SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน
อาหารไทย 4 ภาค
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
1. นางสาว ฐานิตา ไชยมงคล
เลขที่ 5 ชั้น ม. 6 ห้อง 12
2. นางสาว ปริม ม้วนหน่อ
เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ
ศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ฐานิตา ไชยมงคล เลขที่ 5
2. นางสาว ปริม ม้วนหน่อ เลขที่ 4
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตาม
หัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาหารไทย 4 ภาค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Amazing Food in Thailand
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อการสอน
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
นางสาว ฐานิตา ไชยมงคล
นางสาว ปริม ม้วนหน่อ
ระยะเวลาดำาเนินงาน
1 ธันวาคม – 19 ธันวาคม
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด
และเหตุผล ของการทำาโครงงาน)
ปัจจุบันนี้อาหารไทยกำาลังได้รับความนิยมอย่างสูงและแพร่
หลายไปสู่ประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว เอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึง
ความเป็นอาหารไทยที่ชัดเจนก็คือ กลิ่นฉุนและรสชาติที่เผ็ดร้อน
และที่สำาคัญก็คือการนำาสมุนไพรและเครื่องเทศมาเป็นส่วนผสมใน
การปรุง อาหารไทยในยุคปัจจุบัน ได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรม
ทางด้านอาหารจากนานาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศในซีกโลก
ตะวันออกหรือตะวันตก โดยมีการนำาวัตถุดิบและ กรรมวิธีในการ
ปรุงอาหารจากประเทศต่างๆ มาประยุกต์ผสมผสานกับของดั้งเดิม
เพื่อเกิดอาหารที่มีรสชาติ และรูปลักษณ์ใหม่ๆ ที่แตกต่างไปจาก
อาหารไทยในรูปแบบเดิมอย่างชัดเจนการนำาอาหารไทยมาประยุกต์
เข้ากับอาหารต่างชาตินี้เองที่ทำาให้เกิดอาหารไทยลูกผสมที่ได้รับ
ค่อนข้างกว้างขวางในหมู่ผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
3
1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้ต้นตำาหรับอาหารไทย
2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมการกินของไทย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัด
ของการทำาโครงงาน)
ยกตัวอย่างอาหารของแต่ละภาค ภาคล่ะ 2 อย่าง พร้อมบอกวิธี
ทำา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการ
ทำาโครงงาน)
อาหารไทยมีจุดกำาเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน จากการ
ศึกษาของ อาจารย์กอบแก้ว นาจพินิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต เรื่องความเป็นมาของอาหารไทยยุคต่างๆ สรุปได้ดังนี้
สมัยสุโขทัย
อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก และ
วรรณคดี สำา คัญคือ ไตรภูมิพระร่วงของพญาลิไท ที่ได้กล่าวถึง
อาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าวเป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกับกับเนื้อ
สัตว์ ที่ส่วนใหญ่ได้มาจากปลา มีเนื้อสัตว์อื่นบ้าง การปรุงอาหารได้
ปรากฏคำาว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระร่วงที่เป็นที่มาของคำาว่า ข้าว
หม้อแกงหม้อ ผักที่กล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและนำ้า
เต้า ส่วนอาหารหวานก็ใช้วัตถุดิบพื้นบ้าน เช่น ข้าวตอกและนำ้า
ผึ้ง ส่วนหนึ่งนิยมกินผลไม้แทนอาหารหวาน
