้วัดที่ 28 โดยผลการจัดเก็บข้อมูลด้านรายได้ (ตัวชี้วัด
ที่ 23) จังหวัดนครราชสีมามีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีในภาพรวมของจังหวัดเท่ากับ 83,618 บาทต่อคน
ต่อปี และมีครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีต�่ำกว่าเกณฑ์ (30,000 บาท) จ�ำนวน 1,508 ครัวเรือน
	 ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ในฐานะผู้ประสานการด�ำเนินงานบริหารการจัดเก็บ
ข้อมูลทุกครัวเรือนเป็นประจ�ำทุกปี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร “รายงานคุณภาพชีวิตของประชาชน
จังหวัดนครราชสีมา” ฉบับนี้จะเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตตของประชาชนในจังหวัด ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรภาค
ประชาชน ตลอดจนนิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไปได้น�ำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไข
ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
มิถุนายน 2559
สารบัญ
ประมวลสรุปพระราชกระแส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ค�ำน�ำ
บทสรุปผู้บริหาร	 										 1
ส่วนที่ 1 แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต						10
	 	 แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต	 	 	 	 	 	 10
	 	 ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ.                                     	 	 10	 	
	 	 ข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน จปฐ.	 	 	 	 	 	 	 10
	 	 แนวคิดและความเป็นมาของข้อมูล จปฐ.	 	 	 	 	 	 11
	 	 ขั้นตอนการน�ำ จปฐ. ไปใช้ในการพัฒนา	 	 	 	 	 	 15
ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไปของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา	 	 				18
	 	 จ�ำนวนครัวเรือน	 	 	 	 	 	 	 	 	 18
	 	 จ�ำนวนประชากร	 	 	 	 	 	 	 	 	 19
	 	 ช่วงอายุ	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 20
	 	 การศึกษา	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 22
	 	 อาชีพ	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 23
	 	 ศาสนา		 	 	 	 	 	 	 	 	 	 24
ส่วนที่ 3 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา	 	 	 	 	 25
	 	 จ�ำแนกรายหมวด	 	 	 	 	 	 	 	 	 25
	 	 จ�ำแนกรายตัวชี้วัด	 	 	 	 	 	 	 	 	 30
ส่วนที่ 4 รายได้ และรายจ่ายของคนในจังหวัดนครราชสีมา					 60
	 	 รายได้		 	 	 	 	 	 	 	 	 	 60
	 	 รายจ่าย	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 61
	 	 จ�ำนวนครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต�่ำกว่าเกณฑ์ 30,000 บาท ต่อคนต่อปี		 	 63
	 	 รายได้เฉลี่ยของแต่ละอ�ำเภอ	 	 	 	 	 	 	 	 65
	 	 รายจ่ายเฉลี่ยของแต่ละอ�ำเภอ		 	 	 	 	 	 	 66
ส่วนที่ 5 ผลการจัดเก็บข้อมูลรายตัวชี้วัด จ�ำแนกตามอ�ำเภอ					 67
	 	 พื้นที่การส�ำรวจข้อมูล ปี 2558		 	 	 	 	 	 	 67
	 	 จ�ำนวนประชากร ชาย – หญิง		 	 	 	 	 	 	 68
	 	 รายได้ - รายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี	 	 	 	 	 	 	 69
	 	 ผลการจัดเก็บข้อมูล รายตัวชี้วัด	 	 	 	 	 	 	 71
ภาคผนวก
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
1
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
2
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 2
1.3 ช่วงอายุ
จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนมากมีช่วงอายุระหว่าง 46 – 50 ปีเต็ม จํานวน
165,491 คน คิดเป็นร้อยละ 8.86 รองลงมา มีช่วงอายุระหว่าง 41 – 45 ปีเต็ม จํานวน 159,203 คน
คิดเป็นร้อยละ 8.52 และมีช่วงอายุระหว่าง 51 – 55 ปีเต็ม จํานวน 154,255 คน คิดเป็นร้อยละ 8.26
ตามลําดับ
1.4 ระดับการศึกษา
จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนใหญ่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6)
จํานวน 862,193 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 รองลงมา จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (มศ.1-3, ม.1-3)
จํานวน 315,397 คน คิดเป็นร้อยละ 16.88 และจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-5, ม.4-6, ปวช.)
จํานวน 274,618 คน คิดเป็นร้อยละ 14.70 ตามลําดับ มีเพียงร้อยละ 7.80 ที่จบการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไป
1.5 อาชีพ
จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป จํานวน
583,968 คน คิดเป็นร้อยละ 31.26 รองลงมาประกอบอาชีพ เกษตรกรรม – ทํานา จํานวน 388,042 คน
คิดเป็นร้อยละ 20.77 และกําลังศึกษา จํานวน 367,109 คน คิดเป็นร้อยละ 19.65 ตามลําดับ
1.6 ศาสนา
จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด จํานวน
1,862,962 คน คิดเป็นร้อยละ 99.71 รองลงมานับถือศาสนาคริสต์ จํานวน 4,231 คน คิดเป็นร้อยละ
0.23 และนับถือศาสนาอิสลาม จํานวน 767 คน คิดเป็นร้อยละ 0.04 ตามลําดับ
2. คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา
2.1 คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา จําแนกตามหมวดและตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
1) เด็กแรกเกิดไม่ได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน ร้อยละ 7.45
2) คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปีเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อ
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.43
3) คนในครัวเรือนไม่มีการใช้ยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ร้อยละ 0.90
4) ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่ปลอดภัย และไม่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 0.90
5) เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 0.61
6) คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่ได้ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที ร้อยละ 0.21
7) เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ร้อยละ 0.15
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา
โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รวมทั้ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 3
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
1) ครัวเรือนถูกรบกวนจากมลพิษ ร้อยละ 1.06
2) ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 0.73
3) ครัวเรือนไม่มีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพไม่คงทนถาวร ร้อยละ 0.71
4) ครัวเรือนมีน้ําใช้ไม่เพียงพอตลอดปี ร้อยละ 0.71
5) ครัวเรือนไม่มีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี ร้อยละ 0.70
6) ครอบครัวไม่มีความอบอุ่น ร้อยละ 0.68
7) ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคไม่เพียงพอตลอดปี ร้อยละ 0.68
8) ครัวเรือนไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 0.66
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา
โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม สํานักนายกรัฐมนตรี และสํานักงานตํารวจแห่งชาติ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
1) เด็กจบการศึกษาบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทํา ยังไม่ได้รับการฝึกอบรม
ด้านอาชีพ ร้อยละ 22.43
2) เด็กจบชั้น ม.3 ไม่ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า ร้อยละ 1.62
3) เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ไม่ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน ร้อยละ 0.17
4) คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายไม่ได้ ร้อยละ 0.11
5) เด็กอายุ 6 – 14 ปี ไม่ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ร้อยละ 0.08
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา
โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทําและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
1) คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป ไม่มีอาชีพและรายได้ ร้อยละ 4.50
2) ครัวเรือนไม่มีการเก็บออมเงิน ร้อยละ 2.27
3) คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม ไม่มีอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ 1.97
4) คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยน้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี ร้อยละ 0.24
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา
โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
3
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 4
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
1) คนในครัวเรือนสูบบุหรี่ ร้อยละ 7.02
2) คนในครัวเรือนดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราวฯ) ร้อยละ 5.88
3) คนในครัวเรือนไม่มีส่วนร่วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน ร้อยละ 1.00
4) คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ไม่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร้อยละ 0.46
5) คนพิการ ไม่ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ ร้อยละ 0.22
6) คนสูงอายุ ไม่ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ ร้อยละ 0.03
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา
โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวัฒนธรรม สํานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย
และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็น
หน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
2.2 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (ย้อนหลัง 5 ปี)
ปี
จํานวน
จํานวนคน
รายได้เฉลี่ยครัวเรือน รายได้เฉลี่ยบุคคล
ครัวเรือน (บาท/ปี) (บาท/ปี)
2555 393,605 1,438,641 224,064 61,303
2556 398,635 1,441,004 235,330 65,101
2557 666,055 1,976,847 231,663 78,054
2558 669,011 1,958,001 237,660 81,204
2559 639,462 1,868,318 244,307 83,618
รวม 2,766,768 8,682,811 1,173,024 369,280
จากการสํารวจข้อมูลด้านรายได้ของประชาชน ปรากฏว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย
ในปี 2559 พบว่า มีแหล่งที่มาของรายได้เฉลี่ยครัวเรือนจากการประกอบอาชีพหลัก จํานวน 180,745
บาทต่อปี อาชีพรอง จํานวน 31,145 บาทต่อปี รายได้อื่น จํานวน 18,118 บาทต่อปี และรายได้ครัวเรือน
เฉลี่ยครัวเรือนจากการปลูก เลี้ยง หาเอง จํานวน 14,305 บาทต่อปี
2.3 รายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี (ย้อนหลัง 5 ปี)
ปี
จํานวน
จํานวนคน
รายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือน รายจ่ายเฉลี่ยบุคคล
ครัวเรือน (บาท/ปี) (บาท/ปี)
2555 393,605 1,438,641 134,789 36,878
2556 398,635 1,441,004 142,366 39,384
2557 666,055 1,976,847 142,141 47,891
2558 669,011 1,958,001 144,457 49,358
2559 639,462 1,868,318 152,290 52,290
รวม 2,766,768 8,682,811 716,043 225,801
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
4
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 5
จากการสํารวจข้อมูลด้านรายจ่ายของประชาชน ปรากฏว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย
ในปี 2559 พบว่า มีแหล่งที่มาของรายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือนจากภาระต้นทุนการผลิต จํานวน 32,210
บาทต่อปี อุปโภคบริโภคที่จําเป็น จํานวน 75,631 บาทต่อปี อุปโภคบริโภคที่ไม่จําเป็น จํานวน 22,042
บาทต่อปี และรายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือนในการชําระหนี้สิน จํานวน 22,893 บาทต่อปี
2.4 ระดับความสุขเฉลี่ย (ย้อนหลัง 5 ปี)
ปี ระดับความสุขของคนในครัวเรือนและหมู่บ้าน/ชุมชน
2555 7.82
2556 7.90
2557 8.02
2558 8.13
2559 8.22
ความสุข หมายถึง การรู้สึกดี มีความสุขกับชีวิต และอยากให้ความรู้สึกนั้นคงอยู่ไม่หายไป
ซึ่งพิจารณาได้จากสิ่งที่ครัวเรือน และชุมชน มีอยู่ เป็นอยู่ และแทนค่าระดับความสุขด้วยตัวเลข
ระหว่าง 0 – 10 พบว่า ระดับความสุขของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมามีแนวโน้มสูงขึ้น
2.5 อําเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี มากสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายได้เฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ปี)
1 เมืองนครราชสีมา 107,563 260,332 128,240
2 สีคิ้ว 30,089 90,769 94,593
3 ปากช่อง 46,465 124,759 94,393
4 เทพารักษ์ 5,540 17,229 93,408
5 ลําทะเมนชัย 7,641 22,697 88,233
6 สูงเนิน 22,238 67,281 82,689
7 บัวใหญ่ 22,663 54,907 81,404
8 ปักธงชัย 35,974 99,574 80,758
9 โชคชัย 22,621 63,502 80,465
10 ขามทะเลสอ 7,273 23,561 77,231
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
5
2.6 อําเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี น้อยสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายได้เฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ปี)
1 ห้วยแถลง 17,664 51,000 61,794
2 พระทองคํา 10,068 29,079 62,195
3 ขามสะแกแสง 10,183 29,214 62,632
4 บ้านเหลื่อม 5,179 15,746 63,238
5 เมืองยาง 6,844 20,615 65,632
6 เฉลิมพระเกียรติ 8,141 28,601 66,818
7 คง 18,272 52,350 66,845
8 โนนไทย 16,784 53,387 66,956
9 ชุมพวง 20,873 65,124 67,087
10 โนนสูง 29,534 100,585 67,178
2.7 อําเภอที่มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี มากสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายจ่ายเฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ปี)
1 เมืองนครราชสีมา 107,563 260,332 82,795
2 ปากช่อง 46,465 124,759 60,993
3 สีคิ้ว 30,089 90,769 55,696
4 เทพารักษ์ 5,540 17,229 53,684
5 ขามทะเลสอ 7,273 23,561 53,191
6 ลําทะเมนชัย 7,641 22,697 52,606
7 ด่านขุนทด 30,076 92,302 51,938
8 สูงเนิน 22,238 67,281 51,130
9 พิมาย 32,120 98,923 50,409
10 ปักธงชัย 35,974 99,574 49,663
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
6
2.8 อําเภอที่มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี น้อยสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายจ่ายเฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ปี)
1 ขามสะแกแสง 10,183 29,214 36,428
2 ห้วยแถลง 17,664 51,000 37,287
3 เมืองยาง 6,844 20,615 39,838
4 ชุมพวง 20,873 65,124 39,881
5 พระทองคํา 10,068 29,079 40,070
6 คง 18,272 52,350 40,651
7 โนนสูง 29,534 100,585 41,856
8 ประทาย 17,506 52,875 41,932
9 เฉลิมพระเกียรติ 8,141 28,601 42,434
10 โนนไทย 16,784 53,387 42,684
2.9 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท (ย้อนหลัง 5 ปี)
ปี ครัวเรือนทั้งหมด
ไม่ผ่านเกณฑ์
ครัวเรือน ร้อยละ
2555 393,605 5,129 40.48
2556 398,635 2,135 16.85
2557 666,055 2,092 16.51
2558 669,011 1,808 14.27
2559 639,462 1,508 11.90
รวม 2,766,768 12,672 0.46
จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ในปี 2559 จังหวัดนครราชสีมามีครัวเรือนที่ตกเกณฑ์รายได้
เฉลี่ยน้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี จํานวน 31 อําเภอ 1,508 ครัวเรือน และอําเภอจักราชไม่มี
ครัวเรือนตกเกณฑ์
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
7
2.10 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท มากสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด
ไม่ผ่านเกณฑ์
ครัวเรือน ร้อยละ
1 ปักธงชัย 35,974 188 0.52
2 โนนสูง 29,534 170 0.58
3 สูงเนิน 22,238 121 0.54
4 ห้วยแถลง 17,664 117 0.66
5 โนนไทย 16,784 109 0.65
6 ประทาย 17,506 100 0.57
7 ด่านขุนทด 30,076 79 0.26
8 เสิงสาง 16,204 63 0.39
9 บัวใหญ่ 22,663 60 0.26
10 โชคชัย 22,621 52 0.23
รวม 231,264 1,059 0.46
2.11 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท น้อยสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด
ไม่ผ่านเกณฑ์
ครัวเรือน ร้อยละ
1 วังน้ําเขียว 9,748 3 0.03
2 แก้งสนามนาง 8,050 3 0.04
3 ลําทะเมนชัย 7,641 6 0.08
4 พระทองคํา 10,068 6 0.06
5 เทพารักษ์ 5,540 7 0.13
6 ครบุรี 24,084 8 0.03
7 พิมาย 32,120 8 0.02
8 โนนแดง 6,058 9 0.15
9 เมืองนครราชสีมา 107,563 11 0.01
10 บัวลาย 5,773 11 0.19
รวม 216,645 72 0.03
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
8
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 9
2.12 ปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขของคนไทยในชนบท 10 ลําดับแรก
1. เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อ และยังไม่มีงานทําไม่ได้รับการ
