SlideShare a Scribd company logo
หนวยงานที่เผยแพร

สํานักสถิติพยากรณ
สํานักงานสถิติแหงชาติ
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ
อาคาร B ชั้น 2 ถนนแจงวัฒนะ
เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท 0 2143 1323 ตอ 17496
โทรสาร 0 2143 8132
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส services@nso.go.th

Distributed by

Statistical Forecasting Bureau
National Statistical Office
The Government Complex, Building B2nd Floor,
Chaeng Watthana Rd., Laksi Bangkok 10210
Tel : +66 2143 1323 ext. 17496
Fax : +66 2143 8132
Email : services@ nso.go.th

ปที่จัดพิมพ

2553

Published

2010
คํานํา
สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดดําเนินการสํารวจเด็กและเยาวชน ครั้งแรกในป 2517 ตามคําแนะนํา
และความรวมมือขององคการเงินทุนสงเคราะหเด็กแหงสหประชาชาติ (UNICEF) และสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 เปนการสํารวจครั้งที่ 12 เปนการ
เก็บรวบรวมขอมูลที่มีความสอดคลองกับโครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2549
(MICS : The Multiple Indicator Cluster Survey) ซึ่งเปนการจัดทําขอมูลเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนที่เปน
มาตรฐานสากล และสามารถนําไปเปรียบเทียบกับนานาชาติได นอกจากนี้ยังสามารถนําไปใชเปนตัวชี้วัด ในการ
ประเมินแผนการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของดานเด็กและเยาวชน
รายงานผลการสํารวจฉบับนี้ เปนรายงานผลฉบับสมบูรณ ซึ่งไดนําเสนอรายละเอียดขอมูล
พื้นฐานทางประชากรและสังคมของเด็กและเยาวชน โดยเสนอผลในระดับประเทศ และระดับภาค

สํานักงานสถิติแหงชาติ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทสรุปผูบริหาร

1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน
เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีประมาณ
24.7 ลานคนเปนชาย 12.6 ลานคน (รอยละ 51.1) และ
หญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9) ประกอบดวยเด็กเล็ก
(0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1 และ
เยาวชน (18 - 24 ป) รอยละ 29.7
แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตาม เพศ
และกลุมอายุ พ.ศ. 2551

สําหรับเด็กที่มีภาวะกําพรา ซึ่งอาจกําพราทั้งพอ
และแมหรือคนใดคนหนึ่งนั้นพบวา มีแนวโนมลดลงทั้ง
เด็กหญิงและชาย เมือเปรียบเทียบกับการสํารวจในป 2548 - 49
่
โดยพบวา เด็ ก กําพร า ในเขตเทศบาลมี สั ด ส ว นลดลง
เล็กนอย ในขณะที่นอกเขตเทศบาลลดลงมากกวาคือ จาก
รอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 ภาวะกําพราของเด็กในภาค
ตางๆ มีสัดสวนลดลงทุกภาค โดยลดลงประมาณรอยละ 1
สวนภาคใตลดลงเพียงรอยละ 0.4
แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา
จําแนกตามเขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49
และ พ.ศ. 2551

0-5
22.2 %

ชาย
24.7
ลานคน

18 - 24
29.7 %

6 – 17
48.1 %

หญิง

รอยละ

7
5

กลุมอายุ (ป)

เพศ

4.6

4.8

4.5

4.3

4
3
2

2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)

6.5

6

4.1

3.9

3.9

5.3

3.3

4.5
4.1

1

เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน พบวา
เปนเด็กที่อาศัยอยูกับพอและแมรอยละ 61.8 และรอยละ
20.1 ไมไดอยูกับพอและแมหรือเปนเด็กกําพรา


0

ในเขต นอกเขต
เทศบาล เทศบาล

ป 2548 - 49

กทม. เหนือ ตะวันออก ใต
เฉียงเหนือ
และกลาง

เขตการปกครอง
และภาค

ป 2551

1 โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 – ก.พ. 49

แผนภูมิ 2 รอยละของ เด็กอายุ 0 – 17 ป จําแนกตามลักษณะ
การยูอาศัยของเด็ก พ.ศ. 2551
อยูกับแมเทานั้น

อยูกับพอเทานั้น

15.0 % 3.1 %
17.4
20.1 % อื่น ๆ1 /
61.8 % ลานคน

11.9
17.7
22.8
26.0
11.4

กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ

ใต

อยูกับพอและแม
1/ อื่นๆ หมายถึง เด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม หรือเปนเด็กกําพราที่พอ/แม
เสียชีวิต หรือกําพราทังพอและแม
้

3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป)
ชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็กมีการ
พั ฒ นาเร็ ว ที่ สุ ด โดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ป ของชีวิต
การเลี้ยงดูในบาน จึงเปนสิ่งสําคัญที่สุดตอการพัฒนาการ
ของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ
สําหรับเด็กและสภาพการเลี้ยงดูในบานจึงเปนปจจัยแวดลอม
ที่สําคัญ
ผลการสํารวจพบวา เด็กเล็กในประเทศรอยละ
96.1 ไดรับการดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน ในการทํา
กิจกรรมรวมกันอยางนอย 4 กิจกรรมในขณะที่เด็กที่มี
พอรวมทํากิจกรรมอยางนอย 1 กิจกรรมมีรอยละ 60.7
แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กเล็กที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวม
1/
ในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551
รอยละ
100

9696.

80

96.1

60

60.7
60.7

40
20
0

สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป
พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป
1/ กิจกรรม 6 ประเภท ไดแก
1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพรวมกับเด็ก 2. การเลานิทาน/เลาเรื่องตาง ๆ ใหเด็กฟง
3. การรองเพลงรวมกับเด็ก/รองเพลง
4. การพาเด็กไปนอกบาน
กลอมเด็ก
6. การทํากิจกรรมอื่น เชน เรียกชื่อ นับเลข
5. การเลนกับเด็ก
วาดรูป เปนตน

การมีหนังสือในครัวเรือน มีสวนชวยสงเสริม
พัฒนาการของเด็ก เพราะทําใหเด็กไดมโอกาสรับฟง
ี
เรื่องตาง ๆ ในหนังสือโดยผูดูแลเปนผูอานใหฟง รวมทั้ง

ไดเห็นคนในครัวเรือนอานหนังสือที่ลวนมีผลตอการ
อยากเขาเรียนและไอคิวของเด็กนัน ซึ่งจากการสํารวจ
้
ครั้งนี้พบวา เด็กเล็กรอยละ 41.2 อาศัยอยูในครัวเรือนที่มี
หนังสือสําหรับเด็กอยางนอย 3 เลมในขณะที่รอยละ 61.7
ของเด็กเล็ก อาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือที่ไมใช
หนังสือสําหรับเด็กอยางนอย 3 เลม
แผนภูมิ 5 รอยละของครัวเรือนที่มีหนังสือในครัวเรือน
จําแนกตามประเภทหนังสือ พ.ศ. 2551
รอยละ
80
60
40

61.7

20

41.2
ประเภทหนังสือ

0
หนังสือไมใชสําหรับเด็ก
(อยางนอย 3 เลม)

หนังสือสําหรับเด็ก
(อยางนอย 3 เลม)

4. การศึกษา
การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของเด็กอายุ
ต่ํากวา 5 ป ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งมีความสําคัญตอ
ความพรอมของเด็กในการเขาเรียนจากการสํารวจในป 2551
พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 - 4 ปทั้งสิ้น 1.8 ลานคน
ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่
กําลังเรียนในโปรแกรมกอนวัยเรียน เชน การเขาเรียนใน
ศูนยเด็กเล็ก หรือสถานรับเลี้ยงเด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล
เปนตน และสวนใหญเขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็ก
มากกวาประเภทอื่น (รอยละ 59.7) โดยเด็กที่อยูนอกเขต
เทศบาล เรียนในศูนยเด็กเล็กสูงกวาเด็กที่อยูในเขตเทศบาล
(รอยละ 66.2 และ 44.3 ตามลําดับ)
แผนภูมิ 6 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียนของ
เด็กอายุ 3 – 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัยในศูนยเด็กเล็ก
ของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามเขตการปกครองพ.ศ. 2551
รอยละ
100
80

73.0

74.5

69.6

60
40
20
0

59.7

44.3

66.2
เขตการ

ทั่วราชอาณาจักร

ในเขตเทศบาล

นอกเขตเทศบาล ปกครอง

อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียน (ของเด็กอายุ 3 - 4 ป)
อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนในศูนยเด็กเล็ก (ของเด็กที่เขาเรียน)
เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในปการศึกษา
2551 พบวา ในกลุมผูที่เรียนเปนผูที่เรียนในระดับกอน
ประถมศึกษา รอยละ 97.7 สวนที่เหลือ เรียนในระดับ
ประถมศึกษา และการศึกษาอื่น ๆ รอยละ 2.3
แผนภูมิ 7 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ
และการเขาเรียนในปการศึกษา พ.ศ. 2551

ไมเรียน 2.8 %

ประถมศึกษา
และอื่น ๆ
2.3%

ชาย 51.2 %
9.3
แสนคน

เรียน
97.2 %

100

แผนภูมิ 8 อัตราการเขาเรียนของเด็กวัยประถมศึกษา (6 – 11 ป)
ในปการศึกษา 2551
รอยละ
90.9 91.7 92.5 89.2 89.1

60
40
20
0

กรุงเทพ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต
มหานคร
เฉียงเหนือ

ทั่วราช
อาณาจักร

ภาค

สําหรับอัตราการเขาเรียนของเยาวชนอายุ 18 – 24 ป
ที่กําลังเรียนในระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป
และผูที่กําลังเรียนในระดับอุดมศึกษาพบวา กรุงเทพมหานคร
มีอัตราการเขาเรียนสูงกวาทุกภาคคือ รอยละ 32.4 และ
28.4 ตามลําดับ
แผนภูมิ 10 อัตราการเขาเรียนของเยาชนอายุ 18 - 24 ป ทีกําลังเรียน
่
ระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย และปริญญาตรีขนไป
ึ้
พ.ศ. 2551
รอยละ
40

80

32.4

60

30

40

28.4
20

20
0

79.2 77.0 80.2 78.1
73.3

77.6

80

97.7 %

เด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป มีทั้งสิ้น 19.2 ลานคน
เปนผูที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน
หรือรอยละ 67.5 เด็กเล็กอายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียน
ในระดับประถมศึกษาหรือสูงกวา ทั่วประเทศรอยละ 90.5

90.5

รอยละ

กอน
ประถมศึกษา

หญิง 48.9

100

แผนภูมิ 9 อัตราการเขาเรียนของเด็กวัยมัธยมศึกษา (12 - 17 ป)
จําแนกตามภาค พ.ศ. 2551

ภาค
ทั่วราช
อาณาจักร

กรุงเทพ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต
มหานคร
เฉียงเหนือ

17.4

16.0
11.0

10

12.2

8.6

5.3

0

ในขณะทีเ่ ด็กวัยมัธยมศึกษา (12 – 17 ป) มี
อัตราการเขาเรียนในระดับมัธยมศึกษาหรือสูงกวา
ของทุกภาคเกินกวารอยละ 70

กรุงเทพ
มหานคร

กลาง

เหนือ

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

ระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย
ระดับปริญญาตรีขึ้นไป

11.8
7.3
ใต

ภาค
สารบัญแผนภูมิ
แผนภูมิ 1
แผนภูมิ 2
แผนภูมิ 3
แผนภูมิ 4
แผนภูมิ 5
แผนภูมิ 6

แผนภูมิ 7
แผนภูมิ 8
แผนภูมิ 9
แผนภูมิ 10
แผนภูมิ 11

แผนภูมิ 12
แผนภูมิ 13
แผนภูมิ 14

จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551

รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่ไมไดอยูกบพอและแม จําแนกตามเขตการปกครอง
ั
และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามลักษณะของการกําพรา
และภาค พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอ/แมไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามผูดูแล

พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอ มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
พ.ศ. 2551
คาเฉลี่ยจํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือนและพอ มีสวนรวมในการทํากิจกรรม
สงเสริม การเรียนรูและการเตรียมความพรอมกอนวัยเรียน ของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป
พ.ศ. 2551
รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทกิจกรรม พ.ศ. 2551
รอยละของครัวเรือน ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตามประเภทหนังสือ
และภาค พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตาม ประเภทของทีเ่ ลนเมื่ออยูที่บาน พ.ศ. 2551

รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่มีของเลนอยางนอย 3 ประเภทในครัวเรือน พ.ศ.
2551
อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึง กอนวัยเรียนของเด็กอายุ 3 - 4 ป
่
และอัตราการเขาเรียนกอนวัยในศูนยเด็กเล็กของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามภาค
และเขตการปกครอง พ.ศ. 2551
จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และการเขาเรียนในปการศึกษา
พ.ศ. 2551
อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนกตามกลุมอายุของผูที่
กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 และภาค
อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนกตามระดับการศึกษา
และภาค พ.ศ. 2551
สารบัญแผนภูมิ (ตอ)
แผนภูมิ 15
แผนภูมิ 16
แผนภูมิ 17
แผนภูมิ 18
แผนภูมิ 19
แผนภูมิ 20
แผนภูมิ 21
แผนภูมิ 22
แผนภูมิ 23

จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป ที่ไมเรียน จําแนกตาม
เหตุผลที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551
อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่เคยใชคอมพิวเตอร ในระหวาง
12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551

อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ไมใชคอมพิวเตอร ในระหวาง
12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามเหตุผลที่ไมใช และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอรมากที่สุด
จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551

อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 - 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอรในการทํากิจกรรม
จําแนกตามประเภทกิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
่
รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่เคยไดยินเกียวกับโรคเอดส และ
ความเขาใจเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV/AIDS เปนอยางดี พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่มีความเขาใจถูกตองเกี่ยวกับความคิด
ที่มักเขาใจผิดเกี่ยวกับโรคเอดส พ.ศ. 2551
รอยละของครัวเรือน จําแนกตามการมีแหลงน้ําดื่มที่สะอาด เขตการปกครอง
และภาค พ.ศ. 2551
รอยละของครัวเรือน จําแนกตามแหลงน้ําดื่มหลัก พ.ศ. 2551
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1
ตารางที่ 2
ตารางที่ 3

จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค
และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง
และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551
บทที่ 1
บทนํา
1. ความเปนมา
สื บเนื่ องจากประเทศไทยเป นประเทศหนึ่ ง
ในจํานวน 191 ประเทศ ที่ไดรวมลงนามในปฏิญญาโลก
วาดวยความอยูรอด การปกปอง และการพัฒนาเด็ก
พ.ศ. 2533 และลงนามร วมกั น 189 ประเทศ ในแผน
ปฏิบัติการโลกที่เหมาะสมสําหรับเด็ก พ.ศ. 2545
ในขอตกลงตามเอกสารดังกลาว รัฐบาลของแตละ
ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย มี ขอผู ก พั น ที่ จ ะตอง
ปรั บ ปรุ ง สภาพความเป น อยู ข องเด็ ก ให เ หมาะสม
และจะต อ งติ ด ตามความก า วหน า และผลการ
ดําเนินงานของแผนงาน เพื่อใหบรรลุเปาประสงค
ที่รวมกันตั้งไวตามปฏิญญาดังกลาว
ดั ง นั้ น สํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห ง ชาติ ร ว มกั บ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ จึงได
จัดทําโครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย
พ.ศ. 2548 - 2549 ขึ้น โดยไดรับเงินสนับสนุนจาก
องคการยูนิเซฟ ประเทศไทย เพื่อใหหนวยงานใน
กระทรวงตาง ๆ ที่เ กี่ย วขอ งกับ การพัฒ นาสัง คม
และสิ่ ง แวดล อ มให กั บ เด็ ก รวมทั้ ง หน ว ยงาน
ระหวา งประเทศอื่น ๆ ในองคก ารสหประชาชาติ
มีฐ านขอ มูล เกี ่ย วกับ เด็ก ที ่เ ปน มาตรฐานสากล
สามารถนําไปเปรียบเทียบกับนานาชาติได และเพื่อนํา
ขอมูลไปใชติดตามความกาวหนาของนโยบายและ
แผนยุทธศาสตรร ะดับชาติดานการพัฒนาเด็ก ตาม
แนวทางโลกที่เหมาะสมสําหรับเด็ก (พ.ศ. 2543 – 2559)
ดั ง นั้ น เพื ่อ ใหม ีข อ มูล เกี ่ย วกับ สถานการณเ ด็ก

อยางตอเนื่อง สํานักงานสถิติแหงชาติ จึงไดจัดเก็บ
รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับเด็กอีกครั้งหนึ่งในโครงการ

สํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ซึ่งเปนโครงการ
ประจําของสํานักงานสถิติแหงชาติ
2. วัตถุประสงค
เพื่อใหมีขอมูลเกี่ยวกับสถานการณเด็กทั้งใน
ระดับประเทศและระดั บจั งหวั ด เพื่ อให ผูที่ เกี่ยวข อง
นําไปใชในการกําหนดนโยบาย แผนปฏิบัติงานและ
มาตรการตาง ๆ เกี่ยวกับเด็กไดอยางถูกตองเหมาะสม
รวมทั้งเพื่อใหไ ดขอมูลสําหรับติดตามความกาวหนา
ตามเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (MDGs) และ
เปาหมายที่เหมาะสมสําหรับเด็ก (WFFC) และเปาหมาย
อื่นๆ ตามขอตกลงระหวางประเทศ

3. ประโยชน
1. ประเทศมีขอมูลสถิติพื้นฐานทางประชากร
และสังคมของเด็กและเยาวชน ไดแก อายุ เพศ สภาพ
การอยูอาศัย การทํางาน การศึกษาระดับประถมและมัธยม
การรูหนังสือ ความสนใจใน IT ความรูเกียวกับ HIV

่
2. ประเทศมีขอมูลของเด็กและเยาวชนในระดับ
ยอยที่จําแนกตาม ภูมิภาค เพศ และกลุมอายุ

4. ขอบขายและคุมรวม
การสํารวจนี้คุมรวมครัวเรือนสวนบุคคลที่มี
เด็กและเยาวชน ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล
ในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ไมรวม ครัวเรือนพิเศษ
ครัวเรือนสถาบัน และครัวเรือนชาวตางประเทศที่ทํางาน
ในสถานทูตหรือองคการระหวางประเทศที่มีเอกสิทธิ์
ทางการทูต
5. คาบเวลาในการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล

7. การนําเสนอผล

ดําเนินการสํารวจพรอมกันทั่วประเทศ ใน
ระหวางสัปดาหสุดทายของเดือน กรกฎาคม สิงหาคม
และกันยายน 2551

นําเสนอผลระดับทั่วราชอาณาจักร ภาค และ
เขตการปกครอง ดังนี้
1. สรุปผลเบื้องตน
2. รายงานผลฉบับพกพา (Pocket Book)
3. รายงานผลฉบับสมบูรณ

6. การประมวลผลขอมูล
• ทําการบรรณาธิกรและลงรหัสที่สํานักงาน
สถิ ติ จั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด
• บันทึกขอมูลและตรวจสอบขอมูลดวย
เครื่องคอมพิวเตอร และประมวลผลตารางที่สํานักงาน
สถิติแหงชาติ กรุงเทพมหานคร
บทที่ 2
สรุปผลการสํารวจ
สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการสํารวจ
เด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551โดยเก็บรวบรวมขอมูลของ
เด็กและเยาวชนอายุไมเกิน 24 ป ในเดือนกรกฎาคม
สิงหาคม และกันยายน พ.ศ. 2551 จากจํานวน
ครัวเรือนตัวอยางประมาณ 59,000 ครัวเรือน
การสํารวจเด็กและเยาวชนครั้งนี้ เพื่อใหมี
ขอมูลสําหรับนําไปใชประเมินสถานการณเด็กและ
เยาวชน ในประเทศ การคํานวณตัวชีวัดตางๆ และ
้
สามารถใชติดตามความกาวหนาของนโยบาย และ
แผนยุทธศาสตรระดับชาติดานการพัฒนาเด็กตาม
แนวทางโลกที่เหมาะสมสําหรับเด็ก
1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน
เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีอยู
ประมาณ 24.7 ลานคน เปนชาย 12.6 ลานคน (รอย
ละ51.1) และหญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9)
ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6
- 17 ป) รอยละ 48.1 และเยาวชน (18 - 24 ป) รอย
ละ 29.7
แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ
กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551
ชาย 51.1%
24.7
ลานคน
หญิง 48.9%
กรุงเทพมหานคร
ใต
8.2%
15.6%

0–5
22.2%
18 - 24
29.7%

6 – 17
48.1%

กลุมอายุ (ป)

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

36.5%

22.5%
17.2%
เหนือ

ภาค

กลาง

หากจําแนกเด็กและเยาวชนเหลานี้เปน 4 กลุมยอย
จะพบวา เปนกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มากที่สุดคือ 7.3
ลานคน และเกือบ 3 ใน 4 ของเด็กและเยาวชนอยูนอกเขต
เทศบาล (17.6 ลานคน) โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มีเด็กและเยาวชนมากที่สุด 9.0 ลานคน (รอยละ 36.5)
ในขณะที่กรุงเทพมหานคร มีเด็กและเยาวชนนอยที่สุด
2.0 ลานคน (รอยละ 8.2)
ตารางที่ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ
เขตการปกครอง ภาค และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
(หนวยเปนพัน)
เพ ศ
เขตการปกครอง
และภาค
ทั่ ว ราชอาณาจั ก ร
เพ ศ
ชาย
หญิ ง
เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ภาค
กรุง เทพมหานคร
กลาง
เหนื อ
ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
ใต

กลุ ม อายุ (ป )
รวม
24,796.9

0 – 5 ป 6 – 11 ป 12 – 17 ป 18 – 24 ป
5,500.2 5,762.7 6,159.3 7,374.8

12,667.8
12,129.2

2,802.6
2,697.6

2,950.4
2,812.3

3,154.2
3,005.2

3,760.6
3,614.1

7,138.2
17,658.8

1,745.5
3,754.7

1,671.3
4,091.3

1,660.6
4,498.7

2,060.7
5,314.1

2,036.4
5,571.9
4,266.0
9,042.0
3,880.7

588.0
1,261.6
834.9
1,908.0
907.7

490.9
1,280.7
962.8
2,135.9
892.4

415.5
1,335.8
1,126.3
2,341.9
939.8

542.0
1,693.7
1,342.1
2,656.1
1,140.8

2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)
สภาพสังคมและเศรษฐกิจปจจุบัน ทําใหเด็กบางคน
ขาดการดูแลจากพอแม ตองอยูหางไกลจากพอแมผูใหกําเนิด

หรือเปนเด็กกําพรา ซึ่งภาวะเชนนี้ทําใหเด็กตองเผชิญ
กับปญหาตางๆ เชน ภาวะขาดแคลน การถูกทอดทิ้งการถูก
เอารัดเอาเปรียบดานแรงงานหรือทางเพศในรูปแบบตาง ๆ
ฉะนั้นการเฝาติดตามลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก และ
การจัดหาทีอยูอาศัยใหกับเด็ก จะชวยใหสามารถปองกัน
่ 
เด็กจากภาวะเสี่ยงดังกลาวได
ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยู
อาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551
การอยูอาศัยของเด็ก
เพศ เขตการปกครอง
และภาค
ทั่วราชอาณาจักร
เพศ
ชาย
หญิง
เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ภาค
กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ตะวันออกเฉีย งเหนือ
ใต

รวม

อยูกับ อยูกับ


พอและ แม
แม เทานั้น

อยูกับ ไมไ ดอยู

พอ
กับพอ
เทานั้น และแม

17,422,291

61.8

15.0

3.1

20.1

8,907,141
8,515,151

62.5
61.2

14..7
15..3

3.0
3.1

19.8
20.4

5,077,475
12,344,816

64.6
60.7

15.2
14.9

3.7
2.8

16.5
21.6

1,494,411
3,878,106
2,923,953
6,385,863
2,739,959

70.5
64.2
57.2
54.8
75.1

13.2
14.3
16.8
16.8
10.8

4.4
3.8
3.2
2.4
2.7

11.9
17.7
22.8
26.0
11.4

ของเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแมเพิ่มขึ้นเล็กนอย ทั้งในเขต
เทศบาลและนอกเขตเทศบาล และเมื่อพิจารณาเปนรายภาค
พบวา ทุกภาคมีสัดสวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะภาคใตเพิมขึ้น
่
มากกวาภาคอืนคือ จากรอยละ 9.8 ใน พ.ศ. 2548 - 49
่
เปนรอยละ 11.4 ในพ.ศ. 2551 แตอยางไรก็ตาม เมือเทียบ
่
กับภาคอื่นๆ อัตราการไมไดอยูกับพอแมของภาคใตกยง
็ั
เปนสัดสวนที่ต่ําสุด ขณะที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคง
สูงที่สุดเชนเดิม
แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่ไมไดอยูกับพอและแม จําแนกตาม
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551

30

รอยละ
26.0

20

22.8

21.6
16.5

16.0

2.1 การอยูอาศัย
เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน
เปนเด็กผูชาย 8.9 ลานคน และเปนเด็กผูหญิง 8.5
ลานคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่อาศัยอยูกับทังพอและแม
้
รอยละ 61.8 และอยูกับพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง
รอยละ 18.1 ซึ่งอาจเนื่องจากการหยาราง หรือพอแม
แยกกันอยูเนื่องจากการทํางาน โดยพบวาสัดสวนของ
เด็กที่อยูกับแมสูงกวาอยูกับพอถึง 5 เทา (รอยละ 15.0


และ 3.1 ตามลําดับ) สวนที่เหลือคือรอยละ 20.1
เปนเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม ซึงในจํานวนนี้พบวา

่
เปนเด็กที่อยูนอกเขตเทศบาลมากกวาเด็กที่อยูในเขต
เทศบาล และมีสัดสวนสูงสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รองลงมาคือ ภาคเหนือ (รอยละ 26.0 และ รอยละ 22.8
ตามลําดับ)
เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสํารวจสถานการณเด็ก
ซึ่งเปนโครงการที่สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการ
รวมกับ UNICEF ใน พ.ศ. 2548 - 49 พบวา รอยละ

10

15.2

15.1

20.9

21.3

25.6

11.4
9.8

0

ในเขต นอกเขต
เทศบาล เทศบาล

1/

กทม. เหนือ ตะวันออก ใต
และกลาง
เฉียงเหนือ

เขตการ
ปกครอง
และภาค

ป 2548 - 49
ป 2551
1/ โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 - ก.พ. 49

2.2 ภาวะกําพรา
เด็กอายุ 0 – 17 ป ที่กําพรา มีทั้งสิ้น 6.9 แสนคน
ในจํานวนนี้เปนเด็กที่กําพราพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง
6.2 แสนคน และกําพราทั้งพอและแม 6.3 หมื่นคน และ
เมื่อเปรียบเทียบลักษณะของการกําพรา พบวาเด็กที่กําพรา
พอ หรือ แมค นใดคนหนึ่งสูง กวากําพราทั้งพอและแม
ประมาณ 10 เทา (รอยละ 90.8 และรอยละ 9.2 ตามลําดับ)
โดยกรุงเทพมหานครมีเด็กที่กําพราทั้งพอและแมสูงสุด
รองลงมาคือ ภาคเหนือ และต่ําสุดคือภาคใต (รอยละ 12.6
รอยละ 11.2 และรอยละ 4.5 ตามลําดับ)
แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตาม
ลักษณะของการกําพรา และภาค พ.ศ. 2551

รอยละ
100

9.2

12.6

10.3 11.2

90.8

87.4

89.7

8.4

4.5

80
60

88.8 91.6

95.5

40
20
0

ทั่วราชอาณาจักร

กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต
เฉียงเหนือ

ภาค

พอ/แม คนใดคนหนึ่ง

พอและแม

เมื่อเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2548 - 49 พบวา ภาวะ
กําพรามีสัดสวนลดลงคือ จากรอยละ 4.7 เปนรอยละ 4.0
โดยเด็กชายยังคงมีภาวะกําพรานอยกวาเด็กหญิงเชนเดิม
เมื่อพิจารณาตามเขตการปกครองพบวา ทั้งใน
เขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ภาวะกําพรามีแนวโนม
ลดลง โดยในเขตเทศบาลลดลงนอยกวาทําใหภาวะกําพรา
ของในเขตเทศบาลสูงกวานอกเขตเทศบาล ในป 2551
ภาวะกําพราของเด็กสูงสุดในภาคเหนือ และ
ต่ําสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเชนเดียวกับการสํารวจ
ที่ผานมา แตเปนที่นาสังเกตวา รอยละของเด็กกําพรา
ของทุกภาคมีแนวโนมลดลง โดยลดลงมากที่สุดใน
ภาคเหนือ (ลดลงรอยละ 1.2) และลดลงนอยสุดใน
ภาคใต (ลดลงรอยละ 0.4)
ตารางที่ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตาม เพศ
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551
เพศ เขตการปกครอง
และภาค
ทัวราชอาณาจักร
่
เพศ
ชาย
หญิง
เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ภาค
กรุงเทพมหานครและ
เหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต

ภาวะกําพรา
ป 2548 - 49
4.7

ป 2551
4.0

4.6
4.9

3.8
4.1

4.6
4.8

4.1
3.9

4.5
6.5
4.3
4.5

3.9
5.3
3.3
4.1

2.3 ผูดูแล
ในกรณีที่พอไมไดอยูในครัวเรือนพบวา ผูที่ทํา
หนาที่ดูแลเด็กในสัดสวนที่สูงสุดคือแม (รอยละ 41.0)
รองลงมาคือ ปูยา (รอยละ 34.0) ตายายและญาติ (รอยละ 13.2
และรอยละ 8.5 ตามลําดับ) สวนในกรณีที่แมไมไดอยู
ในครัวเรือนพบวา ผูที่ทําหนาที่ดูแลเด็กในสัดสวนที่สูงสุด
คือ ปู ยา (รอยละ 49.3) รองลงมาคื อ ตายายและญาติ
(รอยละ 19.3 และ 12.6 ตามลําดับ) สวนพอมีสัดสวน
ในการทําหนาที่ดูแลเด็กเพียงรอยละ 14.0
แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอ/แมไมไดอยูในครัวเรือน
จําแนกตามผูดูแล พ.ศ. 2551

60
50
40

รอยละ
49.3
41.0
34.0

30
20

19.3

14.0

13.2

10
0

พอ/แม

ปู/ยา

ตา/ยาย

พอไมไดอยูในครัวเรือน

8.5

12.6

ญาติ

0.8 1.1 2.5 3.7
พี่

ผูดูแล

อื่น ๆ (สมาชิกของ
ครัวเรือนอื่นและ
คนรับใช ฯลฯ)

แมไมไดอยูในครัวเรือน

3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป)
ในชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็ก
มีการพัฒนาเร็วที่สุดโดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ปของชีวิต
การเลี้ยงดูในบานจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุดตอการพัฒนาการ
ของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ
สํา หรับ เด็ก และอุปกรณหรือของเลนในบา นจึง เปน
ปจจัยแวดลอมที่สําคัญ
3.1 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
สําหรับกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูระหวาง
พอแม หรือสมาชิกคนอื่น ๆ ในครัวเรือนกับเด็ก
ไดแก 1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพรวมกับเด็ก 2. การ
เลานิทาน/เลาเรื่องตางๆใหเด็กฟง 3. การรองเพลง
รวมกับเด็ก/รองเพลงกลอมเด็ก 4. การพาเด็กไปนอกบาน
5. การเลนกับเด็ก 6. การทํากิจกรรมรวมกับเด็ก เชน
เรียกชื่อ นับเลข วาดรูป เปนตน
แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอ มีสวนรวมใน
กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551

รอยละ

100

96.1

98.2

95.7

95.6

94.6

แผนภูมิ 6 คาเฉลี่ยจํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือนและพอมีสวนรวม
ในการทํากิจกรรมสงเสริม การเรียนรูและการเตรียมความ
พรอม กอนวัยเรียน ของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป พ.ศ. 2551
คาเฉลี่ย

10
5.8
5
2.6
0

พอทํารวม
อยางนอย 1 กิจกรรม

สมาชิกในครัวเรือนรวม
อยางนอย 4 กิจกรรม

กิจกรรม
ที่ทํารวม
กับเด็กเล็ก

98.5

การทํากิจกรรมรวมกันระหวางบุคคลในครัวเรือน
กับเด็กเล็กอายุต่ํากวา 5 ป เพื่อสงเสริมการเรียนรู และ
60
การเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียนนั้นพบวา แมเปน
74.8
76.2
65.3
40 60.7
59.5
ผู ที่ มี ส ว นร ว มในกิ จ กรรมทุ ก ประเภทกั บ เด็ ก เล็ ก ใน
46.3
20
สัดสวนที่สูงสุด รองลงมาคือ คนอื่นๆ ในครัวเรือน และพอ
(สัดสวนที่ต่ําสุดในทุกกิจกรรม) โดยกิจกรรมที่ทั้งพอและแม
0
กทม. กลาง เหนือ
ทั่วราชอาณาจักร
ใต ภาค
ตะวันออก
ทํารวมกับลูกมากที่สุดคือการเลนรวมกัน (รอยละ 76.2
เฉียงเหนือ
และรอยละ 69.1) สวนกิจกรรมที่ทํารวมกันนอยสุด คือ
สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป
การรองเพลง (รอยละ 73.9 และรอยละ 57.8 ตามลําดับ)
พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป
80

จากผลการสํารวจแสดงใหเห็นวา เด็กเล็ก
รอยละ 96.1 ไดรับการดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน
โดยสมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมในการทํากิจกรรม
ที่สงเสริมการเรียนรูและการเตรียมความพรอมเพื่อ
เข าโรงเรี ยนอย างน อย 4 กิ จกรรม ซึ่ งค าเฉลี่ ยของ
จํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือนมีสวนเกี่ยวของ
คือ ประมาณ 5.8 กิจกรรม
สําหรับการรวมกิจกรรมระหวางพอกับเด็ก
พบวาพอมีสวนรวมทํากิจกรรมตาง ๆ กับเด็กอยาง
นอย 1 กิจกรรม มีรอยละ 60.7 โดยมีคาเฉลี่ย คือ
2.6 กิจกรรมโดยการทํากิจกรรมรวมกันระหวางพอ
กับเด็ก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนต่ําสุด

แผนภูมิ 7 รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริม
การเรียนรู กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทกิจกรรม พ.ศ. 2551
กิจกรรม
76.1

36.4

การอานหนังสื อ/ดูส มุดภาพ

6.6
31.9

การเล านิทาน/เล าเรื่องตาง ๆ

55.0
0.6
57.4
0.5

1/
ทํากิจกรรมอื่น ๆ

0

ไมมีใครรวมในกิจกรรมนี้

57.8

4.0

การเล นรวมกัน

คนอื่น ๆ ในครัวเรือน

73.9

35.8

การพาไปนอกบาน

พอ

75.0

59.6

7.1

การรองเพลง

แม

61.3

43.0
4.3

76.1
64.2
76.2
69.1
75.8
65.2

รอยละ
20

40

60

80

100

1/ กิจกรรมอื่น ไดแก เรียกชื่อ สิ่งของ นับเลข วาดรูป เปนตน
3.2 การมีหนังสือสําหรับเด็กในบาน

3.3 อุปกรณหรือของเลนในบาน

การมีหนังสือสําหรับเด็กรวมทังหนังสือที่ไมใช
้
หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลมในครัวเรือน) ที่บาน
จะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการอานหนังสือจากเด็ก
ที่โตกวา ซึ่งจะมีผลตอการอยากเขาเรียนและไอคิวของเด็ก
แผนภูมิ 8 รอยละของครัวเรือน ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม
ประเภทหนังสือ และภาค พ.ศ. 2551

80
60
40

รอยละ
69.1
61.7

51.6
41.2

64.5
46.5

66.4

58.6

เมื่ออยูบาน เด็กเล็กจะเลนของเลนที่ซื้อมา/ไดมา
มากที่สุด (รอยละ 81.8) รองลงมาคือ ของเลนที่เปนสิ่งของ
นอกบาน ไดแก กิ่งไม หิน สัตว เปลือกหอย หรือใบไม
(รอยละ 36.6) สิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน เชน ชาม จาน
ถวย หมอ (รอยละ 33.6) และของเลนทีทําขึ้นเอง ไดแก
่
ตุกตา รถ (รอยละ 32.3)
แผนภูมิ 9 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทของที่เลน
เมื่ออยูที่บาน พ.ศ. 2551
รอยละ
100

55.2

42.2

81.8

80

35.8

37.6

60
40

20

33.6

36.6

32.3

20

0

กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต
เฉียงเหนือ
หนังสือที่ไมใชสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม)

ทั่วราชอาณาจักร

ภาค

หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม)

เด็กอายุต่ํากวา 5 ป รอยละ 41.2 อาศัยอยูใน
ครัว เรือนที่มีห นังสือสําหรับ เด็ก อยา งนอย 3 เลม
โดยกรุงเทพมหานครมีสัดสวนสูงที่สุด (รอยละ 51.6)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนต่ําสุด (รอยละ 35.8)
และพบวารอยละ 61.7 ของเด็กเล็กอาศัยอยูในครัวเรือน
ที่มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็ก อยางนอย 3 เลม
โดยกรุงเทพมหานครมีสัดสวนสูงที่สุด (รอยละ 69.1)
และภาคใตมีสัดสวนต่ําสุด (รอยละ 55.2)
สําหรับคาเฉลี่ยของจํานวนหนังสือที่มีใน
ครัวเรือนพบวา ครัวเรือนที่มีเด็กเล็ก มีหนังสือที่
ไมใชหนังสือสําหรับเด็กโดยเฉลี่ยจํานวน 5 เลมตอคน
ในขณะที่มีห นัง สือ สํา หรับ เด็ก โดยเฉลี่ย จํา นวน
3 เลมตอคน

ประเภทของเลน

0
A

B

C

D

A = สิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน

B = สิ่งของจากนอกบาน

C = ของเลนที่ทําขึ้นเอง

D = ของเลนที่ซื้อมา/ไดมา

ผลการสํารวจพบวา รอยละ 42.7 ของเด็กอายุ
ต่ํากวา 5 ป มีของเลนอยางนอย 3 ประเภทใหเลน
โดยเด็กที่อยูภาคเหนือ มีของเลนอยางนอย 3 ประเภท
มากที่สุด (รอยละ 51.1) สวนเด็กที่อยูในภาคกลาง มีของเลน
อยางนอย 3 ประเภทนอยที่สุด (รอยละ 34.3)
แผนภูมิ 10 รอยละของเด็กอายุตากวา 5 ป ที่มีของเลนอยางนอย
่ํ
3 ประเภท ในครัวเรือน พ.ศ. 2551
รอยละ

60
50
40
30
20
10
0

51.1

42.7

45.0

41.7

42.1

34.3

ภาค
ทั่วราช กรุงเทพ
อาณาจักร มหานคร

กลาง

เหนือ ตะวันออก
เฉียงเหนือ

ใต
4. การศึกษา
4.1 การศึกษากอนวัยเรียน (อายุ 3 – 4 ป)
การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของ
เด็กอายุ 3 – 4 ป ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง มีความสําคัญ
ตอความพรอมของเด็กในการเขาเรียน จากการสํารวจ
ในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 – 4 ป
ทั้งสิ้น 1.8 ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4
(รอยละ 73.0) เปนผูที่กําลังเรียนในโปรแกรมกอน
วัยเรียน เชน การเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก หรือสถาน
รับเลี้ยงเด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และเมื่อ
พิจารณาเปนรายภาคและเขตการปกครองพบวา ทุกภาค
มีอัตราการเขาเรียนกอนวัยทุกประเภทสูงกวารอยละ 60
โดยภาคเหนือมีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุด (รอยละ 82.0)
เด็ ก ที่ อ ยู น อกเขตเทศบาล มี อั ต ราการเข า เรี ย น
กอนวัยเรียนสูงกวาเด็กที่อยูในเขตเทศบาล (รอยละ 74.5

และ 69.6 ตามลําดับ)
แผนภูมิ 11 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียน
ของเด็กอายุ 3 - 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัย
ในศูนยเด็กเล็กของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามภาค และ
เขตการปกครอง พ.ศ. 2551
รอยละ
100
82.0
75.6

80 73.0
62.6

60

67.9

72.5

69.6

41.0 41.5 55.1 78.6 56.4

44.3 66.2

20
0
ทั่วราช
อาณาจักร

4.2 การเขาเรียนของเด็กอายุ 5 ป
เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในจํานวนนี้
เปนเด็กที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 รอยละ 97.2
โดยเรียนในระดับกอนประถมศึกษา รอยละ 97.7 และ
เรียนในระดับประถมศึกษาและการศึกษาอื่นๆ รอยละ 2.3
แผนภูมิ 12 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และ
การเขาเรียนในปการศึกษา พ.ศ. 2551
ไมเรียน 2.8 %

ประถมศึกษา
และอื่น ๆ
2.3%

เรียน
97.2 %

กอน
ประถมศึกษา

ชาย 51.2 %
9.3
แสนคน
หญิง 48.8 %

97.7 %

74.5

40
59.7

เมื่ อ พิ จ ารณาประเภทของสถานศึ ก ษาที่ เ ด็ ก
กอนวัยเรียนเขาเรียน พบวาเด็กที่กําลังเรียนในโปรแกรม
กอนวัยเรียน สวนใหญเขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็ก
มากกวาประเภทอื่น (รอยละ 59.7) โดยเด็กเล็กในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีอัตราการเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก
มากที่สุดถึงรอยละ 78.6 นอกจากนี้พบวา เด็กเล็กที่อยู
นอกเขตเทศบาลเขาเรียนในศูนยเด็กเล็กสูงกวาเด็กเล็ก
ที่อยูในเขตเทศบาลอยางเห็นไดชัด (รอยละ 66.2 และ
44.3 ตามลําดับ)

เขตการ
กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ในเขต นอกเขต ปกครอง
เทศบาล เทศาล และภาค
เฉียงเหนือ

อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียน (ของเด็กอายุ 3 - 4 ป)
อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนในศูนยเด็กเล็ก (ของเด็กที่เขาเรียน)

4.3 การศึกษาของเด็กและเยาวชน (6 – 24 ป)
เด็กและเยาวชนที่อยูในวัยเรียน อายุ 6 – 24 ป

จํานวน 19.3 ลานคน เปนผูที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551
จํานวน 13.0 ลานคน หรือคิดเปนอัตราการเขาเรียน รอยละ 67.5
หากพิจารณาเปนกลุมอายุ พบวา กลุมอายุ 6 – 11 ป
มีอัตราการเขาเรียนมากที่สุด (รอยละ 99.4) รองลงมาคือ
เด็กกลุมอายุ 12 – 17 ป (รอยละ87.1) และเยาวชน
อายุ 18 – 24 ป (รอยละ 26.1) กรุงเทพมหานครมีอัตรา
การเขาเรียนสูงสุด (รอยละ 73.5) สวนภาคอื่นๆ
ที่เหลือมีสดสวนใกลเคียงกัน โดยภาคใตมีอตราต่ําที่สด
ั
ั
ุ
คือรอยละ 65.3

แผนภูมิ 14 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนก
ตามระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551

รอยละ 92.5

80.2

100

แผนภูมิ 13 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนก
ตามกลุมอายุของผูที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 และภาค

กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ

80

ตะวันออกเฉียงเหนือ

60
รอย
100

ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 67.5

99.4

40

87.1
73.5 66.2 67.7 67.8

80

65.3

60
26.1

20

28.4

20
0

40

ใต

ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา

อุดมศึกษา

ระดับการศึกษา
และภาค

4.4 เหตุผลที่ไมเรียน

0

กลุมอายุ
6 -11 ป
12-17 ป
18-24 ป

กทม.
กลาง
เหนือ

ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต

หากพิจารณาอัตราการเขาเรียนตามระดับ
การศึกษาและภาค พบวาอัตราการเขาเรียนระดับ
ประถมศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกภาคมี
อัตราการเขาเรียนประมาณรอยละ 90 (ภาคเหนือ
สูงสุดคือ รอยละ 92.5) และอัตราเริ่มลดลงในระดับ
มัธยมศึกษา แตยังเปนอัตราที่คอนขางสูงคือ เกินกวา
รอยละ 70.0 (ภาคเหนือสูงสุด คือรอยละ 80.2)
สว นอัต ราการเขา เรีย นระดับ อุด มศึก ษามีค วาม
แตกตางระหวางกรุงเทพมหานคร และภาคอื่น ๆ
อยางเห็นไดชัดคือ อัตราการเขาเรียนระดับอุดมศึกษา
(ปริญญาตรีขึ้นไป) ในกรุงเทพมหานครสูงที่สุดคือ
รอยละ 28.4 ในขณะที่ภาคอื่นมีอัตราไมเกินรอยละ 13.0
ซึ่งอาจเนื่องจากสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา
สวนใหญอยูในกรุงเทพมหานคร

สําหรับเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป ที่ไมเรียน
ในปการศึกษา 2551 มีทั้งสิ้น 6.3 ลานคนนั้น พบวา
เหตุผลทีไมเรียนมากที่สดคือ เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับใด
่
ุ
ระดับหนึ่งแลว (รอยละ 61.1) ซึ่งในกลุมนี้สวนใหญ
เปนผูที่เรียนจบระดับมัธยมศึกษา (รอยละ 67.2) เหตุผล
รองลงมาคือ ไมมีเงินเรียนรอยละ 21.7 ปวย/พิการ
รอยละ 2.5 นอกนันไมเรียนเพราะเหตุผลอืนๆ เชน ตอง
้
่
ทํางาน โรงเรียนอยูไกล ไมมสูติบัตร/ใบแจงเกิด การไมมี

ี
สัญชาติไทย การมีปญหาเรื่องภาษา เปนตน
แผนภูมิ 15 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป ที่ไมเรียน
จําแนกตามเหตุผลที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551
เหตุผลที่ไมเรียน
เหตุผลอื่น ๆ

1/

14.7%

ระดับการศึกษาของผูที่จบ
17.3

ประถมศึกษา

67.2

มัธยมศึกษา

ปวย/พิการ 2.5%
21.7

6.3 ลานคน 61.1%

ไมมีเงินเรียน
เรียนจบการศึกษาแลว
1/ ไมรวมไมทราบ

15.4
0.1

สูงกวามัธยมศึกษา
อื่น ๆ
5. ความสนใจใน IT
ผลการสํารวจเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป
พบวา เปนเด็กและเยาวชน จํานวน 20.2 ลานคน
และในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ มีอัตรา
การใชคอมพิวเตอร รอยละ 55.6
หากพิจารณาเปนกลุมอายุพบวา กลุมเด็กอายุ
11 – 17 ป มีอัตราการใชสูงที่สุด รอยละ 82.6
รองลงมาเปนกลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป มีอตราการใช
ั
รอยละ 44.2 และกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มีอัตรา
การใชนอยที่สดคือรอยละ 37.7
ุ

แผนภูมิ 17 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ไมใช
คอมพิวเตอร ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนก
ตามเหตุผลที่ไมใชและกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ

100

82.6

80
60

55.6
44.2

40

37.7

20
0

ทั่วราชอาณาจักร

5-

11 - 17

18 - 24

กลุมอายุ (ป)

5.1 เหตุผลที่ไมใชคอมพิวเตอร
เมื่ อ พิ จ ารณาเหตุ ผ ลที่ ไ ม ใ ช ค อมพิ ว เตอร
ของกลุมเด็กและเยาวชนอายุ 5 - 24 ป พบวา เด็กแตละวัย
มีความแตกตางดังนี้ เด็กอายุ 5 – 10 ป สวนใหญที่
ไมใชเพราะยังใชไมเปน (รอยละ 63.8) ในขณะที่
เด็กอายุ 11 – 17 ป ไมใชคอมพิวเตอรเพราะบานไมมี
คอมพิวเตอรมากที่สุด (รอยละ 38.3) รองลงมาคือ
ใชไมเปน (รอยละ 34.5) สวนเยาวชนอายุ 18 – 24 ป
ไมใชเพราะเหตุผลอื่น ๆ เชน ไมสนใจ ไมมีเวลาสูงที่สุด
(รอยละ 37.2) รองลงมาคือ บานไมมีคอมพิวเตอร
และใชไมเปน ซึ่งมีสัดสวนใกลเคียงกันคือ รอยละ 32.4
และรอยละ 30.2

23.9

80
60

37.2

34.5
3.3

30.2

4.4
20.

38.3

32.

5 – 10

11 - 17

18 - 24

63.8

40
20

แผนภูมิ 16 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่เคยใช
คอมพิวเตอร ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ
จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ

100

11.

0.2
กลุมอายุ (ป)

โรงเรียนไมมีคอมพิวเตอร
อื่นๆ ไดแก ไมสนใจ ไมมีเวลา

บานไมมีคอมพิวเตอร
ใชไมเปน

5.2 แหลงที่ใชคอมพิวเตอร
จากการสํารวจพบวา เด็กและเยาวชนใชคอมพิวเตอร
ที่ส ถานศึก ษามากที่ สุ ด โดยมี สัด สว นการใชสูงสุด
ในกลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป (รอยละ 78.2) แหลงที่ใช
รองลงมาคือที่บานและที่รานอินเทอรเน็ต โดยกลุมเยาวชน
อายุ 18 – 24 ป ใชที่รานอินเทอรเน็ต ในสัดสวนที่สูงกวา
กลุมอายุอื่น ๆ อยางเห็นไดชด (รอยละ 6.2)
ั
แผนภูมิ 18 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ใช
คอมพิวเตอรมากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ

100
80
60
40
20

0.7

1.0
0.7
75.1

1.6

1.6

6.2

78.2

47.3
0.1

23.1

19.5

5 – 10

11 - 17

ที่บาน
รานอินเทอรเน็ต

1

ที่ทํางาน
1/
อื่น ๆ

10.2
34.6
18 - 24

กลุมอายุ (ป)
สถานศึกษา

1/ : อื่นๆ ไดแก บานเพื่อน ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน ที่ทํางาน
ของพอ/แม
5.3 กิจกรรมที่ใชคอมพิวเตอร

6.1 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส

เมื่อพิจารณาการใชคอมพิวเตอรของเด็กและ
เยาวชน ในการทํากิจกรรมพบวา กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป
และ 11 – 17 ปใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนมากที่สด
ุ
รองลงมาใชเพื่อการบันเทิงและหาความรู สําหรับ
กลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป ใชคอมพิวเตอรเพื่อการ
เรียนสูงเปนอันดับ 1 เชนกัน (รอยละ 63.5) และ
เนื่องจากมีบางคนในกลุมนีเ้ ขาสูการทํางานแลว จึง
พบวาสัดสวนที่ใชเพื่อการทํางานสูงขึนอยางเห็นไดชัด
้
เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมอายุอื่น ๆ และเปนที่นาสังเกตวา
การใชคอมพิวเตอรเพื่อความบันเทิง และเพื่อทอง
อินเทอรเน็ตสูงกวากลุมอายุอื่นเชนกัน
แผนภูมิ 19 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 - 24 ป ที่ใช
คอมพิวเตอรในการทํากิจกรรม จําแนกตามประเภท
กิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ 0.4
0.1
0.2

100
80

11.0
2.8

0.5

1.1
4.6
3.8

3.6
11.8
8.3

60
40

85.3

90.3

0

5 – 10
ทํางาน
บันเทิง

11 - 17

100

99.8

89.1
75.0
51.2

40
20
กลุมอายุ (ป)

18 - 24

การเรียน
ทองอินเทอรเน็ต

รอยละ

60

12.6

0.1

แผนภูมิ 20 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่เคยไดยินเกี่ยวกับ
โรคเอดส และความเขาใจเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV/AIDS
เปนอยางดี พ.ศ. 2551

80

63.5

20

ผลการสํารวจความรูเกียวกับแนวทางการปองกันการ
่
ติดเชือ HIV ที่เด็กและเยาวชนอายุ 13 – 14 ป ตอบสัมภาษณ
้
ดวยตนเองพบวา เกือบทุกคนเคยไดยินเรื่องโรคเอดส
(รอยละ 99.8) แตความรูเกียวกับแนวทางการปองกันการ
่
ติดเชื้อในแตละวิธีมีความแตกตางกันดังนี้คือ ทราบวา
การใชถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธชวยปองกัน
เอดสไดสูงสุดรอยละ 89.1 รองลงมาคือ ทราบวาการมี
เพศสัมพันธกบคูครองทีไมตดเชื้อและซื่อสัตยเพียงคนเดียว
ั
่ ิ
เทานั้น ชวยปองกันเอดสได (รอยละ 75.0) และรอยละ 51.2
ทราบวา ถาละเวนการมีเพศสัมพันธจะไมติดเชื้อ

หาความรู
อื่น ๆ

หมายเหตุ : ไมรวมไมทราบ

6. ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส
ในปจจุบันนี้ โรคเอดสเปนโรคหนึ่งที่คุกคาม
ภาวะสุขภาพของประชากรไทย ปจจัยหนึ่งที่จะชวยใน
การลดอัตราการติดเชือ HIV ได คือการสรางสังคมใหมี
้
ความรูความเขาใจเกียวกับโรคเอดสอยางถูกตอง เพื่อให
่
ประชากรสามารถปองกันตนเองไมใหตดเชือได
ิ ้

0

ความเขาใจ
ุ
การเคยไดยิน มีเพศสัมพันธกับ ใชถงยางอนามัย ละเวนการมี เกี่ยวกับ AIDS
คูคนเดียว
ทุกครั้ง
เพศสัมพันธ

6.2 ความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส
สําหรับความเขาใจวา เชื้อ HIV ไมสามารถ
ติดตอกันไดโดยการถูกยุงกัดหรือการกินอาหารรวมกับ
ผูปวยเอดสนั้น พบวารอยละ 72.9 และ 72.6 ที่เขาใจ
ไดถูกตอง และมีรอยละ 68.6 ที่ทราบวาผูที่มีสุขภาพดี

สามารถมีเชื้อ HIV ได
แผนภูมิ 21 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่มีความ
เขาใจถูกตองเกี่ยวกับความคิดที่มักเขาใจผิดเกี่ยวกับ
โรคเอดส พ.ศ. 2551
รอยละ
100
80

72.9

72.6

68.6

60
40
20
0

ความเขาใจถูกตอง
ถูกยุงกัดอาจ กินอาหาร
ผูที่ดูมีสุขภาพดี เกี่ยวกับ AIDS
ติดเอดส รวมกับคนเปนเอดส อาจเปนเอดสก็ได

7. แหลงน้ําดื่มของครัวเรือน
น้ําเปนสิ่งจําเปนสําหรับรางกาย น้ําดื่มที่สะอาด
จึงเปนปจจัยจําเปนพื้นฐานสํ าหรับการมีสุขภาพดี
น้ําดื่มที่ไมสะอาดและมีสารปนเปอน สามารถเปน
บ อ เกิ ด ของโรคต าง ๆ มากมาย เช น ริ ด สี ดวงตา
อหิวาตกโรค ไขรากสาด และโรคพยาธิใบไม เปนตน
แผนภูมิ 22 รอยละของครัวเรือน จําแนกตามการมีแหลงน้ําดื่มที่
1/
สะอาด เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
รอยละ
99.0 96.6
100

ผลจากการสํารวจพบวา รอยละ 97.4 ของครัวเรือน
มีแหลงน้ําดื่มที่สะอาด เพื่อบริโภค โดยครัวเรือนที่อยู
ในเขตเทศบาลมีแหลงน้ําดื่มที่สะอาด สูงกวานอกเขต
เทศบาลเล็กนอย (รอยละ 99.0 และรอยละ 96.6 ตามลําดับ)
เมื่อเปรียบเทียบระหวางภาคพบวา กรุงเทพมหานคร
และภาคกลางไดดื่ม น้ํา จากแหลง น้ํา ดื่ม ที่ส ะอาดถึง
รอยละ 99.0 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ รอยละ 98.5
ในขณะที่ครัวเรือนในภาคเหนือและภาคใต ดื่มน้ําจาก
แหลงน้ําดื่มที่สะอาดในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน และนอยกวา
ภาคอื่น ๆ คือ รอยละ 94.0
เปนที่นาสังเกตวา การบริโภคน้ําดื่มบรรจุขวด
ภาคใตมีสัดสวนของครัวเรือนที่บริโภคมากที่สุด คือ
รอยละ 46.0 ในขณะที่ก รุ ง เทพมหานคร และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีสัดสวนคอนขางนอยคือ รอยละ 27.1
และ 10.2 ตามลําดับ (แผนภูมิ 22)
หากพิจารณาแหลงน้าดื่มที่สะอาด ที่ครัวเรือน
ํ
บริโภคมากทีสุดคือ น้ําฝน (รอยละ 38.0) รองลงมาคือ
่
น้ําดื่มบรรจุขวด (รอยละ 27.4) และน้ําประปาตอทอ
เขาบาน (รอยละ 21.5)
แผนภูมิ 23 รอยละของครัวเรือน จําแนกตามแหลงน้ําดื่มหลัก พ.ศ. 2551

99.6 99.5 93.7 98.5 94.1

น้ําฝน 38.0 %

น้ําดื่มบรรจุขวด 27.4 %

80
60
40
20
0

38.7

43.9
19.6

27.1

46.0

34.1
10.2

น้ําบาดาล 4.0 %
น้ําประปาตอทอเขาบาน 21.5 %
เขตการ
น้ําพุจากธรรมชาติ
น้ําบอที่ มีการปองกัน 4.5 %
ในเขต นอกเขต
กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ปกครอง
ที่มีการปองกัน 0.3 %
เทศบาล เทศบาล
เฉียงเหนือ
และภาค น้ําประปาที่ตอเขาบริเวณบาน
1/
1/ น้ําดื่มสะอาดหมายถึง น้ําประปา น้ําบาดาล น้ําบอ/น้ําพุ ที่มีหลังคา
และน้ําประปาจากกอกน้ําสาธารณะ 1.7 % อื่น ๆ 2.6 %
หรือฝาปด น้ําฝนและน้ําบรรจุขวด (ตามขอกําหนดของ MIC3)
1/ หมายถึง แหลงน้ําดื่มที่ไมสะอาดไดแก น้ําบอ/น้ําพุที่ไมมีหลังคา
หรือฝาปด รถบรรทุกน้ํา
สารบัญตารางสถิติ
1. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)
ตาราง 1 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม
กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 1.1 จํานวนและรอยละลักษณะการอยูอาศัยของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตาม
การอยูอาศัยกับพอหรือแม กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 1.2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามลักษณะ
ของการกําพรา กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 2 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามผูดูแล กลุมอายุ

เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 3 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามเหตุผลทีพอไมอยู

่
ในครัวเรือน กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 4 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่แมไมไดอยูในครัวเรือนจําแนกตามผูดูแล กลุมอายุ

เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 5 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่แมไมอยูในครัวเรือน จําแนกตามเหตุผลที่แมไมอยู
ในครัวเรือน กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
ตาราง 1 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
Table 1 Number and percentage of child and youth aged 0 - 17 years according to living arrangements by living with parents, age group, sex, area and region, 2008
จํานวนเด็กอายุ
กลุมอายุ (ป) เพศ
เขตการปกครอง
และภาค