สมัยอยุธยา
สมัยนี้ถือว่าเป็นยุคทองของไทย ได้มีการติดต่อกับชาวต่าง
ประเทศมากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและตะวันออก จากบันทึกเอกสาร
ของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยังคงมี
ปลาเป็นหลัก มีต้ม แกง และคาดว่ามีการใช้นำ้ามันในการประกอบ
อาหารแต่เป็นนำ้ามันจากมะพร้าวและกะทิมากกว่าไขมันหรือนำ้ามัน
จากสัตว์มาอาหารอยุธยามีเช่น หนอนกะทิ วิธีทำาคือ ตัดต้นมะพร้าว
แล้วเอาหนอนที่อยู่ในต้นนั้นมาให้กินกะทิแล้วก็นำามาทอดก็กลาย
เป็นอาหารชาววังขึ้น คนไทยสมัยนี้มีการถนอมอาหาร เช่นการนำา
ไปตากแห้ง หรือทำาเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภทเครื่องจิ้ม เช่นนำ้า
พริกกะปิ นิยมบริโภคสัตว์นำ้ามากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่
ไม่นิยมนำามาฆ่าเพื่อใช้เป็นอาหาร ได้มีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่
ใช้เครื่องเทศ เช่น แกงที่ใส่หัวหอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และ
4
เครื่องเทศแรงๆ ที่คาดว่านำามาใช้ประกอบอาหารเพื่อดับกลิ่นคาว
ของเนื้อปลา หลักฐานจากการบันทึกของบาทหลวงชาวต่างชาติที่
แสดงให้เห็นว่าอาหารของชาติต่าง ๆ เริ่มเข้ามามากขึ้นในสมเด็จ
พระนารายณ์ เช่น ญี่ปุ่น โปรตุเกส เหล้าองุ่นจากสเปนเปอร์เซีย แล
ะฝรั่งเศส สำาหรับอิทธิพลของอาหารจีนนั้นคาดว่าเริ่มมีมากขึ้นใน
ช่วงยุคกรุงศรีอยุธยาตอนปลายที่ไทยตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าอาหารไทยในสมัยอยุธยา ได้รับเอาวัฒนธรรม
จากอาหารต่างชาติ โดยผ่านทางการมีสัมพันธไมตรีทั้งทางการทูต
และทางการค้ากับประเทศต่างๆ และจากหลักฐานที่ปรากฏทาง
ประวัติศาสตร์ว่าอาหารต่างชาติส่วนใหญ่แพร่หลายอยู่ในราชสำานัก
ต่อมาจึงกระจายสู่ประชาชน และกลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไป
ในที่สุด
สมัยธนบุรี
จากหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือแม่ครัวหัวป่าก์ ซึ่งเป็นตำารา
การทำากับข้าวเล่มที่ 2 ของไทย ของท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกร
วงษ์ พบความต่อเนื่องของวัฒนธรรมอาหารไทยจากกรุงสุโขทัยมา
ถึงสมัยอยุธยา และสมัยกรุงธนบุรี และยังเชื่อว่าเส้นทางอาหารไทย
คงจะเชื่อมจากกรุงธนบุรีไปยังสมัยรัตนโกสินทร์ โดยผ่านทางหน้าที่
ราชการและสังคมเครือญาติ และอาหารไทยสมัยกรุงธนบุรีน่าจะ
คล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา แต่ที่พิเศษเพิ่มเติมคือมีอาหารประจำาชาติ
จีน
สมัยรัตนโกสินทร์
การศึกษาความเป็นมาของอาหารไทยในยุครัตนโกสินทร์นี้ได้
จำาแนกตามยุคสมัยที่นักประวัติศาสตร์ได้กำาหนดไว้ คือ ยุคที่ 1
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 3 และยุคที่ 2 ตั้งแต่สมัย
รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ดังนี้
พ.ศ. 2325–2394
อาหารไทยในยุคนี้เป็นลักษณะเดียวกันกับสมัยธนบุรี แต่มี
อาหารไทยเพิ่มขึ้นอีก 1 ประเภท คือ นอกจากมีอาหารคาว อาหาร
หวานแล้วยังมีอาหารว่างเพิ่มขึ้น ในช่วงนี้อาหารไทยได้รับอิทธิพล
จากวัฒนธรรมอาหารของประเทศจีนมากขึ้น และมีการปรับเปลี่ยน
เป็นอาหารไทย ในที่สุด จากจดหมายความทรงจำาของกรมหลวงนริ
นทรเทวี ที่กล่าวถึงเครื่องตั้งสำารับคาวหวานของพระสงฆ์ ในงาน
สมโภชน์ พระพุทธมณีรัตนมหาปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ได้แสดง