ฝึกอบรมด้านอาชีพ จํานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 22.43 จากทั้งหมด 263 คน
2. เด็กแรกเกิดไม่ได้กินนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน จํานวน 637 คน
คิดเป็นร้อยละ 7.45 จากทั้งหมด 8,550 คน
3. คนในครัวเรือนสูบบุหรี่ จํานวน 131,130 คน คิดเป็นร้อยละ 7.02 จากทั้งหมด
1,868,318 คน
4. คนในครัวเรือนดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราวฯ) จํานวน 109,857 คน คิดเป็นร้อย
ละ 5.88 จากทั้งหมด 1,868,318 คน
5. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป ไม่มีอาชีพและรายได้ จํานวน 12,660 คน คิดเป็นร้อยละ
4.50 จากทั้งหมด 281,280 คน
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อ
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จํานวน 26,862 คน คิดเป็นร้อยละ 2.43 จากทั้งหมด
1,105,777 คน
7. ครัวเรือนไม่มีการเก็บออมเงิน จํานวน 14,514 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.27 จาก
ทั้งหมด 639,462 ครัวเรือน
8. คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม ไม่มีอาชีพและรายได้ จํานวน 22,051 คน คิดเป็นร้อยละ 1.97
จากทั้งหมด 1,118,751 คน
9. เด็กที่จบชั้น ม.3 ไม่ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า จํานวน 263 คน คิดเป็นร้อยละ
1.62 จากทั้งหมด 16,244 คน
10. ครัวเรือนถูกรบกวนจากมลพิษ จํานวน 6,782 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.06 จาก
ทั้งหมด 639,462 ครัวเรือน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
9
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 10
แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
หลักการและแนวคิดเรื่อง จปฐ. นี้ ในเบื้องต้น คือ การวาดภาพสังคมที่พึงประสงค์ของคนไทย
โดยคิดว่าในฐานะที่ประชาชนทุกคนที่เกิดเป็นคนไทยนั้น ขั้นต่ําของชีวิตเขาน่าจะมีอะไรบ้าง? นั่นคือ
การที่จะทําให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขั้นต่ําเขาควรจะมีอะไรบ้าง
จึงได้ข้อสรุปว่า การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน
(จปฐ.) ทุกตัวชี้วัด
ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ.
ความหมายของคําว่า “คุณภาพชีวิต” คือ
1. คุณภาพชีวิต หมายถึง การดํารงชีวิตของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจําเป็น
พื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
2. คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนั้น ๆ หรือชุมชนนั้น ๆ ได้บรรลุ
เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ครบถ้วนทุกประการ
ความหมายของคําว่า “ความจําเป็นพื้นฐาน”(จปฐ.) คือ
1. ความต้องการพื้นฐานสําหรับประชาชนดํารงชีวิต
2. สิ่งจําเป็นต่อการครองชีพพื้นฐาน
3. ความต้องการขั้นต่ําที่ชาวบ้านควรมี
4. ความต้องการต่ําที่สุดที่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุขพอสมควร
ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
จปฐ. เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้
วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ํากว่าเกณฑ์ระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
และทําให้ประชาชนสามารถทราบด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวรวม
ไปถึงหมู่บ้านหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้างเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบท
ของประเทศ
หลักการของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
 เป็นเครื่องมือกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนเพื่อทราบสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง
และชุมชน
 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
 ใช้ข้อมูล จปฐ.เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคล้องกับสภาพปัญหาของชุมชน
แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่วนที่ 1
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 10
แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
หลักการและแนวคิดเรื่อง จปฐ. นี้ ในเบื้องต้น คือ การวาดภาพสังคมที่พึงประสงค์ของคนไทย
โดยคิดว่าในฐานะที่ประชาชนทุกคนที่เกิดเป็นคนไทยนั้น ขั้นต่ําของชีวิตเขาน่าจะมีอะไรบ้าง? นั่นคือ
การที่จะทําให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขั้นต่ําเขาควรจะมีอะไรบ้าง
จึงได้ข้อสรุปว่า การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน
(จปฐ.) ทุกตัวชี้วัด
ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ.
ความหมายของคําว่า “คุณภาพชีวิต” คือ
1. คุณภาพชีวิต หมายถึง การดํารงชีวิตของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจําเป็น
พื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
2. คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนั้น ๆ หรือชุมชนนั้น ๆ ได้บรรลุ
เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ครบถ้วนทุกประการ
ความหมายของคําว่า “ความจําเป็นพื้นฐาน”(จปฐ.) คือ
1. ความต้องการพื้นฐานสําหรับประชาชนดํารงชีวิต
2. สิ่งจําเป็นต่อการครองชีพพื้นฐาน
3. ความต้องการขั้นต่ําที่ชาวบ้านควรมี
4. ความต้องการต่ําที่สุดที่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุขพอสมควร
ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
จปฐ. เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้
วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ํากว่าเกณฑ์ระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
และทําให้ประชาชนสามารถทราบด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวรวม
ไปถึงหมู่บ้านหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้างเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบท
ของประเทศ
หลักการของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
 เป็นเครื่องมือกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนเพื่อทราบสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง
และชุมชน
 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
 ใช้ข้อมูล จปฐ.เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคล้องกับสภาพปัญหาของชุมชน
แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่วนที่ 1
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
10
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 11
แนวคิดและความเป็นมาของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
ข้อมูล จปฐ. ที่มีการจัดเก็บโดยประชาชนด้วยความสนับสนุนของคณะทํางาน
สนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตําบล (คปต.) และผู้แทนขององค์การบริหารส่วนตําบล
(อบต.) หรือเทศบาลนั้น จะทําให้ทราบว่าแต่ละครัวเรือนมีปัญหาอะไร หมู่บ้านมีปัญหาอะไร และเมื่อ
ทราบแล้ว ส่วนใดที่ไม่สามารถดําเนินการเองได้ก็ให้ขอรับการสนับสนุนบางส่วน หรือทั้งหมด จาก
โครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เช่น องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล หรือ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่วนราชการในภูมิภาค (อําเภอ,จังหวัด) ส่วนราชการส่วนกลาง
(กรม,กระทรวง) หรือในระดับรัฐบาล ต่อไป
ปี พ.ศ.2525 แนวความคิดเรื่อง จปฐ. เกิดขึ้นครั้งแรกโดยสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กําหนดรูปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยที่พึง
ประสงค์ในอนาคต โดยกําหนดเป็นเครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ของคนไทยซึ่งได้ข้อสรุปว่า “การ
มีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยจะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ) ทุกตัวชี้วัด”
ปี พ.ศ.2528 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบอนุมัติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2528 ให้มีการ
ดําเนินการโครงการปีรณรงค์คุณภาพชีวิตและประกาศใช้เป็น “ปีรณรงค์คุณภาพชีวิตของประชาชน
ในชาติ (ปรช.)” (20 สิงหาคม 2528 - 31 ธันวาคม 2530) โดยใช้เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน 8
หมวด 32 ตัวชี้วัด เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดคุณภาพชีวิตของคนไทยว่าอย่างน้อยคนไทยควรมีคุณภาพ
ชีวิตในเรื่องอะไรบ้าง และควรมีระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
ปี พ.ศ.2531 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มีมติให้สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มอบโครงการปีรณรงค์ให้กระทรวงมหาดไทยโดย
กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบดําเนินงานต่อภายใต้ชื่องานว่า “งานพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในชนบท (พชช.)”
ปี พ.ศ.2532 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มีมติเมื่อวันที่ 15
กันยายน 2532 ให้กรมการพัฒนาชุมชน จัดเก็บข้อมูล จปฐ. เป็นประจําทุกปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึง
ปัจจุบันโดยมีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ทุก 5 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
ปี พ.ศ.2535 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วงแผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) เป็น 9 หมวด 37 ตัวชี้วัด
ปี พ.ศ.2540 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) เป็น 8 หมวด 39 ตัวชี้วัด
ปี พ.ศ.2544 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) เป็น 6 หมวด 37 ตัวชี้วัด
ปี พ.ศ.2544 คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) มีมติเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 ให้กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบประสานการจัดเก็บ
ข้อมูล จปฐ. ในเขตเมืองด้วย โดยให้ใช้เครื่องชี้วัดเหมือนเขตชนบท (มติเมื่อ 31 พฤษภาคม 2545)
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
11
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 12
ปี พ.ศ.2549 ได้มีการศึกษาปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูล
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) โดยสรุปตัวชี้วัดตาม
ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่จะนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) มีจํานวน 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด
ปี พ.ศ.2555 กระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนในฐานะฝ่าย
เลขานุการของคณะอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) เป็นหน่วยงานในการ
บริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ให้มีการทบทวนและปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. ขึ้นใหม่ทุก 5 ปี เพื่อให้
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) มีทั้งหมด 5
หมวด 30 ตัวชี้วัด
จากผลการศึกษาในปี พ.ศ. 2554 สามารถสรุปได้ว่า “ตัวชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน จปฐ.”
ที่จะนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
(พ.ศ.2555-2559) มีจํานวน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 สุขภาพดี มี 7 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย มี 8 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า มี 4 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย มี 6 ตัวชี้วัด
ปี พ.ศ.2557 กระทรวงมหาดไทยได้กําหนดเป็นนโยบายของกระทรวงมหาดไทย
ในการส่งเสริมและใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างจริงจัง
โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลสําหรับใช้ประเมินผลตัวชี้วัดของ
กระทรวงมหาดไทย ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ซึ่งได้มอบหมายให้
กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ในเขตชนบท และกรมส่งเสริมการ-
ปกครองท้องถิ่นรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ในเขตเมือง ต่อเนื่องมาจนถึงปีปัจจุบันโดยมี
รายละเอียดของแต่ละตัวชี้วัด ดังนี้
หมวดที่ 1 : สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย
1 เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม คน
2 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีกวัคซีนป้องกันโรคครบตามตาราง
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค
คน
3 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเตียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน คน
4 ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ครัวเรือน
5 คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่าง
เหมาะสม
ครัวเรือน
6 คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปีเพื่อคัดกรองความเสี่ยง
ต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
คน
7 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที คน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
12
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 13
หมวดที่ 2 : มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย
8 ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน
9 ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี ครัวเรือน
10 ครัวเรือนมีน้ําใช้เพียงพอตลอดปี ครัวเรือน
11 ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูก
สุขลักษณะ
ครัวเรือน
12 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ครัวเรือน
13 ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี ครัวเรือน
14 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ครัวเรือน
15 ครอบครัวมีความอบอุ่น ครัวเรือน
หมวดที่ 3 : ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการด้านการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย
16 เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน คน
17 เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี คน
18 เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า คน
19 เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทําได้รับ
การฝึกอบรมด้านอาชีพ
คน
20 คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่าน เขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ คน
หมวดที่ 4 : รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทําและมีรายได้)มี 4 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย
21 คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้ คน
22 คนอายุมกกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ คน
23 คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี ครัวเรือน
24 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ครัวเรือน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
13
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 14
หมวดที่ 5 : ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย
25 คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว เฉลี่ยไม่เกินเดือนละ
1 ครั้งฯ)
คน
26 คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ คน
27 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง คน
28 คนสูงอายุได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู่บ้านชุมชนหรือภาครัฐ คน
29 คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู่บ้านชุมชนหรือภาครัฐ คน
30 คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของหมู่บ้าน
ชุมชนหรือท้องถิ่น
ครัวเรือน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
14
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
15
ส�ารวจ	จปฐ	ซ�้า
[ พิ ม พ ที่ อ ยู บ ริ ษั ท ] หนา 16
สรุปสถานการณ์การใช้ จปฐ.
สรุปขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอนของการนําข้อมูล จปฐ. มาใช้ในกระบวนการพัฒนาชุมชนจะเห็น
ได้ว่าสถานะของการใช้ จปฐ. มีอยู่ 4 สถานะด้วยกัน ดังนี้
เงื่อนไขแห่งความสําเร็จของ จปฐ.
การที่จะนํา จปฐ. มาใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เป็นผลสําเร็จได้นั้น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เจ้าหน้าที่/ข้าราชการ/ประชาชนและองค์กรเอกชน จะต้องมีบทบาท
ดังต่อไปนี้
1. บทบาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การที่จะให้เกิดการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้น
บทบาทหน้าที่ของข้าราชการทุกระดับจะต้องมีบทบาทดังนี้ คือ
1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นอย่างดี