รวม
กลุมอายุ (ป)
0-4
5-9
10 - 14
15 - 17

0 - 17 ป
Number of child
and youth
aged 0 - 17
years
17,422,291
4,566,922
4,590,979
5,116,341
3,148,049

อยูกับพอ
และแม
Living with
both parents
จํานวน
รอยละ
Number
%
10,773,242
2,905,597
2,803,698
3,110,871
1,953,076

61.8
63.6
61.1
60.8
62.1

ไมไดอยูกับ
พอและแม
Living with
neither parent
จํานวน
รอยละ
Number
%
3,499,044
898,393
1,003,238
998,763
598,650

20.1
19.7
21.9
19.5
19.0

อาศัยอยูกับ
แมเทานั้น
Living with
mother only
จํานวน
รอยละ
Number
%
2,612,956
662,838
643,761
817,820
488,537

15.0
14.5
14.0
16.0
15.5

อาศัยอยูกับ
พอเทานั้น
Living with
father only
จํานวน
Number
537,050
100,094
140,282
188,887
107,787

รอยละ
%

Age group (years),
sex, area
and region

3.1
2.2
3.0
3.7
3.4

Total
Age group (years)
0-4
5-9
10 - 14
15 - 17
Sex

เพศ
ชาย

8,907,141

5,567,969

62.5

1,762,196

19.8

1,307,231

14.7

269,745

3.0

Male

หญิง

8,515,151

5,205,273

61.2

1,736,848

20.4

1,305,726

15.3

267,304

3.1

Female

เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล

5,077,475
12,344,816

3,279,265
7,493,976

64.6
60.7

835,772
2,663,272

16.5
21.6

774,586
1,838,371

15.2
14.9

187,852
349,197

3.7
2.8

Area
Municipal
Non-municipal

4.4
3.8
3.2
2.4
2.7

Region
Bangkok Metropolis
Central
North
Northeast
South

ภาค
กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต

1,494,411
3,878,106
2,923,953
6,385,863
2,739,959

1,053,460
2,491,089
1,673,351
3,497,864
2,057,477

70.5
64.2
57.2
54.8
75.1

177,150
683,511
667,076
1,657,558
313,748

11.9
17.7
22.8
26.0
11.4

197,177
555,204
491,388
1,073,740
295,448

13.2
14.3
16.8
16.8
10.8

66,623
148,302
92,138
156,701
73,286
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551

More Related Content

Viewers also liked

олонхо
олонхоолонхо
олонхоmyasko
 
чысхаан – властитель холода
чысхаан – властитель  холодачысхаан – властитель  холода
чысхаан – властитель холодаmyasko
 
вилюйский улус
вилюйский улусвилюйский улус
вилюйский улусmyasko
 
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)aoyama-lab
 
Fts
FtsFts

Viewers also liked (8)

олонхо
олонхоолонхо
олонхо
 
чысхаан – властитель холода
чысхаан – властитель  холодачысхаан – властитель  холода
чысхаан – властитель холода
 
вилюйский улус
вилюйский улусвилюйский улус
вилюйский улус
 
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
 
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
 
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
 
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
 
Fts
FtsFts
Fts
 

Similar to สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551

สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551Mr-Dusit Kreachai
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆBe SK
 
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
Boonlert Aroonpiboon
 
1432 file
1432 file1432 file
1432 file
yaimai4
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...Be SK
 
ยางนา ฉบับที่ 69
ยางนา ฉบับที่  69ยางนา ฉบับที่  69
ยางนา ฉบับที่ 69Mr-Dusit Kreachai
 
ยางนา ฉบับที่ 67
ยางนา ฉบับที่  67ยางนา ฉบับที่  67
ยางนา ฉบับที่ 67Mr-Dusit Kreachai
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
Canned Pumpui
 
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้างพจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้างBe SK
 
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
Ict Krutao
 
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
Somchart Phaeumnart
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
60919
 
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
FURD_RSU
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
chaimate
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
Pattie Pattie
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนwongsrida
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
Miss.Yupawan Triratwitcha
 

Similar to สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551 (20)

สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
 
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
 
1432 file
1432 file1432 file
1432 file
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
 
ยางนา ฉบับที่ 69
ยางนา ฉบับที่  69ยางนา ฉบับที่  69
ยางนา ฉบับที่ 69
 
ยางนา ฉบับที่ 67
ยางนา ฉบับที่  67ยางนา ฉบับที่  67
ยางนา ฉบับที่ 67
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้างพจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัวและการหย่าร้าง
 
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
 
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีน
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551