5
ให้เห็นว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผัก นำ้า
พริก ปลาแห้ง หน่อไม้ผัด แล้วยังมีอาหารที่ปรุงด้วยเครื่องเทศแบบ
อิสลาม และมีอาหารจีนโดยสังเกตจากการใช้หมูเป็นส่วนประกอบ
เนื่องจากหมูเป็นอาหารที่คนไทยไม่นิยม แต่คนจีนนิยม
บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ของพระบาท
สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงกล่าวถึงอาหารคาวและ
อาหารหวานหลายชนิด ซึ่งได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราช
สำานักที่ชัดเจนที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นลักษณะของอาหารไทยในราช
สำานักที่มีการปรุงกลิ่น และรสอย่างประณีต และให้ความสำาคัญของ
รสชาติอาหารมากเป็นพิเศษ และถือว่าเป็นยุคสมัยที่มีศิลปะการ
ประกอบอาหารที่ค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุด ทั้งรส กลิ่น สี และการ
ตกแต่งให้สวยงามรวมทั้งมีการพัฒนาอาหารนานาชาติให้เป็น
อาหารไทย
จากบทพระราชนิพนธ์ทำาให้ได้รายละเอียดที่เกี่ยวกับการแบ่ง
ประเภทของอาหารคาวหรือกับข้าวและอาหารว่าง ส่วนทีเป็นอาหาร
คาวได้แก่ แกงชนิดต่างๆ เครื่องจิ้ม ยำาต่างๆ สำาหรับอาหารว่างส่วน
ใหญ่เป็นอาหารว่างคาว ได้แก่ หมูแนม ล่าเตียง หรุ่ม รังนก ส่วน
อาหารหวานส่วนใหญ่เป็นอาหารที่ทำาด้วยแป้งและไข่เป็นส่วนใหญ่
มีขนมที่มีลักษณะอบกรอบ เช่น ขนมผิง ขนมลำาเจียก และมีขนมที่มี
นำ้าหวานและกะทิเจืออยู่ด้วย ได้แก่ซ่าหริ่ม บัวลอย เป็นต้น
นอกจากนี้ วรรณคดีไทย เรื่องขุนช้างขุนแผน ซึ่งถือว่าเป็น
วรรณคดีที่สะท้อนวิถีชีวิตของคนในยุคนั้นอย่างมากรวมทั้งเรื่อง
อาหารการกินของชาวบ้าน พบว่ามีความนิยมขนมจีนนำ้ายา และมี
การกินข้าวเป็นอาหารหลัก ร่วมกับกับข้าวประเภทต่างๆ ได้แก่ แกง
ต้ม ยำา และคั่ว อาหารมี ความหลากหลายมากขึ้นทั้งชนิดของ
อาหารคาว และอาหารหวาน
พ.ศ. 2394–ปัจจุบัน
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างมาก และมี
การตั้งโรงพิมพ์แห่งแรกในประเทศไทย ดังนั้น ตำารับอาหารการกิน
ของไทยเริ่มมีการบันทึกมากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น
ในบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน จดหมายเหตุ เสด็จประพาสต้น
เป็นต้น และยังมีบันทึกต่างๆ โดยผ่านการบอกเล่าสืบทอดทางเครือ
ญาติ และบันทึกที่เป็นทางการอื่น ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ได้สะท้อนให้
เห็นลักษณะของอาหารไทย ที่มีความหลากหลายทั้งที่เป็น กับข้าว
6
อาหารจานเดียว อาหารว่าง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ ทั้ง
ที่เป็นวิธีปรุงของราชสำานัก และวิธีปรุงแบบชาวบ้านที่สืบทอดมา
จนถึงปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าอาหารไทยบางชนิดในปัจจุบัน
ได้มีวิธีการปรุงหรือส่วนประกอบของอาหารผิดเพี้ยนไปจากของ
ดั้งเดิม จึงทำาให้รสชาติของอาหารไม่ใช่ตำารับดั้งเดิม และขาดความ
ประณีตที่น่าจะถือว่าเป็นเอกลักษณ์ที่สำาคัญของอาหาร ไทย
วิธีดำาเนินงาน
แนวทางการดำาเนินงาน
1.เลือกโครงงานของคนใดคนหนึ่ง
2.รวบรวมข้อมูล
3.จัดทำารูปเล่ม
4.นำาเสนองาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.โน้ตบุ๊ก
2.เครื่องปริ้นเตอร์
3.กระดาษ A4
งบประมาณ
100 บาท
ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน
ลำา
ดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ
ผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครง
งาน
/ ฐานิตา
2 ศึกษาและ
ค้นคว้าข้อมูล
/ ฐานิ
ตา,ปริ
ม
3 จัดทำาโครง
ร่างงาน
/ ฐานิตา
7
4 ปฏิบัติการ
สร้างโครงงาน
/ ปริม
5 ปรับปรุง
ทดสอบ
/ ฐานิตา
6 การทำาเอกสาร
รายงาน
/ ฐานิตา
7 ประเมินผล
งาน
/ ปริม
8 นำาเสนอโครง
งาน
/ ฐานิ
ตา,ปริ
ม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการ
ทำาโครงงาน)
1.ได้รู้เกี่ยวกับอาหารในแต่ละภาค
2.ได้รู้ถึงวัฒนธรรมการกินของแต่ล่ะภาค
สถานที่ดำาเนินการ
17/5 ถ.สนามกีฬา ซ.2 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คหกรรม)
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำา
โครงงาน)
http://sareena07.blogspot.com/2014/02/blog-
post.html

More Related Content

Similar to 2558 project

โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอม
fearlo kung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Warittha Nokmeerod
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
Suwanan Thipphimwong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Supharat Rungsri
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
ChutimaKerdpom
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
becoolZ
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Nayapaporn Jirajanjarus
 
2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3
Gankorn Inpia
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
Gankorn Inpia
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
orrayaKawichai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Panpreeya Kawturn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Apeechanika
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Preawpraow Klinhomm
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
paifahnutya
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Gina Tatiana
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
2559 project3334
2559 project33342559 project3334
2559 project3334
Sita_buf
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
Thidarat Taetoi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)jjrrwnd
 

Similar to 2558 project (20)

โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
2559 project3334
2559 project33342559 project3334
2559 project3334
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ใหม่)
 

2558 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน อาหารไทย 4 ภาค ชื่อผู้ทำาโครงงาน 1. นางสาว ฐานิตา ไชยมงคล เลขที่ 5 ชั้น ม. 6 ห้อง 12 2. นางสาว ปริม ม้วนหน่อ เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ ศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ฐานิตา ไชยมงคล เลขที่ 5 2. นางสาว ปริม ม้วนหน่อ เลขที่ 4 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตาม หัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาหารไทย 4 ภาค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Amazing Food in Thailand ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อการสอน ชื่อผู้ทำาโครงงาน