2) สามารถเชื่อมแนวความคิด จปฐ. เข้ากับการพัฒนาชุมชนที่มีอยู่เดิมอย่างดี
3) จะต้องมีความเข้าใจว่า จปฐ. นี้ไม่ใช่ของข้าราชการกระทรวงใดกระทรวงหนึ่งแต่เป็น
ของประชาชน แต่เป็นภาพรวมที่ต้องการให้ชาวบ้านบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ จปฐ. นี้ทุกข้อ ดังนั้นจึง
มีความจําเป็นที่จะต้องร่วมกันพัฒนาสนับสนุนชาวบ้านทุกเรื่องตาม จปฐ.
4) ข้าราชการที่มีความรู้ และสามารถถ่ายทอดความรู้นี้ไปให้วิทยากรระดับล่างได้และ
ระดับล่างสุดจะต้องถ่ายทอดความรู้เรื่อง จปฐ. ให้แก่ชาวบ้านได้จนกระทั่งชาวบ้านสามารถปฏิบัติได้
ตามแนวคิด จปฐ.
5) เมื่อชาวบ้านทําแผนระดับชุมชนแล้ว เป็นหน้าที่ของข้าราชการทุกกระทรวงที่จะต้อง
ให้การสนับสนุน กระตุ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ชาวบ้านเกิดการปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแผน
ที่วางไว้
6) ข้าราชการควรจะต้องมีการออกนิเทศงาน ติดตาม ช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้กับ
ชาวบ้านอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ
7) ข้าราชการควรมีการประชุมร่วมกันทุกกระทรวงเป็นประจํา และมีการฟื้นฟูความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการนํา จปฐ. ไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต
Goal
สภาพปจจุบัน บรรลุ จปฐ. ป 2559
MBO
1. เปนเปาหมาย
2. เปนตัวชี้วัด
3. เปนขอมูล สามารถใชประกอบการวางแผน
4. เปนกระบวนการ การเก็บขอมูล/วิเคราะห/หาแนวทางแกไข/วางแผน/ประเมินผล
เปนเปาหมายที่สามารถวัดไดชัดเจน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
16
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 17
2. บทบาทขององค์กรประชาชน
องค์กรประชาชนในระดับหมู่บ้านซึ่งอาจจะเป็นกรรมการชุมชน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน
อสม. ฯลฯ ซึ่งจะมีบทบาทในการนํา จปฐ. ไปใช้เป็นเครื่องชี้วัดการพัฒนานั้นจะต้องมีบทบาทโดย
ละเอียด ดังนี้
1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถ
นําไปปฎิบัติในหมู่บ้านตนเองได้
2) จะต้องถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจนี้ไปยังชาวบ้านอื่น ๆ หรือชุมชนใกล้เคียงได้
3) นําผลสํารวจ จปฐ. มาวางแผนพัฒนาชุมชนแล้วปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ได้อย่างจริงจัง
4) มีการระดมทรัพยากรในท้องถิ่นตนเองมาใช้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งเรื่อง
กําลังคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
5) มีการติดตามนิเทศ ช่วยเหลือกันเองเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ภายในชุมชน
หรือชุมชนใกล้เคียง ถ้าเกินกําลังที่จะแก้ไขกันได้เอง ให้ติดต่อประสานงานกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น หรือส่วนราชการอื่น ๆ
6) มีการฟื้นฟูความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็น
ประจํา
7) ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนโดยการสํารวจ จปฐ. ซ้ําทุกปี เพื่อทําให้
ทราบว่าระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม่อย่างไร
3. บทบาทองค์กรเอกชน (NGO)
การพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากในส่วนของข้าราชการและประชาชน จะประสาน
ช่วยเหลือกันแล้ว ยังมีองค์กรเอกชน (NGO) อีกจํานวนมาก ที่จะเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือการพัฒนา
คุณภาพชีวิตได้ ดังนี้
1) ช่วยเรื่องเงินทุน เมื่อชาวบ้านขาดเงินทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์กรเอกชน
อาจจะช่วยหาเงินช่วยเหลือจากแหล่งต่าง ๆ ได้
2) ช่วยเรื่องกําลังคน มีองค์กรเอกชนจํานวนมากที่ได้ส่งนักพัฒนา หรืออาสาสมัคร เข้าไป
ช่วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทําให้ชาวบ้านมีกําลังคนเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยคิด ช่วยทําการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต
3) ช่วยเรื่องความรู้วิชาการต่าง ๆ มีองค์กรเอกชนจํานวนมากที่มีบทบาทเกี่ยวกับ การให้
ความรู้ความเข้าใจประชาชน องค์กรเอกชนเหล่านี้จึงสามารถช่วยได้อย่างมาก
4) การประชาสัมพันธ์ แนวความคิดเรื่อง จปฐ. จําเป็นต้องมีการสื่อความหมายถ่ายทอด
แนวความคิดเป็นเอกภาพและความมีพลังในการทํางานพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์กรเอกชนทั้งหลายที่มี
บทบาทด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ จึงจําเป็นต้องช่วยในเรื่องเหล่านี้อย่างมาก ทั้งวิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์ วารสาร เอกสาร ฯลฯ
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
17
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
18
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 19
2. จํานวนประชากร มีจํานวน 1,868,318 คน
ปี
ชาย หญิง รวม
คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
2555 703,865 48.93 734,776 51.07 1,438,641 16.57
2556 703,223 48.80 737,781 51.20 1,441,004 16.60
2557 961,943 48.66 1,014,904 51.34 1,976,847 22.77
2558 955,148 48.78 1,002,853 51.22 1,958,001 22.55
2559 912,517 48.84 955,801 51.16 1,868,318 21.52
รวม 4,236,696 48.79 4,446,115 51.21 8,682,811 100
จังหวัดนครราชสีมามีจํานวนประชากรรวมย้อนหลัง 5 ปี เป็นเพศหญิงร้อยละ 51.21 และ
เพศชาย ร้อยละ 48.79 จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรในจังหวัดรวมย้อนหลัง 5 ปี พบว่า
จํานวนประชากรเพศหญิงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น มากกว่าเพศชาย
อําเภอที่มีประชากรมากที่สุด 3 ลําดับแรก ได้แก่
1. อําเภอเมืองนครราชสีมา จํานวนประชากร 260,332 คน จํานวน 107,563 ครัวเรือน
2. อําเภอปากช่อง จํานวนประชากร 124759 คน จํานวน 46,465 ครัวเรือน
3. อําเภอโนนสูง จํานวนประชากร 100,585 คน จํานวน 29,534 ครัวเรือน
อําเภอที่มีประชากรน้อยที่สุด 3 ลําดับแรก ได้แก่
1. อําเภอบ้านเหลื่อม จํานวนประชากร 15,746 คน จํานวน 5,179 ครัวเรือน
2. อําเภอเทพารักษ์ จํานวนประชากร 17,229 คน จํานวน 5,540 ครัวเรือน
3. อําเภอสีดา จํานวนประชากร 17,243 คน จํานวน 5,676 ครัวเรือน
48.93 48.80 48.66 48.78 48.84
51.07
51.20 51.34 51.22 51.16
47.00
47.50
48.00
48.50
49.00
49.50
50.00
50.50
51.00
51.50
52.00
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
ร้อยละ
แผนภูมิแสดงแนวโน้มอัตราส่วนของประชากร
ชาย
หญิง
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
19
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 20
3. ช่วงอายุของประชากร
3.1 ช่วงอายุของประชากร จําแนกตามช่วงอายุ แบบ 10 ช่วง
ช่วงอายุ
เพศชาย เพศหญิง รวม
คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
น้อยกว่า 1 ปีเต็ม 3,001 0.33 2,963 0.31 5,964 0.32
1 ปีเต็ม - 2 ปี 12,273 1.34 11,753 1.23 24,026 1.29
3 ปีเต็ม - 5 ปี 27,227 2.98 25,701 2.69 52,928 2.83
6 ปีเต็ม - 11 ปี 66,563 7.29 62,925 6.58 129,488 6.93
12 ปีเต็ม - 14 ปี 35,895 3.93 34,511 3.61 70,406 3.77
15 ปีเต็ม - 17 ปี 36,447 3.99 34,995 3.66 71,442 3.82
18 ปีเต็ม - 25 ปี 99,829 10.94 95,976 10.04 195,805 10.48
26 ปีเต็ม - 49 ปี 331,489 36.33 347,355 36.34 678,844 36.33
50 ปีเต็ม - 60 ปีเต็ม 153,971 16.87 167,346 17.51 321,317 17.20
มากกว่า 60 ปีเต็ม ขึ้นไป 145,822 15.98 172,276 18.02 318,098 17.03
รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100
ประชากรส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 26 – 49 ปี ร้อยละ 36.33 แยกเป็นเพศชาย ร้อยละ 36.33 เพศหญิง
ร้อยละ 36.34 รองลงมา มีช่วงอายุ 50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม ร้อยละ 17.20 อายุ 60 ปีเต็มขึ้นไป ร้อยละ
17.03 อายุ 18 ปีเต็ม – 25 ปี ร้อยละ 10.48 และอายุ 6 ปีเต็ม – 11 ปี ร้อยละ 6.93 สรุปได้ว่า
ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมา มากกว่า ร้อยละ 70.56 มีอายุตั้งแต่ 26 ปีเต็มขึ้นไป
0
5
10
15
20
25
30
35
40
ร้อยละ
แผนภูมิร้อยละของประชากรตามช่วงอายุ
ชาย
หญิง
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
20
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 21
3.2 ช่วงอายุของประชากร จําแนกตามช่วงอายุ แบบ 20 ช่วง
ช่วงอายุ
เพศชาย เพศหญิง รวม
คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
101 ปีขึ้นไป 56 0.01 113 0.01 169 0.01
96 – 100 ปี 314 0.03 600 0.06 914 0.05
91 – 95 ปี 1,394 0.15 2,428 0.25 3,822 0.20
86 – 90 ปี 5,009 0.55 7,843 0.82 12,852 0.69
81 – 85 ปี 10,542 1.16 14,613 1.53 25,155 1.35
76 – 80 ปี 18,850 2.07 23,997 2.51 42,847 2.29
71 – 75 ปี 24,190 2.65 27,919 2.92 52,109 2.79
66 – 70 ปี 36,319 3.98 40,891 4.28 77,210 4.13
61 – 65 ปี 49,148 5.39 53,872 5.64 103,020 5.51
56 – 60 ปี 63,860 7.00 69,865 7.31 133,725 7.16
51 – 55 ปี 74,147 8.13 80,108 8.38 154,255 8.26
46 – 50 ปี 79,345 8.70 86,146 9.01 165,491 8.86
41 – 45 ปี 76,887 8.43 82,316 8.61 159,203 8.52
36 – 40 ปี 71,977 7.89 75,193 7.87 147,170 7.88
31 – 35 ปี 62,593 6.86 64,481 6.75 127,074 6.80
26 – 30 ปี 56,651 6.21 56,592 5.92 133,243 6.06
21 – 25 ปี 60,958 6.68 58,341 6.10 119,299 6.39
16 – 20 ปี 63,094 6.91 60,691 6.35 123,785 6.63
11 – 15 ปี 59,976 6.57 57,689 6.04 117,665 6.30
6 – 10 ปี 54,706 6.00 51,686 5.41 106,392 5.69
1 – 5 ปี 39,500 4.33 37,454 3.92 76,954 4.12
น้อยกว่า 1 ปี 3,001 0.33 2,963 0.31 5,964 0.32
รวม 912,517 100.00 955,801 100.00 1,868,318 100.00
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
21
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 22
4. ประชากร จําแนกตามระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา
เพศ
รวม (คน) ร้อยละ
ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ
ไม่เคยศึกษา 26,852 2.94 32,801 3.43 59,653 3.19
อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก 30,969 3.39 29,240 3.06 60,209 3.22
ต่ํากว่าชั้นประถมศึกษา 39,687 4.35 42,894 4.49 82,581 4.42
จบชั้นประถมศึกษา (ป. 4, ป. 7, ป. 6) 416,832 45.7 445,361 46.6 862,193 46.15
มัธยมศึกษาตอนต้น (มศ. 1-3, ม. 1-3) 166,180 18.21 149,217 15.61 315,397 16.88
มัธยมศึกษาตอนปลาย
(มศ. 4-5, ม. 4-6, ปวช.)
136,418 14.95 138,200 14.46 274,618 14.70
อนุปริญญา หรือเทียบเท่า 36,268 3.97 31,525 3.30 67,793 3.63
ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 55,092 6.04 81,552 8.53 136,644 7.31
สูงกว่าปริญญาตรี 4,219 0.46 5,011 0.52 9,230 0.49
รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100
ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 46.15 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6) รองลงมา
ร้อยละ 16.88 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (มศ.1-3, ม.1-3) และร้อยละ 14.70 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
(มศ.4-5, ม.4-6, ปวช.) ตามลําดับ มีเพียงร้อยละ 7.80 ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งหาก
พิจารณาเปรียบเทียบระดับการศึกษาระหว่างชายและหญิง จะพบว่าในระดับปริญญาตรีขึ้นไป ผู้หญิง
มีโอกาสทางการศึกษามากกว่าผู้ชาย
3.19 3.22 4.42
46.15
16.88
14.7
3.63
7.31
0.49
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
ร้อยละ
แผนภูมิเปรียบเทียบระดับการศึกษา
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
22
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 23
5. ประชากร จําแนกตามอาชีพ
ประเภทอาชีพ
เพศ
รวม (คน) ร้อยละ
ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ
เกษตรกรรม - ทํานา 189,189 20.73 198,853 20.8 388,042 20.77
เกษตรกรรม - ทําไร่ 59,464 6.52 54,669 5.72 114,133 6.11
เกษตรกรรม - ทําสวน 3,520 0.39 3,451 0.36 6,971 0.37
เกษตรกรรม - ประมง 263 0.03 158 0.02 421 0.02
เกษตรกรรม - ปศุสัตว์ 1,986 0.22 1,489 0.16 3,475 0.19
รับราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 34,089 3.74 27,551 2.88 61,640 3.30
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 3,361 0.37 2,875 0.30 6,236 0.33
พนักงานบริษัท 20,936 2.29 22,950 2.40 43,886 2.35
รับจ้างทั่วไป 303,179 33.22 280,789 29.38 583,968 31.26
ค้าขาย 38,086 4.17 64,359 6.73 102,445 5.48
ธุรกิจส่วนตัว 16,005 1.75 15,188 1.59 31,193 1.67
อาชีพอื่น (นอกเหนือที่กล่าวแล้ว) 17,142 1.88 31,421 3.29 48,563 2.60
กําลังศึกษา 180,678 19.8 186,431 19.51 367,109 19.65
ไม่มีอาชีพ 44,619 4.89 65,617 6.87 110,236 5.90
รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100
20.77
6.11
0.37 0.02 0.19
3.30
0.33
2.35
31.26
5.48
1.67 2.60
19.65
5.90
0.00
5.00
10.00
15.00
20.00
25.00
30.00
35.00
ร้อยละ
แผนภูมิเปรียบเทียบการประกอบอาชีพ
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
23
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 24
ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 31.26 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป รองลงมา ร้อยละ 20.77
ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม-ทํานา และร้อยละ 19.65 เป็นผู้ที่อยู่ในวัยกําลังศึกษา และไม่ได้ประกอบอาชีพ
ตามลําดับ ซึ่งมีเพียงร้อยละ 5.90 ที่ไม่ได้ประกอบอาชีพ
6. ประชากร จําแนกตามศาสนา
ศาสนา
เพศ
รวม (คน) ร้อยละ
ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ
พุทธ 909,926 99.72 953,036 99.71 1,862,962 99.71
คริสต์ 2,043 0.22 2,188 0.23 4,231 0.23
อิสลาม 386 0.04 381 0.04 767 0.04
ซิกส์ 11 - 16 - 27 -
ฮินดู 8 - 18 - 26 -
อื่นๆ 143 0.02 162 0.02 305 0.02
รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100
ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 99.71 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา ร้อยละ 0.23 นับถือศาสนาคริสต์
ร้อยละ 0.04 นับถือศาสนาอิสลาม ตามลําดับ
99.71
0.23 0.04 0 0 0.02
0
20
40
60
80
100
120
พุทธ คริสต์ อิสลาม ซิกส์ ฮินดู อื่นๆ
ร้อยละ
แผนภูมิเปรียบเทียบการนับถือศาสนา
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
24
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
25
[ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 26
หมวดที่ 2 : มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม)
มี 8 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
จํานวน
ทั้งหมด
ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และ
บ ้านมีสภาพคงทนถาวร
639462 คร. 634,890 99.29 4572 0.71
9. ครัวเรือนมีนํ้าสะอาดสําหรับดื่มและบริโภค
เพียงพอตลอดปี
639462 คร. 635,111 99.32 4351 0.68
10. ครัวเรือนมีนํ้าใช ้เพียงพอตลอดปี 639462 คร. 634,929 99.29 4533 0.71
11. ครัวเรือนมีการจัดบ ้านเรือนเป็นระเบียบ
เรียบร ้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ
639462 คร. 634,810 99.27 4,652 0.73
12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ 639462 คร. 632,680 98.94 6,782 1.06
13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี 639462 คร. 634,992 99.30 4,470 0.70
14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
639462 คร. 635,269 99.34 4,193 0.66
15. ครอบครัวมีความอบอุ่น 639462 คร. 635,095 99.32 4367 0.68
ผลการจัดเก็บข้อมูล ปี 2559 หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย จํานวน 8 ตัวชี้วัด พบว่า
ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ์มากที่สุด 3 ลําดับแรก คือ
1) ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ร้อยละ 1.06
2) ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 0.73
3) ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ร้อยละ 0.71
ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ์น้อยที่สุด 3 ลําดับแรก คือ
1) ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 0.66
2) ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี ร้อยละ 0.68
3) ครอบครัวมีความอบอุ่น ร้อยละ 0.68
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา
โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม สํานักนายกรัฐมนตรี และสํานักงานตํารวจแห่งชาติ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559
26
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559

More Related Content

Similar to รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559

Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
นวพร คำแสนวงษ์
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
Chuchai Sornchumni
 
PLC project sep2020
PLC project sep2020PLC project sep2020
PLC project sep2020
Sukanya Jongsiri
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
Vorawut Wongumpornpinit
 
Bangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCareBangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCare
Pattie Pattie
 
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดกระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดkittisak sapphajak
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
นวพร คำแสนวงษ์
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
Pattie Pattie
 
Present2 tdd-aging cities-may2018-slideshare
Present2 tdd-aging cities-may2018-slidesharePresent2 tdd-aging cities-may2018-slideshare
Present2 tdd-aging cities-may2018-slideshare
Sukanya Jongsiri
 
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, NakhonchaiburinAutonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Surasit Chitpitaklert
 
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวโพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
Zabitan
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
Kanjana thong
 
สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...
สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...
สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...
Dr.Choen Krainara
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouthguest78694ed
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
Chuchai Sornchumni
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

Similar to รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559 (20)

Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ดูแลผู้รับการสงเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
PLC project sep2020
PLC project sep2020PLC project sep2020
PLC project sep2020
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
Bangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCareBangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCare
 
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดกระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
 
Present2 tdd-aging cities-may2018-slideshare
Present2 tdd-aging cities-may2018-slidesharePresent2 tdd-aging cities-may2018-slideshare
Present2 tdd-aging cities-may2018-slideshare
 
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, NakhonchaiburinAutonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
 
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวโพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...
สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...
สรุปผลการประชุมกลุ่มย่อยด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม แรงงาน SMEs และพลังงานของกลุ่ม...
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouth
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 

รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2559

  • 2.
  • 3. ประมวลสรุป พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะกรรมการอ�ำนวยการ งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจ้าหน้าที่ เข้าเฝ้าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย การด�ำเนินงานพัฒนา แต่ก่อนใช้วัดด้วยสายตาบ้าง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็นที่ไม่เป็นเชิงสถิติบ้าง ท�ำ ไปเรื่อย ๆ บ้าง แต่ตอนนี้ทางราชการมีการส�ำรวจข้อมูล จปฐ. เป็นข้อมูลที่คิดว่าในขณะนี้ดีที่สุดแล้ว ดีในการ เป็นฐานให้เริ่มต้นแก้ไขปัญหา เป็นข้อมูลที่ง่าย ดูง่าย และเห็นด้วยที่มีการส�ำรวจข้อมูล จปฐ. มีการวัดเพื่อให้พบ ปัญหา ซึ่งเมื่อรู้ปัญหาแล้วจะได้มีการแก้ไขส�ำหรับการวัดนั้นจะตรงหรือไม่ตรง แน่นอนต้องมีการผิดพลาดบ้าง ก็ ไม่น่าจะเป็นปัญหาใหญ่ ขอให้มีสิ่งที่จะช่วยชี้ให้ฝ่ายรัฐเข้าไปหาชาวบ้านได้ทราบปัญหาชาวบ้านบ้าง เมื่อเราท�ำ จริง ส�ำรวจจริงแล้ว จะท�ำให้พบกับบุคคลที่ควรสงเคราะห์ หรือท�ำให้พบปัญหา และเมื่อพบปัญหาแล้วจะแก้ไข อย่างไร เป็นสิ่งซึ่งจะตามมา หลักการพัฒนาที่ควรจะค�ำนึงถึง คือ ช่วยเขาเพื่อให้เขาช่วยตัวเองได้การให้ค�ำแนะน�ำ เพื่อให้ชาวบ้านได้เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองจึงเป็น สิ่งส�ำคัญ (ได้รับพระราชทานพระราชานุญาต ตามหนังสือส�ำนักราชเลขาธิการ ที่ รล. 0017/10527 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2534)
  • 4.
  • 5. ค�ำน�ำ รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา จัดท�ำขึ้นเพื่อน�ำเสนอผลการ จัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัด ด้วยเกณฑ์ตัวชี้วัดขั้นพื้นฐาน ที่ ครอบคลุมในด้านต่างๆ ที่ประชาชนทุกคนพึงมีโดยด�ำเนินการส�ำรวจและจัดเก็บข้อมูลจาก ทุกครัว เรือน ทุกหมู่บ้านในเขตชนบท และเขตเมืองของจังหวัดนครราชสีมา ผลที่ได้จากการส�ำรวจข้อมูลจะ ท�ำให้ทราบถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน ในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ และภาพรวมของ จังหวัด โดยใช้เครื่องชี้วัดข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด ในการประมวลผลการจัดเก็บข้อมูล ปี 2559 ภาพรวมของจังหวัดนครราชสีมาจาก 639,462 ครัวเรือน 4,238 หมู่บ้าน/ชุมชน 333 ต�ำบล 32 อ�ำเภอ พบว่าร้อยละของตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์เรียงล�ำดับ จากมากไปน้อยได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 19, 3, 26, 25, 22, 6, 24, 21, 18, 12, 30, 5, 4, 11, 8, 10, 13, 15, 9, 14, 1, 27, 23, 29, 7, 16, 2, 20, 17 และตัวชี้วัดที่ 28 โดยผลการจัดเก็บข้อมูลด้านรายได้ (ตัวชี้วัด ที่ 23) จังหวัดนครราชสีมามีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีในภาพรวมของจังหวัดเท่ากับ 83,618 บาทต่อคน ต่อปี และมีครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีต�่ำกว่าเกณฑ์ (30,000 บาท) จ�ำนวน 1,508 ครัวเรือน ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ในฐานะผู้ประสานการด�ำเนินงานบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลทุกครัวเรือนเป็นประจ�ำทุกปี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร “รายงานคุณภาพชีวิตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา” ฉบับนี้จะเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตตของประชาชนในจังหวัด ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรภาค ประชาชน ตลอดจนนิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไปได้น�ำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไข ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา มิถุนายน 2559
  • 6.
  • 7. สารบัญ ประมวลสรุปพระราชกระแส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ค�ำน�ำ บทสรุปผู้บริหาร 1 ส่วนที่ 1 แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต 10 แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 10 ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. 10 ข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน จปฐ. 10 แนวคิดและความเป็นมาของข้อมูล จปฐ. 11 ขั้นตอนการน�ำ จปฐ. ไปใช้ในการพัฒนา 15 ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไปของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา 18 จ�ำนวนครัวเรือน 18 จ�ำนวนประชากร 19 ช่วงอายุ 20 การศึกษา 22 อาชีพ 23 ศาสนา 24 ส่วนที่ 3 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา 25 จ�ำแนกรายหมวด 25 จ�ำแนกรายตัวชี้วัด 30 ส่วนที่ 4 รายได้ และรายจ่ายของคนในจังหวัดนครราชสีมา 60 รายได้ 60 รายจ่าย 61 จ�ำนวนครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต�่ำกว่าเกณฑ์ 30,000 บาท ต่อคนต่อปี 63 รายได้เฉลี่ยของแต่ละอ�ำเภอ 65 รายจ่ายเฉลี่ยของแต่ละอ�ำเภอ 66 ส่วนที่ 5 ผลการจัดเก็บข้อมูลรายตัวชี้วัด จ�ำแนกตามอ�ำเภอ 67 พื้นที่การส�ำรวจข้อมูล ปี 2558 67 จ�ำนวนประชากร ชาย – หญิง 68 รายได้ - รายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี 69 ผลการจัดเก็บข้อมูล รายตัวชี้วัด 71 ภาคผนวก
  • 8.
  • 10. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 2 [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 2 1.3 ช่วงอายุ จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนมากมีช่วงอายุระหว่าง 46 – 50 ปีเต็ม จํานวน 165,491 คน คิดเป็นร้อยละ 8.86 รองลงมา มีช่วงอายุระหว่าง 41 – 45 ปีเต็ม จํานวน 159,203 คน คิดเป็นร้อยละ 8.52 และมีช่วงอายุระหว่าง 51 – 55 ปีเต็ม จํานวน 154,255 คน คิดเป็นร้อยละ 8.26 ตามลําดับ 1.4 ระดับการศึกษา จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนใหญ่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6) จํานวน 862,193 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 รองลงมา จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (มศ.1-3, ม.1-3) จํานวน 315,397 คน คิดเป็นร้อยละ 16.88 และจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-5, ม.4-6, ปวช.) จํานวน 274,618 คน คิดเป็นร้อยละ 14.70 ตามลําดับ มีเพียงร้อยละ 7.80 ที่จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป 1.5 อาชีพ จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป จํานวน 583,968 คน คิดเป็นร้อยละ 31.26 รองลงมาประกอบอาชีพ เกษตรกรรม – ทํานา จํานวน 388,042 คน คิดเป็นร้อยละ 20.77 และกําลังศึกษา จํานวน 367,109 คน คิดเป็นร้อยละ 19.65 ตามลําดับ 1.6 ศาสนา จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด จํานวน 1,862,962 คน คิดเป็นร้อยละ 99.71 รองลงมานับถือศาสนาคริสต์ จํานวน 4,231 คน คิดเป็นร้อยละ 0.23 และนับถือศาสนาอิสลาม จํานวน 767 คน คิดเป็นร้อยละ 0.04 ตามลําดับ 2. คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา 2.1 คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา จําแนกตามหมวดและตัวชี้วัด หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) เด็กแรกเกิดไม่ได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน ร้อยละ 7.45 2) คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปีเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อ โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.43 3) คนในครัวเรือนไม่มีการใช้ยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ร้อยละ 0.90 4) ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่ปลอดภัย และไม่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 0.90 5) เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 0.61 6) คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่ได้ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที ร้อยละ 0.21 7) เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค ร้อยละ 0.15 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน
  • 11. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 3 หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ครัวเรือนถูกรบกวนจากมลพิษ ร้อยละ 1.06 2) ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 0.73 3) ครัวเรือนไม่มีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพไม่คงทนถาวร ร้อยละ 0.71 4) ครัวเรือนมีน้ําใช้ไม่เพียงพอตลอดปี ร้อยละ 0.71 5) ครัวเรือนไม่มีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี ร้อยละ 0.70 6) ครอบครัวไม่มีความอบอุ่น ร้อยละ 0.68 7) ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคไม่เพียงพอตลอดปี ร้อยละ 0.68 8) ครัวเรือนไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 0.66 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม สํานักนายกรัฐมนตรี และสํานักงานตํารวจแห่งชาติ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) เด็กจบการศึกษาบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทํา ยังไม่ได้รับการฝึกอบรม ด้านอาชีพ ร้อยละ 22.43 2) เด็กจบชั้น ม.3 ไม่ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า ร้อยละ 1.62 3) เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ไม่ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน ร้อยละ 0.17 4) คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายไม่ได้ ร้อยละ 0.11 5) เด็กอายุ 6 – 14 ปี ไม่ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ร้อยละ 0.08 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทําและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป ไม่มีอาชีพและรายได้ ร้อยละ 4.50 2) ครัวเรือนไม่มีการเก็บออมเงิน ร้อยละ 2.27 3) คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม ไม่มีอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ 1.97 4) คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยน้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี ร้อยละ 0.24 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 3
  • 12. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 4 หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ์เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) คนในครัวเรือนสูบบุหรี่ ร้อยละ 7.02 2) คนในครัวเรือนดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราวฯ) ร้อยละ 5.88 3) คนในครัวเรือนไม่มีส่วนร่วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน ร้อยละ 1.00 4) คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ไม่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร้อยละ 0.46 5) คนพิการ ไม่ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ ร้อยละ 0.22 6) คนสูงอายุ ไม่ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ ร้อยละ 0.03 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวัฒนธรรม สํานักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็น หน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2.2 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (ย้อนหลัง 5 ปี) ปี จํานวน จํานวนคน รายได้เฉลี่ยครัวเรือน รายได้เฉลี่ยบุคคล ครัวเรือน (บาท/ปี) (บาท/ปี) 2555 393,605 1,438,641 224,064 61,303 2556 398,635 1,441,004 235,330 65,101 2557 666,055 1,976,847 231,663 78,054 2558 669,011 1,958,001 237,660 81,204 2559 639,462 1,868,318 244,307 83,618 รวม 2,766,768 8,682,811 1,173,024 369,280 จากการสํารวจข้อมูลด้านรายได้ของประชาชน ปรากฏว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย ในปี 2559 พบว่า มีแหล่งที่มาของรายได้เฉลี่ยครัวเรือนจากการประกอบอาชีพหลัก จํานวน 180,745 บาทต่อปี อาชีพรอง จํานวน 31,145 บาทต่อปี รายได้อื่น จํานวน 18,118 บาทต่อปี และรายได้ครัวเรือน เฉลี่ยครัวเรือนจากการปลูก เลี้ยง หาเอง จํานวน 14,305 บาทต่อปี 2.3 รายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี (ย้อนหลัง 5 ปี) ปี จํานวน จํานวนคน รายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือน รายจ่ายเฉลี่ยบุคคล ครัวเรือน (บาท/ปี) (บาท/ปี) 2555 393,605 1,438,641 134,789 36,878 2556 398,635 1,441,004 142,366 39,384 2557 666,055 1,976,847 142,141 47,891 2558 669,011 1,958,001 144,457 49,358 2559 639,462 1,868,318 152,290 52,290 รวม 2,766,768 8,682,811 716,043 225,801 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 4