นางสาว ฐานิตา ไชยมงคล นางสาว ปริม ม้วนหน่อ ระยะเวลาดำาเนินงาน 1 ธันวาคม – 19 ธันวาคม ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำาโครงงาน) ปัจจุบันนี้อาหารไทยกำาลังได้รับความนิยมอย่างสูงและแพร่ หลายไปสู่ประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว เอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึง ความเป็นอาหารไทยที่ชัดเจนก็คือ กลิ่นฉุนและรสชาติที่เผ็ดร้อน และที่สำาคัญก็คือการนำาสมุนไพรและเครื่องเทศมาเป็นส่วนผสมใน การปรุง อาหารไทยในยุคปัจจุบัน ได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรม ทางด้านอาหารจากนานาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศในซีกโลก ตะวันออกหรือตะวันตก โดยมีการนำาวัตถุดิบและ กรรมวิธีในการ ปรุงอาหารจากประเทศต่างๆ มาประยุกต์ผสมผสานกับของดั้งเดิม เพื่อเกิดอาหารที่มีรสชาติ และรูปลักษณ์ใหม่ๆ ที่แตกต่างไปจาก อาหารไทยในรูปแบบเดิมอย่างชัดเจนการนำาอาหารไทยมาประยุกต์ เข้ากับอาหารต่างชาตินี้เองที่ทำาให้เกิดอาหารไทยลูกผสมที่ได้รับ ค่อนข้างกว้างขวางในหมู่ผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
  • 3. 3 1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้ต้นตำาหรับอาหารไทย 2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมการกินของไทย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัด ของการทำาโครงงาน) ยกตัวอย่างอาหารของแต่ละภาค ภาคล่ะ 2 อย่าง พร้อมบอกวิธี ทำา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการ ทำาโครงงาน) อาหารไทยมีจุดกำาเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน จากการ ศึกษาของ อาจารย์กอบแก้ว นาจพินิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต เรื่องความเป็นมาของอาหารไทยยุคต่างๆ สรุปได้ดังนี้ สมัยสุโขทัย อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก และ วรรณคดี สำา คัญคือ ไตรภูมิพระร่วงของพญาลิไท ที่ได้กล่าวถึง อาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าวเป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกับกับเนื้อ สัตว์ ที่ส่วนใหญ่ได้มาจากปลา มีเนื้อสัตว์อื่นบ้าง การปรุงอาหารได้ ปรากฏคำาว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระร่วงที่เป็นที่มาของคำาว่า ข้าว หม้อแกงหม้อ ผักที่กล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและนำ้า เต้า ส่วนอาหารหวานก็ใช้วัตถุดิบพื้นบ้าน เช่น ข้าวตอกและนำ้า ผึ้ง ส่วนหนึ่งนิยมกินผลไม้แทนอาหารหวาน สมัยอยุธยา สมัยนี้ถือว่าเป็นยุคทองของไทย ได้มีการติดต่อกับชาวต่าง ประเทศมากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและตะวันออก จากบันทึกเอกสาร ของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยังคงมี ปลาเป็นหลัก มีต้ม แกง และคาดว่ามีการใช้นำ้ามันในการประกอบ อาหารแต่เป็นนำ้ามันจากมะพร้าวและกะทิมากกว่าไขมันหรือนำ้ามัน จากสัตว์มาอาหารอยุธยามีเช่น หนอนกะทิ วิธีทำาคือ ตัดต้นมะพร้าว แล้วเอาหนอนที่อยู่ในต้นนั้นมาให้กินกะทิแล้วก็นำามาทอดก็กลาย เป็นอาหารชาววังขึ้น คนไทยสมัยนี้มีการถนอมอาหาร เช่นการนำา ไปตากแห้ง หรือทำาเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภทเครื่องจิ้ม เช่นนำ้า พริกกะปิ นิยมบริโภคสัตว์นำ้ามากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ ไม่นิยมนำามาฆ่าเพื่อใช้เป็นอาหาร ได้มีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่ ใช้เครื่องเทศ เช่น แกงที่ใส่หัวหอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และ