  • 13. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 5 จากการสํารวจข้อมูลด้านรายจ่ายของประชาชน ปรากฏว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย ในปี 2559 พบว่า มีแหล่งที่มาของรายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือนจากภาระต้นทุนการผลิต จํานวน 32,210 บาทต่อปี อุปโภคบริโภคที่จําเป็น จํานวน 75,631 บาทต่อปี อุปโภคบริโภคที่ไม่จําเป็น จํานวน 22,042 บาทต่อปี และรายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือนในการชําระหนี้สิน จํานวน 22,893 บาทต่อปี 2.4 ระดับความสุขเฉลี่ย (ย้อนหลัง 5 ปี) ปี ระดับความสุขของคนในครัวเรือนและหมู่บ้าน/ชุมชน 2555 7.82 2556 7.90 2557 8.02 2558 8.13 2559 8.22 ความสุข หมายถึง การรู้สึกดี มีความสุขกับชีวิต และอยากให้ความรู้สึกนั้นคงอยู่ไม่หายไป ซึ่งพิจารณาได้จากสิ่งที่ครัวเรือน และชุมชน มีอยู่ เป็นอยู่ และแทนค่าระดับความสุขด้วยตัวเลข ระหว่าง 0 – 10 พบว่า ระดับความสุขของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมามีแนวโน้มสูงขึ้น 2.5 อําเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี มากสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายได้เฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ปี) 1 เมืองนครราชสีมา 107,563 260,332 128,240 2 สีคิ้ว 30,089 90,769 94,593 3 ปากช่อง 46,465 124,759 94,393 4 เทพารักษ์ 5,540 17,229 93,408 5 ลําทะเมนชัย 7,641 22,697 88,233 6 สูงเนิน 22,238 67,281 82,689 7 บัวใหญ่ 22,663 54,907 81,404 8 ปักธงชัย 35,974 99,574 80,758 9 โชคชัย 22,621 63,502 80,465 10 ขามทะเลสอ 7,273 23,561 77,231 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 5
  • 14. 2.6 อําเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี น้อยสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายได้เฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ปี) 1 ห้วยแถลง 17,664 51,000 61,794 2 พระทองคํา 10,068 29,079 62,195 3 ขามสะแกแสง 10,183 29,214 62,632 4 บ้านเหลื่อม 5,179 15,746 63,238 5 เมืองยาง 6,844 20,615 65,632 6 เฉลิมพระเกียรติ 8,141 28,601 66,818 7 คง 18,272 52,350 66,845 8 โนนไทย 16,784 53,387 66,956 9 ชุมพวง 20,873 65,124 67,087 10 โนนสูง 29,534 100,585 67,178 2.7 อําเภอที่มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี มากสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายจ่ายเฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ปี) 1 เมืองนครราชสีมา 107,563 260,332 82,795 2 ปากช่อง 46,465 124,759 60,993 3 สีคิ้ว 30,089 90,769 55,696 4 เทพารักษ์ 5,540 17,229 53,684 5 ขามทะเลสอ 7,273 23,561 53,191 6 ลําทะเมนชัย 7,641 22,697 52,606 7 ด่านขุนทด 30,076 92,302 51,938 8 สูงเนิน 22,238 67,281 51,130 9 พิมาย 32,120 98,923 50,409 10 ปักธงชัย 35,974 99,574 49,663 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 6
  • 15. 2.8 อําเภอที่มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปี น้อยสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายจ่ายเฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ปี) 1 ขามสะแกแสง 10,183 29,214 36,428 2 ห้วยแถลง 17,664 51,000 37,287 3 เมืองยาง 6,844 20,615 39,838 4 ชุมพวง 20,873 65,124 39,881 5 พระทองคํา 10,068 29,079 40,070 6 คง 18,272 52,350 40,651 7 โนนสูง 29,534 100,585 41,856 8 ประทาย 17,506 52,875 41,932 9 เฉลิมพระเกียรติ 8,141 28,601 42,434 10 โนนไทย 16,784 53,387 42,684 2.9 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท (ย้อนหลัง 5 ปี) ปี ครัวเรือนทั้งหมด ไม่ผ่านเกณฑ์ ครัวเรือน ร้อยละ 2555 393,605 5,129 40.48 2556 398,635 2,135 16.85 2557 666,055 2,092 16.51 2558 669,011 1,808 14.27 2559 639,462 1,508 11.90 รวม 2,766,768 12,672 0.46 จากผลการสํารวจข้อมูล พบว่า ในปี 2559 จังหวัดนครราชสีมามีครัวเรือนที่ตกเกณฑ์รายได้ เฉลี่ยน้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี จํานวน 31 อําเภอ 1,508 ครัวเรือน และอําเภอจักราชไม่มี ครัวเรือนตกเกณฑ์ รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 7
  • 16. 2.10 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท มากสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด ไม่ผ่านเกณฑ์ ครัวเรือน ร้อยละ 1 ปักธงชัย 35,974 188 0.52 2 โนนสูง 29,534 170 0.58 3 สูงเนิน 22,238 121 0.54 4 ห้วยแถลง 17,664 117 0.66 5 โนนไทย 16,784 109 0.65 6 ประทาย 17,506 100 0.57 7 ด่านขุนทด 30,076 79 0.26 8 เสิงสาง 16,204 63 0.39 9 บัวใหญ่ 22,663 60 0.26 10 โชคชัย 22,621 52 0.23 รวม 231,264 1,059 0.46 2.11 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท น้อยสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด ไม่ผ่านเกณฑ์ ครัวเรือน ร้อยละ 1 วังน้ําเขียว 9,748 3 0.03 2 แก้งสนามนาง 8,050 3 0.04 3 ลําทะเมนชัย 7,641 6 0.08 4 พระทองคํา 10,068 6 0.06 5 เทพารักษ์ 5,540 7 0.13 6 ครบุรี 24,084 8 0.03 7 พิมาย 32,120 8 0.02 8 โนนแดง 6,058 9 0.15 9 เมืองนครราชสีมา 107,563 11 0.01 10 บัวลาย 5,773 11 0.19 รวม 216,645 72 0.03 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 8
  • 17. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 9 2.12 ปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขของคนไทยในชนบท 10 ลําดับแรก 1. เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อ และยังไม่มีงานทําไม่ได้รับการ ฝึกอบรมด้านอาชีพ จํานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 22.43 จากทั้งหมด 263 คน 2. เด็กแรกเกิดไม่ได้กินนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน จํานวน 637 คน คิดเป็นร้อยละ 7.45 จากทั้งหมด 8,550 คน 3. คนในครัวเรือนสูบบุหรี่ จํานวน 131,130 คน คิดเป็นร้อยละ 7.02 จากทั้งหมด 1,868,318 คน 4. คนในครัวเรือนดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราวฯ) จํานวน 109,857 คน คิดเป็นร้อย ละ 5.88 จากทั้งหมด 1,868,318 คน 5. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป ไม่มีอาชีพและรายได้ จํานวน 12,660 คน คิดเป็นร้อยละ 4.50 จากทั้งหมด 281,280 คน 6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จํานวน 26,862 คน คิดเป็นร้อยละ 2.43 จากทั้งหมด 1,105,777 คน 7. ครัวเรือนไม่มีการเก็บออมเงิน จํานวน 14,514 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.27 จาก ทั้งหมด 639,462 ครัวเรือน 8. คนอายุ 15 – 60 ปีเต็ม ไม่มีอาชีพและรายได้ จํานวน 22,051 คน คิดเป็นร้อยละ 1.97 จากทั้งหมด 1,118,751 คน 9. เด็กที่จบชั้น ม.3 ไม่ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า จํานวน 263 คน คิดเป็นร้อยละ 1.62 จากทั้งหมด 16,244 คน 10. ครัวเรือนถูกรบกวนจากมลพิษ จํานวน 6,782 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.06 จาก ทั้งหมด 639,462 ครัวเรือน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 9
  • 18. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 10 แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักการและแนวคิดเรื่อง จปฐ. นี้ ในเบื้องต้น คือ การวาดภาพสังคมที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยคิดว่าในฐานะที่ประชาชนทุกคนที่เกิดเป็นคนไทยนั้น ขั้นต่ําของชีวิตเขาน่าจะมีอะไรบ้าง? นั่นคือ การที่จะทําให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขั้นต่ําเขาควรจะมีอะไรบ้าง จึงได้ข้อสรุปว่า การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ทุกตัวชี้วัด ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. ความหมายของคําว่า “คุณภาพชีวิต” คือ 1. คุณภาพชีวิต หมายถึง การดํารงชีวิตของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจําเป็น พื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ 2. คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนั้น ๆ หรือชุมชนนั้น ๆ ได้บรรลุ เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ครบถ้วนทุกประการ ความหมายของคําว่า “ความจําเป็นพื้นฐาน”(จปฐ.) คือ 1. ความต้องการพื้นฐานสําหรับประชาชนดํารงชีวิต 2. สิ่งจําเป็นต่อการครองชีพพื้นฐาน 3. ความต้องการขั้นต่ําที่ชาวบ้านควรมี 4. ความต้องการต่ําที่สุดที่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุขพอสมควร ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จปฐ. เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้ วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ํากว่าเกณฑ์ระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และทําให้ประชาชนสามารถทราบด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวรวม ไปถึงหมู่บ้านหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้างเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบท ของประเทศ หลักการของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)  เป็นเครื่องมือกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนเพื่อทราบสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง และชุมชน  ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา  ใช้ข้อมูล จปฐ.เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคล้องกับสภาพปัญหาของชุมชน แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่วนที่ 1 [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 10 แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักการและแนวคิดเรื่อง จปฐ. นี้ ในเบื้องต้น คือ การวาดภาพสังคมที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยคิดว่าในฐานะที่ประชาชนทุกคนที่เกิดเป็นคนไทยนั้น ขั้นต่ําของชีวิตเขาน่าจะมีอะไรบ้าง? นั่นคือ การที่จะทําให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขั้นต่ําเขาควรจะมีอะไรบ้าง จึงได้ข้อสรุปว่า การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ทุกตัวชี้วัด ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. ความหมายของคําว่า “คุณภาพชีวิต” คือ 1. คุณภาพชีวิต หมายถึง การดํารงชีวิตของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจําเป็น พื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ 2. คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนั้น ๆ หรือชุมชนนั้น ๆ ได้บรรลุ เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ครบถ้วนทุกประการ ความหมายของคําว่า “ความจําเป็นพื้นฐาน”(จปฐ.) คือ 1. ความต้องการพื้นฐานสําหรับประชาชนดํารงชีวิต 2. สิ่งจําเป็นต่อการครองชีพพื้นฐาน 3. ความต้องการขั้นต่ําที่ชาวบ้านควรมี 4. ความต้องการต่ําที่สุดที่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุขพอสมควร ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จปฐ. เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้ วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ํากว่าเกณฑ์ระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และทําให้ประชาชนสามารถทราบด้วยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวรวม ไปถึงหมู่บ้านหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้างเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบท ของประเทศ หลักการของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)  เป็นเครื่องมือกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนเพื่อทราบสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง และชุมชน  ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา  ใช้ข้อมูล จปฐ.เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคล้องกับสภาพปัญหาของชุมชน แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่วนที่ 1 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 10