  • 4. 4 เครื่องเทศแรงๆ ที่คาดว่านำามาใช้ประกอบอาหารเพื่อดับกลิ่นคาว ของเนื้อปลา หลักฐานจากการบันทึกของบาทหลวงชาวต่างชาติที่ แสดงให้เห็นว่าอาหารของชาติต่าง ๆ เริ่มเข้ามามากขึ้นในสมเด็จ พระนารายณ์ เช่น ญี่ปุ่น โปรตุเกส เหล้าองุ่นจากสเปนเปอร์เซีย แล ะฝรั่งเศส สำาหรับอิทธิพลของอาหารจีนนั้นคาดว่าเริ่มมีมากขึ้นใน ช่วงยุคกรุงศรีอยุธยาตอนปลายที่ไทยตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าอาหารไทยในสมัยอยุธยา ได้รับเอาวัฒนธรรม จากอาหารต่างชาติ โดยผ่านทางการมีสัมพันธไมตรีทั้งทางการทูต และทางการค้ากับประเทศต่างๆ และจากหลักฐานที่ปรากฏทาง ประวัติศาสตร์ว่าอาหารต่างชาติส่วนใหญ่แพร่หลายอยู่ในราชสำานัก ต่อมาจึงกระจายสู่ประชาชน และกลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไป ในที่สุด สมัยธนบุรี จากหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือแม่ครัวหัวป่าก์ ซึ่งเป็นตำารา การทำากับข้าวเล่มที่ 2 ของไทย ของท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกร วงษ์ พบความต่อเนื่องของวัฒนธรรมอาหารไทยจากกรุงสุโขทัยมา ถึงสมัยอยุธยา และสมัยกรุงธนบุรี และยังเชื่อว่าเส้นทางอาหารไทย คงจะเชื่อมจากกรุงธนบุรีไปยังสมัยรัตนโกสินทร์ โดยผ่านทางหน้าที่ ราชการและสังคมเครือญาติ และอาหารไทยสมัยกรุงธนบุรีน่าจะ คล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา แต่ที่พิเศษเพิ่มเติมคือมีอาหารประจำาชาติ จีน สมัยรัตนโกสินทร์ การศึกษาความเป็นมาของอาหารไทยในยุครัตนโกสินทร์นี้ได้ จำาแนกตามยุคสมัยที่นักประวัติศาสตร์ได้กำาหนดไว้ คือ ยุคที่ 1 ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 3 และยุคที่ 2 ตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ดังนี้ พ.ศ. 2325–2394 อาหารไทยในยุคนี้เป็นลักษณะเดียวกันกับสมัยธนบุรี แต่มี อาหารไทยเพิ่มขึ้นอีก 1 ประเภท คือ นอกจากมีอาหารคาว อาหาร หวานแล้วยังมีอาหารว่างเพิ่มขึ้น ในช่วงนี้อาหารไทยได้รับอิทธิพล จากวัฒนธรรมอาหารของประเทศจีนมากขึ้น และมีการปรับเปลี่ยน เป็นอาหารไทย ในที่สุด จากจดหมายความทรงจำาของกรมหลวงนริ นทรเทวี ที่กล่าวถึงเครื่องตั้งสำารับคาวหวานของพระสงฆ์ ในงาน สมโภชน์ พระพุทธมณีรัตนมหาปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ได้แสดง
  • 5. 5 ให้เห็นว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผัก นำ้า พริก ปลาแห้ง หน่อไม้ผัด แล้วยังมีอาหารที่ปรุงด้วยเครื่องเทศแบบ อิสลาม และมีอาหารจีนโดยสังเกตจากการใช้หมูเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากหมูเป็นอาหารที่คนไทยไม่นิยม แต่คนจีนนิยม บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน ของพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงกล่าวถึงอาหารคาวและ อาหารหวานหลายชนิด ซึ่งได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราช สำานักที่ชัดเจนที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นลักษณะของอาหารไทยในราช สำานักที่มีการปรุงกลิ่น และรสอย่างประณีต และให้ความสำาคัญของ รสชาติอาหารมากเป็นพิเศษ และถือว่าเป็นยุคสมัยที่มีศิลปะการ ประกอบอาหารที่ค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุด ทั้งรส กลิ่น สี และการ ตกแต่งให้สวยงามรวมทั้งมีการพัฒนาอาหารนานาชาติให้เป็น อาหารไทย จากบทพระราชนิพนธ์ทำาให้ได้รายละเอียดที่เกี่ยวกับการแบ่ง ประเภทของอาหารคาวหรือกับข้าวและอาหารว่าง ส่วนทีเป็นอาหาร คาวได้แก่ แกงชนิดต่างๆ เครื่องจิ้ม ยำาต่างๆ สำาหรับอาหารว่างส่วน ใหญ่เป็นอาหารว่างคาว ได้แก่ หมูแนม ล่าเตียง หรุ่ม รังนก ส่วน อาหารหวานส่วนใหญ่เป็นอาหารที่ทำาด้วยแป้งและไข่เป็นส่วนใหญ่ มีขนมที่มีลักษณะอบกรอบ เช่น ขนมผิง ขนมลำาเจียก และมีขนมที่มี นำ้าหวานและกะทิเจืออยู่ด้วย ได้แก่ซ่าหริ่ม บัวลอย เป็นต้น นอกจากนี้ วรรณคดีไทย เรื่องขุนช้างขุนแผน ซึ่งถือว่าเป็น วรรณคดีที่สะท้อนวิถีชีวิตของคนในยุคนั้นอย่างมากรวมทั้งเรื่อง อาหารการกินของชาวบ้าน พบว่ามีความนิยมขนมจีนนำ้ายา และมี การกินข้าวเป็นอาหารหลัก ร่วมกับกับข้าวประเภทต่างๆ ได้แก่ แกง ต้ม ยำา และคั่ว อาหารมี ความหลากหลายมากขึ้นทั้งชนิดของ อาหารคาว และอาหารหวาน พ.ศ. 2394–ปัจจุบัน ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างมาก และมี การตั้งโรงพิมพ์แห่งแรกในประเทศไทย ดังนั้น ตำารับอาหารการกิน ของไทยเริ่มมีการบันทึกมากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น ในบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน จดหมายเหตุ เสด็จประพาสต้น เป็นต้น และยังมีบันทึกต่างๆ โดยผ่านการบอกเล่าสืบทอดทางเครือ ญาติ และบันทึกที่เป็นทางการอื่น ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ได้สะท้อนให้ เห็นลักษณะของอาหารไทย ที่มีความหลากหลายทั้งที่เป็น กับข้าว
  • 6. 6 อาหารจานเดียว อาหารว่าง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ ทั้ง ที่เป็นวิธีปรุงของราชสำานัก และวิธีปรุงแบบชาวบ้านที่สืบทอดมา จนถึงปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าอาหารไทยบางชนิดในปัจจุบัน ได้มีวิธีการปรุงหรือส่วนประกอบของอาหารผิดเพี้ยนไปจากของ ดั้งเดิม จึงทำาให้รสชาติของอาหารไม่ใช่ตำารับดั้งเดิม และขาดความ ประณีตที่น่าจะถือว่าเป็นเอกลักษณ์ที่สำาคัญของอาหาร ไทย วิธีดำาเนินงาน แนวทางการดำาเนินงาน 1.เลือกโครงงานของคนใดคนหนึ่ง 2.รวบรวมข้อมูล 3.จัดทำารูปเล่ม 4.นำาเสนองาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.โน้ตบุ๊ก 2.เครื่องปริ้นเตอร์ 3.กระดาษ A4 งบประมาณ 100 บาท ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน ลำา ดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ ผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครง งาน / ฐานิตา 2 ศึกษาและ ค้นคว้าข้อมูล / ฐานิ ตา,ปริ ม 3 จัดทำาโครง ร่างงาน / ฐานิตา
  • 7. 7 4 ปฏิบัติการ สร้างโครงงาน / ปริม 5 ปรับปรุง ทดสอบ / ฐานิตา 6 การทำาเอกสาร รายงาน / ฐานิตา 7 ประเมินผล งาน / ปริม 8 นำาเสนอโครง งาน / ฐานิ ตา,ปริ ม ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการ ทำาโครงงาน) 1.ได้รู้เกี่ยวกับอาหารในแต่ละภาค 2.ได้รู้ถึงวัฒนธรรมการกินของแต่ล่ะภาค สถานที่ดำาเนินการ 17/5 ถ.สนามกีฬา ซ.2 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คหกรรม) แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำา โครงงาน) http://sareena07.blogspot.com/2014/02/blog- post.html