  • 19. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 11 แนวคิดและความเป็นมาของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ข้อมูล จปฐ. ที่มีการจัดเก็บโดยประชาชนด้วยความสนับสนุนของคณะทํางาน สนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตําบล (คปต.) และผู้แทนขององค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) หรือเทศบาลนั้น จะทําให้ทราบว่าแต่ละครัวเรือนมีปัญหาอะไร หมู่บ้านมีปัญหาอะไร และเมื่อ ทราบแล้ว ส่วนใดที่ไม่สามารถดําเนินการเองได้ก็ให้ขอรับการสนับสนุนบางส่วน หรือทั้งหมด จาก โครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เช่น องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล หรือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่วนราชการในภูมิภาค (อําเภอ,จังหวัด) ส่วนราชการส่วนกลาง (กรม,กระทรวง) หรือในระดับรัฐบาล ต่อไป ปี พ.ศ.2525 แนวความคิดเรื่อง จปฐ. เกิดขึ้นครั้งแรกโดยสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กําหนดรูปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยที่พึง ประสงค์ในอนาคต โดยกําหนดเป็นเครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ของคนไทยซึ่งได้ข้อสรุปว่า “การ มีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยจะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ) ทุกตัวชี้วัด” ปี พ.ศ.2528 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบอนุมัติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2528 ให้มีการ ดําเนินการโครงการปีรณรงค์คุณภาพชีวิตและประกาศใช้เป็น “ปีรณรงค์คุณภาพชีวิตของประชาชน ในชาติ (ปรช.)” (20 สิงหาคม 2528 - 31 ธันวาคม 2530) โดยใช้เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน 8 หมวด 32 ตัวชี้วัด เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดคุณภาพชีวิตของคนไทยว่าอย่างน้อยคนไทยควรมีคุณภาพ ชีวิตในเรื่องอะไรบ้าง และควรมีระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ ปี พ.ศ.2531 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มีมติให้สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มอบโครงการปีรณรงค์ให้กระทรวงมหาดไทยโดย กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบดําเนินงานต่อภายใต้ชื่องานว่า “งานพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในชนบท (พชช.)” ปี พ.ศ.2532 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มีมติเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2532 ให้กรมการพัฒนาชุมชน จัดเก็บข้อมูล จปฐ. เป็นประจําทุกปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึง ปัจจุบันโดยมีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ทุก 5 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ปี พ.ศ.2535 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วงแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) เป็น 9 หมวด 37 ตัวชี้วัด ปี พ.ศ.2540 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) เป็น 8 หมวด 39 ตัวชี้วัด ปี พ.ศ.2544 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) เป็น 6 หมวด 37 ตัวชี้วัด ปี พ.ศ.2544 คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) มีมติเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 ให้กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบประสานการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ในเขตเมืองด้วย โดยให้ใช้เครื่องชี้วัดเหมือนเขตชนบท (มติเมื่อ 31 พฤษภาคม 2545) รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 11
  • 20. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 12 ปี พ.ศ.2549 ได้มีการศึกษาปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูล ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) โดยสรุปตัวชี้วัดตาม ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่จะนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) มีจํานวน 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด ปี พ.ศ.2555 กระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนในฐานะฝ่าย เลขานุการของคณะอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) เป็นหน่วยงานในการ บริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ให้มีการทบทวนและปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. ขึ้นใหม่ทุก 5 ปี เพื่อให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) มีทั้งหมด 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด จากผลการศึกษาในปี พ.ศ. 2554 สามารถสรุปได้ว่า “ตัวชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน จปฐ.” ที่จะนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) มีจํานวน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด หมวดที่ 1 สุขภาพดี มี 7 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย มี 8 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย มี 6 ตัวชี้วัด ปี พ.ศ.2557 กระทรวงมหาดไทยได้กําหนดเป็นนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมและใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างจริงจัง โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลสําหรับใช้ประเมินผลตัวชี้วัดของ กระทรวงมหาดไทย ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ซึ่งได้มอบหมายให้ กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ในเขตชนบท และกรมส่งเสริมการ- ปกครองท้องถิ่นรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ในเขตเมือง ต่อเนื่องมาจนถึงปีปัจจุบันโดยมี รายละเอียดของแต่ละตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 : สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย 1 เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม คน 2 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีกวัคซีนป้องกันโรคครบตามตาราง เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค คน 3 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเตียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน คน 4 ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ครัวเรือน 5 คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่าง เหมาะสม ครัวเรือน 6 คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปีเพื่อคัดกรองความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง คน 7 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที คน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 12
  • 21. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 13 หมวดที่ 2 : มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย 8 ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน 9 ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี ครัวเรือน 10 ครัวเรือนมีน้ําใช้เพียงพอตลอดปี ครัวเรือน 11 ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูก สุขลักษณะ ครัวเรือน 12 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ครัวเรือน 13 ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี ครัวเรือน 14 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ครัวเรือน 15 ครอบครัวมีความอบอุ่น ครัวเรือน หมวดที่ 3 : ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการด้านการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย 16 เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน คน 17 เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี คน 18 เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า คน 19 เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทําได้รับ การฝึกอบรมด้านอาชีพ คน 20 คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่าน เขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ คน หมวดที่ 4 : รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทําและมีรายได้)มี 4 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย 21 คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้ คน 22 คนอายุมกกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ คน 23 คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี ครัวเรือน 24 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ครัวเรือน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 13
  • 22. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 14 หมวดที่ 5 : ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2555 - 2559 หน่วย 25 คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว เฉลี่ยไม่เกินเดือนละ 1 ครั้งฯ) คน 26 คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ คน 27 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง คน 28 คนสูงอายุได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู่บ้านชุมชนหรือภาครัฐ คน 29 คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู่บ้านชุมชนหรือภาครัฐ คน 30 คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของหมู่บ้าน ชุมชนหรือท้องถิ่น ครัวเรือน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 14
  • 24. [ พิ ม พ ที่ อ ยู บ ริ ษั ท ] หนา 16 สรุปสถานการณ์การใช้ จปฐ. สรุปขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอนของการนําข้อมูล จปฐ. มาใช้ในกระบวนการพัฒนาชุมชนจะเห็น ได้ว่าสถานะของการใช้ จปฐ. มีอยู่ 4 สถานะด้วยกัน ดังนี้ เงื่อนไขแห่งความสําเร็จของ จปฐ. การที่จะนํา จปฐ. มาใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เป็นผลสําเร็จได้นั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/เจ้าหน้าที่/ข้าราชการ/ประชาชนและองค์กรเอกชน จะต้องมีบทบาท ดังต่อไปนี้ 1. บทบาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐ การที่จะให้เกิดการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้น บทบาทหน้าที่ของข้าราชการทุกระดับจะต้องมีบทบาทดังนี้ คือ 1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นอย่างดี 2) สามารถเชื่อมแนวความคิด จปฐ. เข้ากับการพัฒนาชุมชนที่มีอยู่เดิมอย่างดี 3) จะต้องมีความเข้าใจว่า จปฐ. นี้ไม่ใช่ของข้าราชการกระทรวงใดกระทรวงหนึ่งแต่เป็น ของประชาชน แต่เป็นภาพรวมที่ต้องการให้ชาวบ้านบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ จปฐ. นี้ทุกข้อ ดังนั้นจึง มีความจําเป็นที่จะต้องร่วมกันพัฒนาสนับสนุนชาวบ้านทุกเรื่องตาม จปฐ. 4) ข้าราชการที่มีความรู้ และสามารถถ่ายทอดความรู้นี้ไปให้วิทยากรระดับล่างได้และ ระดับล่างสุดจะต้องถ่ายทอดความรู้เรื่อง จปฐ. ให้แก่ชาวบ้านได้จนกระทั่งชาวบ้านสามารถปฏิบัติได้ ตามแนวคิด จปฐ. 5) เมื่อชาวบ้านทําแผนระดับชุมชนแล้ว เป็นหน้าที่ของข้าราชการทุกกระทรวงที่จะต้อง ให้การสนับสนุน กระตุ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ชาวบ้านเกิดการปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแผน ที่วางไว้ 6) ข้าราชการควรจะต้องมีการออกนิเทศงาน ติดตาม ช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้กับ ชาวบ้านอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ 7) ข้าราชการควรมีการประชุมร่วมกันทุกกระทรวงเป็นประจํา และมีการฟื้นฟูความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนํา จปฐ. ไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต Goal สภาพปจจุบัน บรรลุ จปฐ. ป 2559 MBO 1. เปนเปาหมาย 2. เปนตัวชี้วัด 3. เปนขอมูล สามารถใชประกอบการวางแผน 4. เปนกระบวนการ การเก็บขอมูล/วิเคราะห/หาแนวทางแกไข/วางแผน/ประเมินผล เปนเปาหมายที่สามารถวัดไดชัดเจน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 16
  • 25. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 17 2. บทบาทขององค์กรประชาชน องค์กรประชาชนในระดับหมู่บ้านซึ่งอาจจะเป็นกรรมการชุมชน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน อสม. ฯลฯ ซึ่งจะมีบทบาทในการนํา จปฐ. ไปใช้เป็นเครื่องชี้วัดการพัฒนานั้นจะต้องมีบทบาทโดย ละเอียด ดังนี้ 1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถ นําไปปฎิบัติในหมู่บ้านตนเองได้ 2) จะต้องถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจนี้ไปยังชาวบ้านอื่น ๆ หรือชุมชนใกล้เคียงได้ 3) นําผลสํารวจ จปฐ. มาวางแผนพัฒนาชุมชนแล้วปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ได้อย่างจริงจัง 4) มีการระดมทรัพยากรในท้องถิ่นตนเองมาใช้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งเรื่อง กําลังคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ 5) มีการติดตามนิเทศ ช่วยเหลือกันเองเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ภายในชุมชน หรือชุมชนใกล้เคียง ถ้าเกินกําลังที่จะแก้ไขกันได้เอง ให้ติดต่อประสานงานกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น หรือส่วนราชการอื่น ๆ 6) มีการฟื้นฟูความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็น ประจํา 7) ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนโดยการสํารวจ จปฐ. ซ้ําทุกปี เพื่อทําให้ ทราบว่าระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม่อย่างไร 3. บทบาทองค์กรเอกชน (NGO) การพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากในส่วนของข้าราชการและประชาชน จะประสาน ช่วยเหลือกันแล้ว ยังมีองค์กรเอกชน (NGO) อีกจํานวนมาก ที่จะเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือการพัฒนา คุณภาพชีวิตได้ ดังนี้ 1) ช่วยเรื่องเงินทุน เมื่อชาวบ้านขาดเงินทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์กรเอกชน อาจจะช่วยหาเงินช่วยเหลือจากแหล่งต่าง ๆ ได้ 2) ช่วยเรื่องกําลังคน มีองค์กรเอกชนจํานวนมากที่ได้ส่งนักพัฒนา หรืออาสาสมัคร เข้าไป ช่วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทําให้ชาวบ้านมีกําลังคนเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยคิด ช่วยทําการ พัฒนาคุณภาพชีวิต 3) ช่วยเรื่องความรู้วิชาการต่าง ๆ มีองค์กรเอกชนจํานวนมากที่มีบทบาทเกี่ยวกับ การให้ ความรู้ความเข้าใจประชาชน องค์กรเอกชนเหล่านี้จึงสามารถช่วยได้อย่างมาก 4) การประชาสัมพันธ์ แนวความคิดเรื่อง จปฐ. จําเป็นต้องมีการสื่อความหมายถ่ายทอด แนวความคิดเป็นเอกภาพและความมีพลังในการทํางานพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์กรเอกชนทั้งหลายที่มี บทบาทด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ จึงจําเป็นต้องช่วยในเรื่องเหล่านี้อย่างมาก ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสาร เอกสาร ฯลฯ รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 17
  • 27. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 19 2. จํานวนประชากร มีจํานวน 1,868,318 คน ปี ชาย หญิง รวม คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 2555 703,865 48.93 734,776 51.07 1,438,641 16.57 2556 703,223 48.80 737,781 51.20 1,441,004 16.60 2557 961,943 48.66 1,014,904 51.34 1,976,847 22.77 2558 955,148 48.78 1,002,853 51.22 1,958,001 22.55 2559 912,517 48.84 955,801 51.16 1,868,318 21.52 รวม 4,236,696 48.79 4,446,115 51.21 8,682,811 100 จังหวัดนครราชสีมามีจํานวนประชากรรวมย้อนหลัง 5 ปี เป็นเพศหญิงร้อยละ 51.21 และ เพศชาย ร้อยละ 48.79 จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรในจังหวัดรวมย้อนหลัง 5 ปี พบว่า จํานวนประชากรเพศหญิงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น มากกว่าเพศชาย อําเภอที่มีประชากรมากที่สุด 3 ลําดับแรก ได้แก่ 1. อําเภอเมืองนครราชสีมา จํานวนประชากร 260,332 คน จํานวน 107,563 ครัวเรือน 2. อําเภอปากช่อง จํานวนประชากร 124759 คน จํานวน 46,465 ครัวเรือน 3. อําเภอโนนสูง จํานวนประชากร 100,585 คน จํานวน 29,534 ครัวเรือน อําเภอที่มีประชากรน้อยที่สุด 3 ลําดับแรก ได้แก่ 1. อําเภอบ้านเหลื่อม จํานวนประชากร 15,746 คน จํานวน 5,179 ครัวเรือน 2. อําเภอเทพารักษ์ จํานวนประชากร 17,229 คน จํานวน 5,540 ครัวเรือน 3. อําเภอสีดา จํานวนประชากร 17,243 คน จํานวน 5,676 ครัวเรือน 48.93 48.80 48.66 48.78 48.84 51.07 51.20 51.34 51.22 51.16 47.00 47.50 48.00 48.50 49.00 49.50 50.00 50.50 51.00 51.50 52.00 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ร้อยละ แผนภูมิแสดงแนวโน้มอัตราส่วนของประชากร ชาย หญิง รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 19
  • 28. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 20 3. ช่วงอายุของประชากร 3.1 ช่วงอายุของประชากร จําแนกตามช่วงอายุ แบบ 10 ช่วง ช่วงอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ น้อยกว่า 1 ปีเต็ม 3,001 0.33 2,963 0.31 5,964 0.32 1 ปีเต็ม - 2 ปี 12,273 1.34 11,753 1.23 24,026 1.29 3 ปีเต็ม - 5 ปี 27,227 2.98 25,701 2.69 52,928 2.83 6 ปีเต็ม - 11 ปี 66,563 7.29 62,925 6.58 129,488 6.93 12 ปีเต็ม - 14 ปี 35,895 3.93 34,511 3.61 70,406 3.77 15 ปีเต็ม - 17 ปี 36,447 3.99 34,995 3.66 71,442 3.82 18 ปีเต็ม - 25 ปี 99,829 10.94 95,976 10.04 195,805 10.48 26 ปีเต็ม - 49 ปี 331,489 36.33 347,355 36.34 678,844 36.33 50 ปีเต็ม - 60 ปีเต็ม 153,971 16.87 167,346 17.51 321,317 17.20 มากกว่า 60 ปีเต็ม ขึ้นไป 145,822 15.98 172,276 18.02 318,098 17.03 รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100 ประชากรส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 26 – 49 ปี ร้อยละ 36.33 แยกเป็นเพศชาย ร้อยละ 36.33 เพศหญิง ร้อยละ 36.34 รองลงมา มีช่วงอายุ 50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม ร้อยละ 17.20 อายุ 60 ปีเต็มขึ้นไป ร้อยละ 17.03 อายุ 18 ปีเต็ม – 25 ปี ร้อยละ 10.48 และอายุ 6 ปีเต็ม – 11 ปี ร้อยละ 6.93 สรุปได้ว่า ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมา มากกว่า ร้อยละ 70.56 มีอายุตั้งแต่ 26 ปีเต็มขึ้นไป 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ร้อยละ แผนภูมิร้อยละของประชากรตามช่วงอายุ ชาย หญิง รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 20
  • 29. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 21 3.2 ช่วงอายุของประชากร จําแนกตามช่วงอายุ แบบ 20 ช่วง ช่วงอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 101 ปีขึ้นไป 56 0.01 113 0.01 169 0.01 96 – 100 ปี 314 0.03 600 0.06 914 0.05 91 – 95 ปี 1,394 0.15 2,428 0.25 3,822 0.20 86 – 90 ปี 5,009 0.55 7,843 0.82 12,852 0.69 81 – 85 ปี 10,542 1.16 14,613 1.53 25,155 1.35 76 – 80 ปี 18,850 2.07 23,997 2.51 42,847 2.29 71 – 75 ปี 24,190 2.65 27,919 2.92 52,109 2.79 66 – 70 ปี 36,319 3.98 40,891 4.28 77,210 4.13 61 – 65 ปี 49,148 5.39 53,872 5.64 103,020 5.51 56 – 60 ปี 63,860 7.00 69,865 7.31 133,725 7.16 51 – 55 ปี 74,147 8.13 80,108 8.38 154,255 8.26 46 – 50 ปี 79,345 8.70 86,146 9.01 165,491 8.86 41 – 45 ปี 76,887 8.43 82,316 8.61 159,203 8.52 36 – 40 ปี 71,977 7.89 75,193 7.87 147,170 7.88 31 – 35 ปี 62,593 6.86 64,481 6.75 127,074 6.80 26 – 30 ปี 56,651 6.21 56,592 5.92 133,243 6.06 21 – 25 ปี 60,958 6.68 58,341 6.10 119,299 6.39 16 – 20 ปี 63,094 6.91 60,691 6.35 123,785 6.63 11 – 15 ปี 59,976 6.57 57,689 6.04 117,665 6.30 6 – 10 ปี 54,706 6.00 51,686 5.41 106,392 5.69 1 – 5 ปี 39,500 4.33 37,454 3.92 76,954 4.12 น้อยกว่า 1 ปี 3,001 0.33 2,963 0.31 5,964 0.32 รวม 912,517 100.00 955,801 100.00 1,868,318 100.00 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 21
  • 30. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 22 4. ประชากร จําแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา เพศ รวม (คน) ร้อยละ ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ ไม่เคยศึกษา 26,852 2.94 32,801 3.43 59,653 3.19 อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก 30,969 3.39 29,240 3.06 60,209 3.22 ต่ํากว่าชั้นประถมศึกษา 39,687 4.35 42,894 4.49 82,581 4.42 จบชั้นประถมศึกษา (ป. 4, ป. 7, ป. 6) 416,832 45.7 445,361 46.6 862,193 46.15 มัธยมศึกษาตอนต้น (มศ. 1-3, ม. 1-3) 166,180 18.21 149,217 15.61 315,397 16.88 มัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ. 4-5, ม. 4-6, ปวช.) 136,418 14.95 138,200 14.46 274,618 14.70 อนุปริญญา หรือเทียบเท่า 36,268 3.97 31,525 3.30 67,793 3.63 ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 55,092 6.04 81,552 8.53 136,644 7.31 สูงกว่าปริญญาตรี 4,219 0.46 5,011 0.52 9,230 0.49 รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100 ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 46.15 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6) รองลงมา ร้อยละ 16.88 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (มศ.1-3, ม.1-3) และร้อยละ 14.70 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-5, ม.4-6, ปวช.) ตามลําดับ มีเพียงร้อยละ 7.80 ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งหาก พิจารณาเปรียบเทียบระดับการศึกษาระหว่างชายและหญิง จะพบว่าในระดับปริญญาตรีขึ้นไป ผู้หญิง มีโอกาสทางการศึกษามากกว่าผู้ชาย 3.19 3.22 4.42 46.15 16.88 14.7 3.63 7.31 0.49 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบระดับการศึกษา รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 22
  • 31. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 23 5. ประชากร จําแนกตามอาชีพ ประเภทอาชีพ เพศ รวม (คน) ร้อยละ ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ เกษตรกรรม - ทํานา 189,189 20.73 198,853 20.8 388,042 20.77 เกษตรกรรม - ทําไร่ 59,464 6.52 54,669 5.72 114,133 6.11 เกษตรกรรม - ทําสวน 3,520 0.39 3,451 0.36 6,971 0.37 เกษตรกรรม - ประมง 263 0.03 158 0.02 421 0.02 เกษตรกรรม - ปศุสัตว์ 1,986 0.22 1,489 0.16 3,475 0.19 รับราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 34,089 3.74 27,551 2.88 61,640 3.30 พนักงานรัฐวิสาหกิจ 3,361 0.37 2,875 0.30 6,236 0.33 พนักงานบริษัท 20,936 2.29 22,950 2.40 43,886 2.35 รับจ้างทั่วไป 303,179 33.22 280,789 29.38 583,968 31.26 ค้าขาย 38,086 4.17 64,359 6.73 102,445 5.48 ธุรกิจส่วนตัว 16,005 1.75 15,188 1.59 31,193 1.67 อาชีพอื่น (นอกเหนือที่กล่าวแล้ว) 17,142 1.88 31,421 3.29 48,563 2.60 กําลังศึกษา 180,678 19.8 186,431 19.51 367,109 19.65 ไม่มีอาชีพ 44,619 4.89 65,617 6.87 110,236 5.90 รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100 20.77 6.11 0.37 0.02 0.19 3.30 0.33 2.35 31.26 5.48 1.67 2.60 19.65 5.90 0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบการประกอบอาชีพ รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 23
  • 32. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 24 ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 31.26 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป รองลงมา ร้อยละ 20.77 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม-ทํานา และร้อยละ 19.65 เป็นผู้ที่อยู่ในวัยกําลังศึกษา และไม่ได้ประกอบอาชีพ ตามลําดับ ซึ่งมีเพียงร้อยละ 5.90 ที่ไม่ได้ประกอบอาชีพ 6. ประชากร จําแนกตามศาสนา ศาสนา เพศ รวม (คน) ร้อยละ ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ พุทธ 909,926 99.72 953,036 99.71 1,862,962 99.71 คริสต์ 2,043 0.22 2,188 0.23 4,231 0.23 อิสลาม 386 0.04 381 0.04 767 0.04 ซิกส์ 11 - 16 - 27 - ฮินดู 8 - 18 - 26 - อื่นๆ 143 0.02 162 0.02 305 0.02 รวม 912,517 100 955,801 100 1,868,318 100 ประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 99.71 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา ร้อยละ 0.23 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.04 นับถือศาสนาอิสลาม ตามลําดับ 99.71 0.23 0.04 0 0 0.02 0 20 40 60 80 100 120 พุทธ คริสต์ อิสลาม ซิกส์ ฮินดู อื่นๆ ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบการนับถือศาสนา รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 24
  • 34. [ พ ิ ม พ  ท ี ่ อ ย ู  บ ร ิ ษ ั ท ] หนา 26 หมวดที่ 2 : มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด จํานวน ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ 8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และ บ ้านมีสภาพคงทนถาวร 639462 คร. 634,890 99.29 4572 0.71 9. ครัวเรือนมีนํ้าสะอาดสําหรับดื่มและบริโภค เพียงพอตลอดปี 639462 คร. 635,111 99.32 4351 0.68 10. ครัวเรือนมีนํ้าใช ้เพียงพอตลอดปี 639462 คร. 634,929 99.29 4533 0.71 11. ครัวเรือนมีการจัดบ ้านเรือนเป็นระเบียบ เรียบร ้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ 639462 คร. 634,810 99.27 4,652 0.73 12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ 639462 คร. 632,680 98.94 6,782 1.06 13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี 639462 คร. 634,992 99.30 4,470 0.70 14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน 639462 คร. 635,269 99.34 4,193 0.66 15. ครอบครัวมีความอบอุ่น 639462 คร. 635,095 99.32 4367 0.68 ผลการจัดเก็บข้อมูล ปี 2559 หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย จํานวน 8 ตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ์มากที่สุด 3 ลําดับแรก คือ 1) ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ร้อยละ 1.06 2) ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 0.73 3) ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ร้อยละ 0.71 ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ์น้อยที่สุด 3 ลําดับแรก คือ 1) ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 0.66 2) ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี ร้อยละ 0.68 3) ครอบครัวมีความอบอุ่น ร้อยละ 0.68 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของประชาชนและทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะเจ้าภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม สํานักนายกรัฐมนตรี และสํานักงานตํารวจแห่งชาติ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2559 26