  • 1.
  • 2. หนวยงานที่เผยแพร สํานักสถิติพยากรณ สํานักงานสถิติแหงชาติ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคาร B ชั้น 2 ถนนแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท 0 2143 1323 ตอ 17496 โทรสาร 0 2143 8132 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส services@nso.go.th Distributed by Statistical Forecasting Bureau National Statistical Office The Government Complex, Building B2nd Floor, Chaeng Watthana Rd., Laksi Bangkok 10210 Tel : +66 2143 1323 ext. 17496 Fax : +66 2143 8132 Email : services@ nso.go.th ปที่จัดพิมพ 2553 Published 2010
  • 3. คํานํา สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดดําเนินการสํารวจเด็กและเยาวชน ครั้งแรกในป 2517 ตามคําแนะนํา และความรวมมือขององคการเงินทุนสงเคราะหเด็กแหงสหประชาชาติ (UNICEF) และสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 เปนการสํารวจครั้งที่ 12 เปนการ เก็บรวบรวมขอมูลที่มีความสอดคลองกับโครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2549 (MICS : The Multiple Indicator Cluster Survey) ซึ่งเปนการจัดทําขอมูลเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนที่เปน มาตรฐานสากล และสามารถนําไปเปรียบเทียบกับนานาชาติได นอกจากนี้ยังสามารถนําไปใชเปนตัวชี้วัด ในการ ประเมินแผนการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของดานเด็กและเยาวชน รายงานผลการสํารวจฉบับนี้ เปนรายงานผลฉบับสมบูรณ ซึ่งไดนําเสนอรายละเอียดขอมูล พื้นฐานทางประชากรและสังคมของเด็กและเยาวชน โดยเสนอผลในระดับประเทศ และระดับภาค สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 4. บทสรุปผูบริหาร  1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีประมาณ 24.7 ลานคนเปนชาย 12.6 ลานคน (รอยละ 51.1) และ หญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9) ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1 และ เยาวชน (18 - 24 ป) รอยละ 29.7 แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตาม เพศ และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 สําหรับเด็กที่มีภาวะกําพรา ซึ่งอาจกําพราทั้งพอ และแมหรือคนใดคนหนึ่งนั้นพบวา มีแนวโนมลดลงทั้ง เด็กหญิงและชาย เมือเปรียบเทียบกับการสํารวจในป 2548 - 49 ่ โดยพบวา เด็ ก กําพร า ในเขตเทศบาลมี สั ด ส ว นลดลง เล็กนอย ในขณะที่นอกเขตเทศบาลลดลงมากกวาคือ จาก รอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 ภาวะกําพราของเด็กในภาค ตางๆ มีสัดสวนลดลงทุกภาค โดยลดลงประมาณรอยละ 1 สวนภาคใตลดลงเพียงรอยละ 0.4 แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามเขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551 0-5 22.2 % ชาย 24.7 ลานคน 18 - 24 29.7 % 6 – 17 48.1 % หญิง รอยละ 7 5 กลุมอายุ (ป) เพศ 4.6 4.8 4.5 4.3 4 3 2 2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) 6.5 6 4.1 3.9 3.9 5.3 3.3 4.5 4.1 1 เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน พบวา เปนเด็กที่อาศัยอยูกับพอและแมรอยละ 61.8 และรอยละ 20.1 ไมไดอยูกับพอและแมหรือเปนเด็กกําพรา  0 ในเขต นอกเขต เทศบาล เทศบาล ป 2548 - 49 กทม. เหนือ ตะวันออก ใต เฉียงเหนือ และกลาง เขตการปกครอง และภาค ป 2551 1 โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 – ก.พ. 49 แผนภูมิ 2 รอยละของ เด็กอายุ 0 – 17 ป จําแนกตามลักษณะ การยูอาศัยของเด็ก พ.ศ. 2551 อยูกับแมเทานั้น อยูกับพอเทานั้น 15.0 % 3.1 % 17.4 20.1 % อื่น ๆ1 / 61.8 % ลานคน 11.9 17.7 22.8 26.0 11.4 กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต อยูกับพอและแม 1/ อื่นๆ หมายถึง เด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม หรือเปนเด็กกําพราที่พอ/แม เสียชีวิต หรือกําพราทังพอและแม ้ 3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป) ชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็กมีการ พั ฒ นาเร็ ว ที่ สุ ด โดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ป ของชีวิต การเลี้ยงดูในบาน จึงเปนสิ่งสําคัญที่สุดตอการพัฒนาการ ของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ สําหรับเด็กและสภาพการเลี้ยงดูในบานจึงเปนปจจัยแวดลอม ที่สําคัญ
  • 5. ผลการสํารวจพบวา เด็กเล็กในประเทศรอยละ 96.1 ไดรับการดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน ในการทํา กิจกรรมรวมกันอยางนอย 4 กิจกรรมในขณะที่เด็กที่มี พอรวมทํากิจกรรมอยางนอย 1 กิจกรรมมีรอยละ 60.7 แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กเล็กที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวม 1/ ในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551 รอยละ 100 9696. 80 96.1 60 60.7 60.7 40 20 0 สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป 1/ กิจกรรม 6 ประเภท ไดแก 1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพรวมกับเด็ก 2. การเลานิทาน/เลาเรื่องตาง ๆ ใหเด็กฟง 3. การรองเพลงรวมกับเด็ก/รองเพลง 4. การพาเด็กไปนอกบาน กลอมเด็ก 6. การทํากิจกรรมอื่น เชน เรียกชื่อ นับเลข 5. การเลนกับเด็ก วาดรูป เปนตน การมีหนังสือในครัวเรือน มีสวนชวยสงเสริม พัฒนาการของเด็ก เพราะทําใหเด็กไดมโอกาสรับฟง ี เรื่องตาง ๆ ในหนังสือโดยผูดูแลเปนผูอานใหฟง รวมทั้ง  ไดเห็นคนในครัวเรือนอานหนังสือที่ลวนมีผลตอการ อยากเขาเรียนและไอคิวของเด็กนัน ซึ่งจากการสํารวจ ้ ครั้งนี้พบวา เด็กเล็กรอยละ 41.2 อาศัยอยูในครัวเรือนที่มี หนังสือสําหรับเด็กอยางนอย 3 เลมในขณะที่รอยละ 61.7 ของเด็กเล็ก อาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือที่ไมใช หนังสือสําหรับเด็กอยางนอย 3 เลม แผนภูมิ 5 รอยละของครัวเรือนที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตามประเภทหนังสือ พ.ศ. 2551 รอยละ 80 60 40 61.7 20 41.2 ประเภทหนังสือ 0 หนังสือไมใชสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) 4. การศึกษา การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของเด็กอายุ ต่ํากวา 5 ป ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งมีความสําคัญตอ ความพรอมของเด็กในการเขาเรียนจากการสํารวจในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 - 4 ปทั้งสิ้น 1.8 ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่ กําลังเรียนในโปรแกรมกอนวัยเรียน เชน การเขาเรียนใน ศูนยเด็กเล็ก หรือสถานรับเลี้ยงเด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และสวนใหญเขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็ก มากกวาประเภทอื่น (รอยละ 59.7) โดยเด็กที่อยูนอกเขต เทศบาล เรียนในศูนยเด็กเล็กสูงกวาเด็กที่อยูในเขตเทศบาล (รอยละ 66.2 และ 44.3 ตามลําดับ) แผนภูมิ 6 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียนของ เด็กอายุ 3 – 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัยในศูนยเด็กเล็ก ของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามเขตการปกครองพ.ศ. 2551 รอยละ 100 80 73.0 74.5 69.6 60 40 20 0 59.7 44.3 66.2 เขตการ ทั่วราชอาณาจักร ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ปกครอง อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียน (ของเด็กอายุ 3 - 4 ป) อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนในศูนยเด็กเล็ก (ของเด็กที่เขาเรียน)
  • 6. เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในปการศึกษา 2551 พบวา ในกลุมผูที่เรียนเปนผูที่เรียนในระดับกอน ประถมศึกษา รอยละ 97.7 สวนที่เหลือ เรียนในระดับ ประถมศึกษา และการศึกษาอื่น ๆ รอยละ 2.3 แผนภูมิ 7 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และการเขาเรียนในปการศึกษา พ.ศ. 2551 ไมเรียน 2.8 % ประถมศึกษา และอื่น ๆ 2.3% ชาย 51.2 % 9.3 แสนคน เรียน 97.2 % 100 แผนภูมิ 8 อัตราการเขาเรียนของเด็กวัยประถมศึกษา (6 – 11 ป) ในปการศึกษา 2551 รอยละ 90.9 91.7 92.5 89.2 89.1 60 40 20 0 กรุงเทพ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต มหานคร เฉียงเหนือ ทั่วราช อาณาจักร ภาค สําหรับอัตราการเขาเรียนของเยาวชนอายุ 18 – 24 ป ที่กําลังเรียนในระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป และผูที่กําลังเรียนในระดับอุดมศึกษาพบวา กรุงเทพมหานคร มีอัตราการเขาเรียนสูงกวาทุกภาคคือ รอยละ 32.4 และ 28.4 ตามลําดับ แผนภูมิ 10 อัตราการเขาเรียนของเยาชนอายุ 18 - 24 ป ทีกําลังเรียน ่ ระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย และปริญญาตรีขนไป ึ้ พ.ศ. 2551 รอยละ 40 80 32.4 60 30 40 28.4 20 20 0 79.2 77.0 80.2 78.1 73.3 77.6 80 97.7 % เด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป มีทั้งสิ้น 19.2 ลานคน เปนผูที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน หรือรอยละ 67.5 เด็กเล็กอายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียน ในระดับประถมศึกษาหรือสูงกวา ทั่วประเทศรอยละ 90.5 90.5 รอยละ กอน ประถมศึกษา หญิง 48.9 100 แผนภูมิ 9 อัตราการเขาเรียนของเด็กวัยมัธยมศึกษา (12 - 17 ป) จําแนกตามภาค พ.ศ. 2551 ภาค ทั่วราช อาณาจักร กรุงเทพ กลาง เหนือ ตะวันออก ใต มหานคร เฉียงเหนือ 17.4 16.0 11.0 10 12.2 8.6 5.3 0 ในขณะทีเ่ ด็กวัยมัธยมศึกษา (12 – 17 ป) มี อัตราการเขาเรียนในระดับมัธยมศึกษาหรือสูงกวา ของทุกภาคเกินกวารอยละ 70 กรุงเทพ มหานคร กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับปริญญาตรีขึ้นไป 11.8 7.3 ใต ภาค
  • 7. สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิ 1 แผนภูมิ 2 แผนภูมิ 3 แผนภูมิ 4 แผนภูมิ 5 แผนภูมิ 6 แผนภูมิ 7 แผนภูมิ 8 แผนภูมิ 9 แผนภูมิ 10 แผนภูมิ 11 แผนภูมิ 12 แผนภูมิ 13 แผนภูมิ 14 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551  รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่ไมไดอยูกบพอและแม จําแนกตามเขตการปกครอง ั และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามลักษณะของการกําพรา และภาค พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอ/แมไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามผูดูแล  พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอ มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551 คาเฉลี่ยจํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือนและพอ มีสวนรวมในการทํากิจกรรม สงเสริม การเรียนรูและการเตรียมความพรอมกอนวัยเรียน ของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป พ.ศ. 2551 รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทกิจกรรม พ.ศ. 2551 รอยละของครัวเรือน ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตามประเภทหนังสือ และภาค พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตาม ประเภทของทีเ่ ลนเมื่ออยูที่บาน พ.ศ. 2551  รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่มีของเลนอยางนอย 3 ประเภทในครัวเรือน พ.ศ. 2551 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึง กอนวัยเรียนของเด็กอายุ 3 - 4 ป ่ และอัตราการเขาเรียนกอนวัยในศูนยเด็กเล็กของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ. 2551 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และการเขาเรียนในปการศึกษา พ.ศ. 2551 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนกตามกลุมอายุของผูที่ กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 และภาค อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนกตามระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551
  • 8. สารบัญแผนภูมิ (ตอ) แผนภูมิ 15 แผนภูมิ 16 แผนภูมิ 17 แผนภูมิ 18 แผนภูมิ 19 แผนภูมิ 20 แผนภูมิ 21 แผนภูมิ 22 แผนภูมิ 23 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป ที่ไมเรียน จําแนกตาม เหตุผลที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่เคยใชคอมพิวเตอร ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551  อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ไมใชคอมพิวเตอร ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามเหตุผลที่ไมใช และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอรมากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551  อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 - 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอรในการทํากิจกรรม จําแนกตามประเภทกิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 ่ รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่เคยไดยินเกียวกับโรคเอดส และ ความเขาใจเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV/AIDS เปนอยางดี พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่มีความเขาใจถูกตองเกี่ยวกับความคิด ที่มักเขาใจผิดเกี่ยวกับโรคเอดส พ.ศ. 2551 รอยละของครัวเรือน จําแนกตามการมีแหลงน้ําดื่มที่สะอาด เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 รอยละของครัวเรือน จําแนกตามแหลงน้ําดื่มหลัก พ.ศ. 2551
  • 9. สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551
  • 10. บทที่ 1 บทนํา 1. ความเปนมา สื บเนื่ องจากประเทศไทยเป นประเทศหนึ่ ง ในจํานวน 191 ประเทศ ที่ไดรวมลงนามในปฏิญญาโลก วาดวยความอยูรอด การปกปอง และการพัฒนาเด็ก พ.ศ. 2533 และลงนามร วมกั น 189 ประเทศ ในแผน ปฏิบัติการโลกที่เหมาะสมสําหรับเด็ก พ.ศ. 2545 ในขอตกลงตามเอกสารดังกลาว รัฐบาลของแตละ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย มี ขอผู ก พั น ที่ จ ะตอง ปรั บ ปรุ ง สภาพความเป น อยู ข องเด็ ก ให เ หมาะสม และจะต อ งติ ด ตามความก า วหน า และผลการ ดําเนินงานของแผนงาน เพื่อใหบรรลุเปาประสงค ที่รวมกันตั้งไวตามปฏิญญาดังกลาว ดั ง นั้ น สํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห ง ชาติ ร ว มกั บ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ จึงได จัดทําโครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย พ.ศ. 2548 - 2549 ขึ้น โดยไดรับเงินสนับสนุนจาก องคการยูนิเซฟ ประเทศไทย เพื่อใหหนวยงานใน กระทรวงตาง ๆ ที่เ กี่ย วขอ งกับ การพัฒ นาสัง คม และสิ่ ง แวดล อ มให กั บ เด็ ก รวมทั้ ง หน ว ยงาน ระหวา งประเทศอื่น ๆ ในองคก ารสหประชาชาติ มีฐ านขอ มูล เกี ่ย วกับ เด็ก ที ่เ ปน มาตรฐานสากล สามารถนําไปเปรียบเทียบกับนานาชาติได และเพื่อนํา ขอมูลไปใชติดตามความกาวหนาของนโยบายและ แผนยุทธศาสตรร ะดับชาติดานการพัฒนาเด็ก ตาม แนวทางโลกที่เหมาะสมสําหรับเด็ก (พ.ศ. 2543 – 2559) ดั ง นั้ น เพื ่อ ใหม ีข อ มูล เกี ่ย วกับ สถานการณเ ด็ก อยางตอเนื่อง สํานักงานสถิติแหงชาติ จึงไดจัดเก็บ รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับเด็กอีกครั้งหนึ่งในโครงการ สํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ซึ่งเปนโครงการ ประจําของสํานักงานสถิติแหงชาติ 2. วัตถุประสงค เพื่อใหมีขอมูลเกี่ยวกับสถานการณเด็กทั้งใน ระดับประเทศและระดั บจั งหวั ด เพื่ อให ผูที่ เกี่ยวข อง นําไปใชในการกําหนดนโยบาย แผนปฏิบัติงานและ มาตรการตาง ๆ เกี่ยวกับเด็กไดอยางถูกตองเหมาะสม รวมทั้งเพื่อใหไ ดขอมูลสําหรับติดตามความกาวหนา ตามเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (MDGs) และ เปาหมายที่เหมาะสมสําหรับเด็ก (WFFC) และเปาหมาย อื่นๆ ตามขอตกลงระหวางประเทศ 3. ประโยชน 1. ประเทศมีขอมูลสถิติพื้นฐานทางประชากร และสังคมของเด็กและเยาวชน ไดแก อายุ เพศ สภาพ การอยูอาศัย การทํางาน การศึกษาระดับประถมและมัธยม การรูหนังสือ ความสนใจใน IT ความรูเกียวกับ HIV  ่ 2. ประเทศมีขอมูลของเด็กและเยาวชนในระดับ ยอยที่จําแนกตาม ภูมิภาค เพศ และกลุมอายุ 4. ขอบขายและคุมรวม การสํารวจนี้คุมรวมครัวเรือนสวนบุคคลที่มี เด็กและเยาวชน ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ไมรวม ครัวเรือนพิเศษ ครัวเรือนสถาบัน และครัวเรือนชาวตางประเทศที่ทํางาน ในสถานทูตหรือองคการระหวางประเทศที่มีเอกสิทธิ์ ทางการทูต
  • 11. 5. คาบเวลาในการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล 7. การนําเสนอผล ดําเนินการสํารวจพรอมกันทั่วประเทศ ใน ระหวางสัปดาหสุดทายของเดือน กรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน 2551 นําเสนอผลระดับทั่วราชอาณาจักร ภาค และ เขตการปกครอง ดังนี้ 1. สรุปผลเบื้องตน 2. รายงานผลฉบับพกพา (Pocket Book) 3. รายงานผลฉบับสมบูรณ 6. การประมวลผลขอมูล • ทําการบรรณาธิกรและลงรหัสที่สํานักงาน สถิ ติ จั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด • บันทึกขอมูลและตรวจสอบขอมูลดวย เครื่องคอมพิวเตอร และประมวลผลตารางที่สํานักงาน สถิติแหงชาติ กรุงเทพมหานคร
  • 12. บทที่ 2 สรุปผลการสํารวจ สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการสํารวจ เด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551โดยเก็บรวบรวมขอมูลของ เด็กและเยาวชนอายุไมเกิน 24 ป ในเดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน พ.ศ. 2551 จากจํานวน ครัวเรือนตัวอยางประมาณ 59,000 ครัวเรือน การสํารวจเด็กและเยาวชนครั้งนี้ เพื่อใหมี ขอมูลสําหรับนําไปใชประเมินสถานการณเด็กและ เยาวชน ในประเทศ การคํานวณตัวชีวัดตางๆ และ ้ สามารถใชติดตามความกาวหนาของนโยบาย และ แผนยุทธศาสตรระดับชาติดานการพัฒนาเด็กตาม แนวทางโลกที่เหมาะสมสําหรับเด็ก 1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีอยู ประมาณ 24.7 ลานคน เปนชาย 12.6 ลานคน (รอย ละ51.1) และหญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9) ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1 และเยาวชน (18 - 24 ป) รอย ละ 29.7 แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551 ชาย 51.1% 24.7 ลานคน หญิง 48.9% กรุงเทพมหานคร ใต 8.2% 15.6% 0–5 22.2% 18 - 24 29.7% 6 – 17 48.1% กลุมอายุ (ป) ตะวันออก เฉียงเหนือ 36.5% 22.5% 17.2% เหนือ ภาค กลาง หากจําแนกเด็กและเยาวชนเหลานี้เปน 4 กลุมยอย จะพบวา เปนกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มากที่สุดคือ 7.3 ลานคน และเกือบ 3 ใน 4 ของเด็กและเยาวชนอยูนอกเขต เทศบาล (17.6 ลานคน) โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเด็กและเยาวชนมากที่สุด 9.0 ลานคน (รอยละ 36.5) ในขณะที่กรุงเทพมหานคร มีเด็กและเยาวชนนอยที่สุด 2.0 ลานคน (รอยละ 8.2) ตารางที่ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 (หนวยเปนพัน) เพ ศ เขตการปกครอง และภาค ทั่ ว ราชอาณาจั ก ร เพ ศ ชาย หญิ ง เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค กรุง เทพมหานคร กลาง เหนื อ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ใต กลุ ม อายุ (ป ) รวม 24,796.9 0 – 5 ป 6 – 11 ป 12 – 17 ป 18 – 24 ป 5,500.2 5,762.7 6,159.3 7,374.8 12,667.8 12,129.2 2,802.6 2,697.6 2,950.4 2,812.3 3,154.2 3,005.2 3,760.6 3,614.1 7,138.2 17,658.8 1,745.5 3,754.7 1,671.3 4,091.3 1,660.6 4,498.7 2,060.7 5,314.1 2,036.4 5,571.9 4,266.0 9,042.0 3,880.7 588.0 1,261.6 834.9 1,908.0 907.7 490.9 1,280.7 962.8 2,135.9 892.4 415.5 1,335.8 1,126.3 2,341.9 939.8 542.0 1,693.7 1,342.1 2,656.1 1,140.8 2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) สภาพสังคมและเศรษฐกิจปจจุบัน ทําใหเด็กบางคน ขาดการดูแลจากพอแม ตองอยูหางไกลจากพอแมผูใหกําเนิด  หรือเปนเด็กกําพรา ซึ่งภาวะเชนนี้ทําใหเด็กตองเผชิญ กับปญหาตางๆ เชน ภาวะขาดแคลน การถูกทอดทิ้งการถูก เอารัดเอาเปรียบดานแรงงานหรือทางเพศในรูปแบบตาง ๆ ฉะนั้นการเฝาติดตามลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก และ การจัดหาทีอยูอาศัยใหกับเด็ก จะชวยใหสามารถปองกัน ่  เด็กจากภาวะเสี่ยงดังกลาวได
  • 13. ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยู อาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551 การอยูอาศัยของเด็ก เพศ เขตการปกครอง และภาค ทั่วราชอาณาจักร เพศ ชาย หญิง เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉีย งเหนือ ใต รวม อยูกับ อยูกับ   พอและ แม แม เทานั้น อยูกับ ไมไ ดอยู  พอ กับพอ เทานั้น และแม 17,422,291 61.8 15.0 3.1 20.1 8,907,141 8,515,151 62.5 61.2 14..7 15..3 3.0 3.1 19.8 20.4 5,077,475 12,344,816 64.6 60.7 15.2 14.9 3.7 2.8 16.5 21.6 1,494,411 3,878,106 2,923,953 6,385,863 2,739,959 70.5 64.2 57.2 54.8 75.1 13.2 14.3 16.8 16.8 10.8 4.4 3.8 3.2 2.4 2.7 11.9 17.7 22.8 26.0 11.4 ของเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแมเพิ่มขึ้นเล็กนอย ทั้งในเขต เทศบาลและนอกเขตเทศบาล และเมื่อพิจารณาเปนรายภาค พบวา ทุกภาคมีสัดสวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะภาคใตเพิมขึ้น ่ มากกวาภาคอืนคือ จากรอยละ 9.8 ใน พ.ศ. 2548 - 49 ่ เปนรอยละ 11.4 ในพ.ศ. 2551 แตอยางไรก็ตาม เมือเทียบ ่ กับภาคอื่นๆ อัตราการไมไดอยูกับพอแมของภาคใตกยง ็ั เปนสัดสวนที่ต่ําสุด ขณะที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคง สูงที่สุดเชนเดิม แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่ไมไดอยูกับพอและแม จําแนกตาม เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551 30 รอยละ 26.0 20 22.8 21.6 16.5 16.0 2.1 การอยูอาศัย เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน เปนเด็กผูชาย 8.9 ลานคน และเปนเด็กผูหญิง 8.5 ลานคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่อาศัยอยูกับทังพอและแม ้ รอยละ 61.8 และอยูกับพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง รอยละ 18.1 ซึ่งอาจเนื่องจากการหยาราง หรือพอแม แยกกันอยูเนื่องจากการทํางาน โดยพบวาสัดสวนของ เด็กที่อยูกับแมสูงกวาอยูกับพอถึง 5 เทา (รอยละ 15.0   และ 3.1 ตามลําดับ) สวนที่เหลือคือรอยละ 20.1 เปนเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม ซึงในจํานวนนี้พบวา  ่ เปนเด็กที่อยูนอกเขตเทศบาลมากกวาเด็กที่อยูในเขต เทศบาล และมีสัดสวนสูงสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือ ภาคเหนือ (รอยละ 26.0 และ รอยละ 22.8 ตามลําดับ) เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสํารวจสถานการณเด็ก ซึ่งเปนโครงการที่สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการ รวมกับ UNICEF ใน พ.ศ. 2548 - 49 พบวา รอยละ 10 15.2 15.1 20.9 21.3 25.6 11.4 9.8 0 ในเขต นอกเขต เทศบาล เทศบาล 1/ กทม. เหนือ ตะวันออก ใต และกลาง เฉียงเหนือ เขตการ ปกครอง และภาค ป 2548 - 49 ป 2551 1/ โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 - ก.พ. 49 2.2 ภาวะกําพรา เด็กอายุ 0 – 17 ป ที่กําพรา มีทั้งสิ้น 6.9 แสนคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่กําพราพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง 6.2 แสนคน และกําพราทั้งพอและแม 6.3 หมื่นคน และ เมื่อเปรียบเทียบลักษณะของการกําพรา พบวาเด็กที่กําพรา พอ หรือ แมค นใดคนหนึ่งสูง กวากําพราทั้งพอและแม ประมาณ 10 เทา (รอยละ 90.8 และรอยละ 9.2 ตามลําดับ) โดยกรุงเทพมหานครมีเด็กที่กําพราทั้งพอและแมสูงสุด รองลงมาคือ ภาคเหนือ และต่ําสุดคือภาคใต (รอยละ 12.6 รอยละ 11.2 และรอยละ 4.5 ตามลําดับ)
  • 14. แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตาม ลักษณะของการกําพรา และภาค พ.ศ. 2551 รอยละ 100 9.2 12.6 10.3 11.2 90.8 87.4 89.7 8.4 4.5 80 60 88.8 91.6 95.5 40 20 0 ทั่วราชอาณาจักร กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต เฉียงเหนือ ภาค พอ/แม คนใดคนหนึ่ง พอและแม เมื่อเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2548 - 49 พบวา ภาวะ กําพรามีสัดสวนลดลงคือ จากรอยละ 4.7 เปนรอยละ 4.0 โดยเด็กชายยังคงมีภาวะกําพรานอยกวาเด็กหญิงเชนเดิม เมื่อพิจารณาตามเขตการปกครองพบวา ทั้งใน เขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ภาวะกําพรามีแนวโนม ลดลง โดยในเขตเทศบาลลดลงนอยกวาทําใหภาวะกําพรา ของในเขตเทศบาลสูงกวานอกเขตเทศบาล ในป 2551 ภาวะกําพราของเด็กสูงสุดในภาคเหนือ และ ต่ําสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเชนเดียวกับการสํารวจ ที่ผานมา แตเปนที่นาสังเกตวา รอยละของเด็กกําพรา ของทุกภาคมีแนวโนมลดลง โดยลดลงมากที่สุดใน ภาคเหนือ (ลดลงรอยละ 1.2) และลดลงนอยสุดใน ภาคใต (ลดลงรอยละ 0.4) ตารางที่ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตาม เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551 เพศ เขตการปกครอง และภาค ทัวราชอาณาจักร ่ เพศ ชาย หญิง เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค กรุงเทพมหานครและ เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต ภาวะกําพรา ป 2548 - 49 4.7 ป 2551 4.0 4.6 4.9 3.8 4.1 4.6 4.8 4.1 3.9 4.5 6.5 4.3 4.5 3.9 5.3 3.3 4.1 2.3 ผูดูแล ในกรณีที่พอไมไดอยูในครัวเรือนพบวา ผูที่ทํา หนาที่ดูแลเด็กในสัดสวนที่สูงสุดคือแม (รอยละ 41.0) รองลงมาคือ ปูยา (รอยละ 34.0) ตายายและญาติ (รอยละ 13.2 และรอยละ 8.5 ตามลําดับ) สวนในกรณีที่แมไมไดอยู ในครัวเรือนพบวา ผูที่ทําหนาที่ดูแลเด็กในสัดสวนที่สูงสุด คือ ปู ยา (รอยละ 49.3) รองลงมาคื อ ตายายและญาติ (รอยละ 19.3 และ 12.6 ตามลําดับ) สวนพอมีสัดสวน ในการทําหนาที่ดูแลเด็กเพียงรอยละ 14.0 แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอ/แมไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามผูดูแล พ.ศ. 2551 60 50 40 รอยละ 49.3 41.0 34.0 30 20 19.3 14.0 13.2 10 0 พอ/แม ปู/ยา ตา/ยาย พอไมไดอยูในครัวเรือน 8.5 12.6 ญาติ 0.8 1.1 2.5 3.7 พี่ ผูดูแล อื่น ๆ (สมาชิกของ ครัวเรือนอื่นและ คนรับใช ฯลฯ) แมไมไดอยูในครัวเรือน 3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป) ในชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็ก มีการพัฒนาเร็วที่สุดโดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ปของชีวิต การเลี้ยงดูในบานจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุดตอการพัฒนาการ ของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ สํา หรับ เด็ก และอุปกรณหรือของเลนในบา นจึง เปน ปจจัยแวดลอมที่สําคัญ
  • 15. 3.1 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู สําหรับกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูระหวาง พอแม หรือสมาชิกคนอื่น ๆ ในครัวเรือนกับเด็ก ไดแก 1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพรวมกับเด็ก 2. การ เลานิทาน/เลาเรื่องตางๆใหเด็กฟง 3. การรองเพลง รวมกับเด็ก/รองเพลงกลอมเด็ก 4. การพาเด็กไปนอกบาน 5. การเลนกับเด็ก 6. การทํากิจกรรมรวมกับเด็ก เชน เรียกชื่อ นับเลข วาดรูป เปนตน แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอ มีสวนรวมใน กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551 รอยละ 100 96.1 98.2 95.7 95.6 94.6 แผนภูมิ 6 คาเฉลี่ยจํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือนและพอมีสวนรวม ในการทํากิจกรรมสงเสริม การเรียนรูและการเตรียมความ พรอม กอนวัยเรียน ของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป พ.ศ. 2551 คาเฉลี่ย 10 5.8 5 2.6 0 พอทํารวม อยางนอย 1 กิจกรรม สมาชิกในครัวเรือนรวม อยางนอย 4 กิจกรรม กิจกรรม ที่ทํารวม กับเด็กเล็ก 98.5 การทํากิจกรรมรวมกันระหวางบุคคลในครัวเรือน กับเด็กเล็กอายุต่ํากวา 5 ป เพื่อสงเสริมการเรียนรู และ 60 การเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียนนั้นพบวา แมเปน 74.8 76.2 65.3 40 60.7 59.5 ผู ที่ มี ส ว นร ว มในกิ จ กรรมทุ ก ประเภทกั บ เด็ ก เล็ ก ใน 46.3 20 สัดสวนที่สูงสุด รองลงมาคือ คนอื่นๆ ในครัวเรือน และพอ (สัดสวนที่ต่ําสุดในทุกกิจกรรม) โดยกิจกรรมที่ทั้งพอและแม 0 กทม. กลาง เหนือ ทั่วราชอาณาจักร ใต ภาค ตะวันออก ทํารวมกับลูกมากที่สุดคือการเลนรวมกัน (รอยละ 76.2 เฉียงเหนือ และรอยละ 69.1) สวนกิจกรรมที่ทํารวมกันนอยสุด คือ สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป การรองเพลง (รอยละ 73.9 และรอยละ 57.8 ตามลําดับ) พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป 80 จากผลการสํารวจแสดงใหเห็นวา เด็กเล็ก รอยละ 96.1 ไดรับการดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน โดยสมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมในการทํากิจกรรม ที่สงเสริมการเรียนรูและการเตรียมความพรอมเพื่อ เข าโรงเรี ยนอย างน อย 4 กิ จกรรม ซึ่ งค าเฉลี่ ยของ จํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือนมีสวนเกี่ยวของ คือ ประมาณ 5.8 กิจกรรม สําหรับการรวมกิจกรรมระหวางพอกับเด็ก พบวาพอมีสวนรวมทํากิจกรรมตาง ๆ กับเด็กอยาง นอย 1 กิจกรรม มีรอยละ 60.7 โดยมีคาเฉลี่ย คือ 2.6 กิจกรรมโดยการทํากิจกรรมรวมกันระหวางพอ กับเด็ก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนต่ําสุด แผนภูมิ 7 รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริม การเรียนรู กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทกิจกรรม พ.ศ. 2551 กิจกรรม 76.1 36.4 การอานหนังสื อ/ดูส มุดภาพ 6.6 31.9 การเล านิทาน/เล าเรื่องตาง ๆ 55.0 0.6 57.4 0.5 1/ ทํากิจกรรมอื่น ๆ 0 ไมมีใครรวมในกิจกรรมนี้ 57.8 4.0 การเล นรวมกัน คนอื่น ๆ ในครัวเรือน 73.9 35.8 การพาไปนอกบาน พอ 75.0 59.6 7.1 การรองเพลง แม 61.3 43.0 4.3 76.1 64.2 76.2 69.1 75.8 65.2 รอยละ 20 40 60 80 100 1/ กิจกรรมอื่น ไดแก เรียกชื่อ สิ่งของ นับเลข วาดรูป เปนตน
  • 16. 3.2 การมีหนังสือสําหรับเด็กในบาน 3.3 อุปกรณหรือของเลนในบาน การมีหนังสือสําหรับเด็กรวมทังหนังสือที่ไมใช ้ หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลมในครัวเรือน) ที่บาน จะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการอานหนังสือจากเด็ก ที่โตกวา ซึ่งจะมีผลตอการอยากเขาเรียนและไอคิวของเด็ก แผนภูมิ 8 รอยละของครัวเรือน ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม ประเภทหนังสือ และภาค พ.ศ. 2551 80 60 40 รอยละ 69.1 61.7 51.6 41.2 64.5 46.5 66.4 58.6 เมื่ออยูบาน เด็กเล็กจะเลนของเลนที่ซื้อมา/ไดมา มากที่สุด (รอยละ 81.8) รองลงมาคือ ของเลนที่เปนสิ่งของ นอกบาน ไดแก กิ่งไม หิน สัตว เปลือกหอย หรือใบไม (รอยละ 36.6) สิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน เชน ชาม จาน ถวย หมอ (รอยละ 33.6) และของเลนทีทําขึ้นเอง ไดแก ่ ตุกตา รถ (รอยละ 32.3) แผนภูมิ 9 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทของที่เลน เมื่ออยูที่บาน พ.ศ. 2551 รอยละ 100 55.2 42.2 81.8 80 35.8 37.6 60 40 20 33.6 36.6 32.3 20 0 กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต เฉียงเหนือ หนังสือที่ไมใชสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) ทั่วราชอาณาจักร ภาค หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) เด็กอายุต่ํากวา 5 ป รอยละ 41.2 อาศัยอยูใน ครัว เรือนที่มีห นังสือสําหรับ เด็ก อยา งนอย 3 เลม โดยกรุงเทพมหานครมีสัดสวนสูงที่สุด (รอยละ 51.6) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนต่ําสุด (รอยละ 35.8) และพบวารอยละ 61.7 ของเด็กเล็กอาศัยอยูในครัวเรือน ที่มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็ก อยางนอย 3 เลม โดยกรุงเทพมหานครมีสัดสวนสูงที่สุด (รอยละ 69.1) และภาคใตมีสัดสวนต่ําสุด (รอยละ 55.2) สําหรับคาเฉลี่ยของจํานวนหนังสือที่มีใน ครัวเรือนพบวา ครัวเรือนที่มีเด็กเล็ก มีหนังสือที่ ไมใชหนังสือสําหรับเด็กโดยเฉลี่ยจํานวน 5 เลมตอคน ในขณะที่มีห นัง สือ สํา หรับ เด็ก โดยเฉลี่ย จํา นวน 3 เลมตอคน ประเภทของเลน 0 A B C D A = สิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน B = สิ่งของจากนอกบาน C = ของเลนที่ทําขึ้นเอง D = ของเลนที่ซื้อมา/ไดมา ผลการสํารวจพบวา รอยละ 42.7 ของเด็กอายุ ต่ํากวา 5 ป มีของเลนอยางนอย 3 ประเภทใหเลน โดยเด็กที่อยูภาคเหนือ มีของเลนอยางนอย 3 ประเภท มากที่สุด (รอยละ 51.1) สวนเด็กที่อยูในภาคกลาง มีของเลน อยางนอย 3 ประเภทนอยที่สุด (รอยละ 34.3) แผนภูมิ 10 รอยละของเด็กอายุตากวา 5 ป ที่มีของเลนอยางนอย ่ํ 3 ประเภท ในครัวเรือน พ.ศ. 2551 รอยละ 60 50 40 30 20 10 0 51.1 42.7 45.0 41.7 42.1 34.3 ภาค ทั่วราช กรุงเทพ อาณาจักร มหานคร กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต
  • 17. 4. การศึกษา 4.1 การศึกษากอนวัยเรียน (อายุ 3 – 4 ป) การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของ เด็กอายุ 3 – 4 ป ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง มีความสําคัญ ตอความพรอมของเด็กในการเขาเรียน จากการสํารวจ ในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 – 4 ป ทั้งสิ้น 1.8 ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่กําลังเรียนในโปรแกรมกอน วัยเรียน เชน การเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก หรือสถาน รับเลี้ยงเด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และเมื่อ พิจารณาเปนรายภาคและเขตการปกครองพบวา ทุกภาค มีอัตราการเขาเรียนกอนวัยทุกประเภทสูงกวารอยละ 60 โดยภาคเหนือมีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุด (รอยละ 82.0) เด็ ก ที่ อ ยู น อกเขตเทศบาล มี อั ต ราการเข า เรี ย น กอนวัยเรียนสูงกวาเด็กที่อยูในเขตเทศบาล (รอยละ 74.5  และ 69.6 ตามลําดับ) แผนภูมิ 11 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียน ของเด็กอายุ 3 - 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัย ในศูนยเด็กเล็กของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามภาค และ เขตการปกครอง พ.ศ. 2551 รอยละ 100 82.0 75.6 80 73.0 62.6 60 67.9 72.5 69.6 41.0 41.5 55.1 78.6 56.4 44.3 66.2 20 0 ทั่วราช อาณาจักร 4.2 การเขาเรียนของเด็กอายุ 5 ป เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในจํานวนนี้ เปนเด็กที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 รอยละ 97.2 โดยเรียนในระดับกอนประถมศึกษา รอยละ 97.7 และ เรียนในระดับประถมศึกษาและการศึกษาอื่นๆ รอยละ 2.3 แผนภูมิ 12 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และ การเขาเรียนในปการศึกษา พ.ศ. 2551 ไมเรียน 2.8 % ประถมศึกษา และอื่น ๆ 2.3% เรียน 97.2 % กอน ประถมศึกษา ชาย 51.2 % 9.3 แสนคน หญิง 48.8 % 97.7 % 74.5 40 59.7 เมื่ อ พิ จ ารณาประเภทของสถานศึ ก ษาที่ เ ด็ ก กอนวัยเรียนเขาเรียน พบวาเด็กที่กําลังเรียนในโปรแกรม กอนวัยเรียน สวนใหญเขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็ก มากกวาประเภทอื่น (รอยละ 59.7) โดยเด็กเล็กในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีอัตราการเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก มากที่สุดถึงรอยละ 78.6 นอกจากนี้พบวา เด็กเล็กที่อยู นอกเขตเทศบาลเขาเรียนในศูนยเด็กเล็กสูงกวาเด็กเล็ก ที่อยูในเขตเทศบาลอยางเห็นไดชัด (รอยละ 66.2 และ 44.3 ตามลําดับ) เขตการ กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ในเขต นอกเขต ปกครอง เทศบาล เทศาล และภาค เฉียงเหนือ อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียน (ของเด็กอายุ 3 - 4 ป) อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนในศูนยเด็กเล็ก (ของเด็กที่เขาเรียน) 4.3 การศึกษาของเด็กและเยาวชน (6 – 24 ป) เด็กและเยาวชนที่อยูในวัยเรียน อายุ 6 – 24 ป  จํานวน 19.3 ลานคน เปนผูที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน หรือคิดเปนอัตราการเขาเรียน รอยละ 67.5 หากพิจารณาเปนกลุมอายุ พบวา กลุมอายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียนมากที่สุด (รอยละ 99.4) รองลงมาคือ เด็กกลุมอายุ 12 – 17 ป (รอยละ87.1) และเยาวชน
  • 18. อายุ 18 – 24 ป (รอยละ 26.1) กรุงเทพมหานครมีอัตรา การเขาเรียนสูงสุด (รอยละ 73.5) สวนภาคอื่นๆ ที่เหลือมีสดสวนใกลเคียงกัน โดยภาคใตมีอตราต่ําที่สด ั ั ุ คือรอยละ 65.3 แผนภูมิ 14 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนก ตามระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551 รอยละ 92.5 80.2 100 แผนภูมิ 13 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป จําแนก ตามกลุมอายุของผูที่กําลังเรียนในปการศึกษา 2551 และภาค กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ 80 ตะวันออกเฉียงเหนือ 60 รอย 100 ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 67.5 99.4 40 87.1 73.5 66.2 67.7 67.8 80 65.3 60 26.1 20 28.4 20 0 40 ใต ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา ระดับการศึกษา และภาค 4.4 เหตุผลที่ไมเรียน 0 กลุมอายุ 6 -11 ป 12-17 ป 18-24 ป กทม. กลาง เหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต หากพิจารณาอัตราการเขาเรียนตามระดับ การศึกษาและภาค พบวาอัตราการเขาเรียนระดับ ประถมศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกภาคมี อัตราการเขาเรียนประมาณรอยละ 90 (ภาคเหนือ สูงสุดคือ รอยละ 92.5) และอัตราเริ่มลดลงในระดับ มัธยมศึกษา แตยังเปนอัตราที่คอนขางสูงคือ เกินกวา รอยละ 70.0 (ภาคเหนือสูงสุด คือรอยละ 80.2) สว นอัต ราการเขา เรีย นระดับ อุด มศึก ษามีค วาม แตกตางระหวางกรุงเทพมหานคร และภาคอื่น ๆ อยางเห็นไดชัดคือ อัตราการเขาเรียนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรีขึ้นไป) ในกรุงเทพมหานครสูงที่สุดคือ รอยละ 28.4 ในขณะที่ภาคอื่นมีอัตราไมเกินรอยละ 13.0 ซึ่งอาจเนื่องจากสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สวนใหญอยูในกรุงเทพมหานคร สําหรับเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป ที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551 มีทั้งสิ้น 6.3 ลานคนนั้น พบวา เหตุผลทีไมเรียนมากที่สดคือ เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับใด ่ ุ ระดับหนึ่งแลว (รอยละ 61.1) ซึ่งในกลุมนี้สวนใหญ เปนผูที่เรียนจบระดับมัธยมศึกษา (รอยละ 67.2) เหตุผล รองลงมาคือ ไมมีเงินเรียนรอยละ 21.7 ปวย/พิการ รอยละ 2.5 นอกนันไมเรียนเพราะเหตุผลอืนๆ เชน ตอง ้ ่ ทํางาน โรงเรียนอยูไกล ไมมสูติบัตร/ใบแจงเกิด การไมมี  ี สัญชาติไทย การมีปญหาเรื่องภาษา เปนตน แผนภูมิ 15 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 6 - 24 ป ที่ไมเรียน จําแนกตามเหตุผลที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551 เหตุผลที่ไมเรียน เหตุผลอื่น ๆ 1/ 14.7% ระดับการศึกษาของผูที่จบ 17.3 ประถมศึกษา 67.2 มัธยมศึกษา ปวย/พิการ 2.5% 21.7 6.3 ลานคน 61.1% ไมมีเงินเรียน เรียนจบการศึกษาแลว 1/ ไมรวมไมทราบ 15.4 0.1 สูงกวามัธยมศึกษา อื่น ๆ
  • 19. 5. ความสนใจใน IT ผลการสํารวจเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป พบวา เปนเด็กและเยาวชน จํานวน 20.2 ลานคน และในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ มีอัตรา การใชคอมพิวเตอร รอยละ 55.6 หากพิจารณาเปนกลุมอายุพบวา กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป มีอัตราการใชสูงที่สุด รอยละ 82.6 รองลงมาเปนกลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป มีอตราการใช ั รอยละ 44.2 และกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มีอัตรา การใชนอยที่สดคือรอยละ 37.7 ุ แผนภูมิ 17 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ไมใช คอมพิวเตอร ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนก ตามเหตุผลที่ไมใชและกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 82.6 80 60 55.6 44.2 40 37.7 20 0 ทั่วราชอาณาจักร 5- 11 - 17 18 - 24 กลุมอายุ (ป) 5.1 เหตุผลที่ไมใชคอมพิวเตอร เมื่ อ พิ จ ารณาเหตุ ผ ลที่ ไ ม ใ ช ค อมพิ ว เตอร ของกลุมเด็กและเยาวชนอายุ 5 - 24 ป พบวา เด็กแตละวัย มีความแตกตางดังนี้ เด็กอายุ 5 – 10 ป สวนใหญที่ ไมใชเพราะยังใชไมเปน (รอยละ 63.8) ในขณะที่ เด็กอายุ 11 – 17 ป ไมใชคอมพิวเตอรเพราะบานไมมี คอมพิวเตอรมากที่สุด (รอยละ 38.3) รองลงมาคือ ใชไมเปน (รอยละ 34.5) สวนเยาวชนอายุ 18 – 24 ป ไมใชเพราะเหตุผลอื่น ๆ เชน ไมสนใจ ไมมีเวลาสูงที่สุด (รอยละ 37.2) รองลงมาคือ บานไมมีคอมพิวเตอร และใชไมเปน ซึ่งมีสัดสวนใกลเคียงกันคือ รอยละ 32.4 และรอยละ 30.2 23.9 80 60 37.2 34.5 3.3 30.2 4.4 20. 38.3 32. 5 – 10 11 - 17 18 - 24 63.8 40 20 แผนภูมิ 16 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่เคยใช คอมพิวเตอร ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 11. 0.2 กลุมอายุ (ป) โรงเรียนไมมีคอมพิวเตอร อื่นๆ ไดแก ไมสนใจ ไมมีเวลา บานไมมีคอมพิวเตอร ใชไมเปน 5.2 แหลงที่ใชคอมพิวเตอร จากการสํารวจพบวา เด็กและเยาวชนใชคอมพิวเตอร ที่ส ถานศึก ษามากที่ สุ ด โดยมี สัด สว นการใชสูงสุด ในกลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป (รอยละ 78.2) แหลงที่ใช รองลงมาคือที่บานและที่รานอินเทอรเน็ต โดยกลุมเยาวชน อายุ 18 – 24 ป ใชที่รานอินเทอรเน็ต ในสัดสวนที่สูงกวา กลุมอายุอื่น ๆ อยางเห็นไดชด (รอยละ 6.2) ั แผนภูมิ 18 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชน อายุ 5 - 24 ป ที่ใช คอมพิวเตอรมากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 80 60 40 20 0.7 1.0 0.7 75.1 1.6 1.6 6.2 78.2 47.3 0.1 23.1 19.5 5 – 10 11 - 17 ที่บาน รานอินเทอรเน็ต 1 ที่ทํางาน 1/ อื่น ๆ 10.2 34.6 18 - 24 กลุมอายุ (ป) สถานศึกษา 1/ : อื่นๆ ไดแก บานเพื่อน ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน ที่ทํางาน ของพอ/แม
  • 20. 5.3 กิจกรรมที่ใชคอมพิวเตอร 6.1 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส เมื่อพิจารณาการใชคอมพิวเตอรของเด็กและ เยาวชน ในการทํากิจกรรมพบวา กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป และ 11 – 17 ปใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนมากที่สด ุ รองลงมาใชเพื่อการบันเทิงและหาความรู สําหรับ กลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป ใชคอมพิวเตอรเพื่อการ เรียนสูงเปนอันดับ 1 เชนกัน (รอยละ 63.5) และ เนื่องจากมีบางคนในกลุมนีเ้ ขาสูการทํางานแลว จึง พบวาสัดสวนที่ใชเพื่อการทํางานสูงขึนอยางเห็นไดชัด ้ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมอายุอื่น ๆ และเปนที่นาสังเกตวา การใชคอมพิวเตอรเพื่อความบันเทิง และเพื่อทอง อินเทอรเน็ตสูงกวากลุมอายุอื่นเชนกัน แผนภูมิ 19 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 - 24 ป ที่ใช คอมพิวเตอรในการทํากิจกรรม จําแนกตามประเภท กิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 0.4 0.1 0.2 100 80 11.0 2.8 0.5 1.1 4.6 3.8 3.6 11.8 8.3 60 40 85.3 90.3 0 5 – 10 ทํางาน บันเทิง 11 - 17 100 99.8 89.1 75.0 51.2 40 20 กลุมอายุ (ป) 18 - 24 การเรียน ทองอินเทอรเน็ต รอยละ 60 12.6 0.1 แผนภูมิ 20 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่เคยไดยินเกี่ยวกับ โรคเอดส และความเขาใจเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV/AIDS เปนอยางดี พ.ศ. 2551 80 63.5 20 ผลการสํารวจความรูเกียวกับแนวทางการปองกันการ ่ ติดเชือ HIV ที่เด็กและเยาวชนอายุ 13 – 14 ป ตอบสัมภาษณ ้ ดวยตนเองพบวา เกือบทุกคนเคยไดยินเรื่องโรคเอดส (รอยละ 99.8) แตความรูเกียวกับแนวทางการปองกันการ ่ ติดเชื้อในแตละวิธีมีความแตกตางกันดังนี้คือ ทราบวา การใชถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธชวยปองกัน เอดสไดสูงสุดรอยละ 89.1 รองลงมาคือ ทราบวาการมี เพศสัมพันธกบคูครองทีไมตดเชื้อและซื่อสัตยเพียงคนเดียว ั ่ ิ เทานั้น ชวยปองกันเอดสได (รอยละ 75.0) และรอยละ 51.2 ทราบวา ถาละเวนการมีเพศสัมพันธจะไมติดเชื้อ หาความรู อื่น ๆ หมายเหตุ : ไมรวมไมทราบ 6. ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส ในปจจุบันนี้ โรคเอดสเปนโรคหนึ่งที่คุกคาม ภาวะสุขภาพของประชากรไทย ปจจัยหนึ่งที่จะชวยใน การลดอัตราการติดเชือ HIV ได คือการสรางสังคมใหมี ้ ความรูความเขาใจเกียวกับโรคเอดสอยางถูกตอง เพื่อให ่ ประชากรสามารถปองกันตนเองไมใหตดเชือได ิ ้ 0 ความเขาใจ ุ การเคยไดยิน มีเพศสัมพันธกับ ใชถงยางอนามัย ละเวนการมี เกี่ยวกับ AIDS คูคนเดียว ทุกครั้ง เพศสัมพันธ 6.2 ความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส สําหรับความเขาใจวา เชื้อ HIV ไมสามารถ ติดตอกันไดโดยการถูกยุงกัดหรือการกินอาหารรวมกับ ผูปวยเอดสนั้น พบวารอยละ 72.9 และ 72.6 ที่เขาใจ ไดถูกตอง และมีรอยละ 68.6 ที่ทราบวาผูที่มีสุขภาพดี  สามารถมีเชื้อ HIV ได
  • 21. แผนภูมิ 21 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 - 24 ป ที่มีความ เขาใจถูกตองเกี่ยวกับความคิดที่มักเขาใจผิดเกี่ยวกับ โรคเอดส พ.ศ. 2551 รอยละ 100 80 72.9 72.6 68.6 60 40 20 0 ความเขาใจถูกตอง ถูกยุงกัดอาจ กินอาหาร ผูที่ดูมีสุขภาพดี เกี่ยวกับ AIDS ติดเอดส รวมกับคนเปนเอดส อาจเปนเอดสก็ได 7. แหลงน้ําดื่มของครัวเรือน น้ําเปนสิ่งจําเปนสําหรับรางกาย น้ําดื่มที่สะอาด จึงเปนปจจัยจําเปนพื้นฐานสํ าหรับการมีสุขภาพดี น้ําดื่มที่ไมสะอาดและมีสารปนเปอน สามารถเปน บ อ เกิ ด ของโรคต าง ๆ มากมาย เช น ริ ด สี ดวงตา อหิวาตกโรค ไขรากสาด และโรคพยาธิใบไม เปนตน แผนภูมิ 22 รอยละของครัวเรือน จําแนกตามการมีแหลงน้ําดื่มที่ 1/ สะอาด เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 รอยละ 99.0 96.6 100 ผลจากการสํารวจพบวา รอยละ 97.4 ของครัวเรือน มีแหลงน้ําดื่มที่สะอาด เพื่อบริโภค โดยครัวเรือนที่อยู ในเขตเทศบาลมีแหลงน้ําดื่มที่สะอาด สูงกวานอกเขต เทศบาลเล็กนอย (รอยละ 99.0 และรอยละ 96.6 ตามลําดับ) เมื่อเปรียบเทียบระหวางภาคพบวา กรุงเทพมหานคร และภาคกลางไดดื่ม น้ํา จากแหลง น้ํา ดื่ม ที่ส ะอาดถึง รอยละ 99.0 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ รอยละ 98.5 ในขณะที่ครัวเรือนในภาคเหนือและภาคใต ดื่มน้ําจาก แหลงน้ําดื่มที่สะอาดในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน และนอยกวา ภาคอื่น ๆ คือ รอยละ 94.0 เปนที่นาสังเกตวา การบริโภคน้ําดื่มบรรจุขวด ภาคใตมีสัดสวนของครัวเรือนที่บริโภคมากที่สุด คือ รอยละ 46.0 ในขณะที่ก รุ ง เทพมหานคร และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีสัดสวนคอนขางนอยคือ รอยละ 27.1 และ 10.2 ตามลําดับ (แผนภูมิ 22) หากพิจารณาแหลงน้าดื่มที่สะอาด ที่ครัวเรือน ํ บริโภคมากทีสุดคือ น้ําฝน (รอยละ 38.0) รองลงมาคือ ่ น้ําดื่มบรรจุขวด (รอยละ 27.4) และน้ําประปาตอทอ เขาบาน (รอยละ 21.5) แผนภูมิ 23 รอยละของครัวเรือน จําแนกตามแหลงน้ําดื่มหลัก พ.ศ. 2551 99.6 99.5 93.7 98.5 94.1 น้ําฝน 38.0 % น้ําดื่มบรรจุขวด 27.4 % 80 60 40 20 0 38.7 43.9 19.6 27.1 46.0 34.1 10.2 น้ําบาดาล 4.0 % น้ําประปาตอทอเขาบาน 21.5 % เขตการ น้ําพุจากธรรมชาติ น้ําบอที่ มีการปองกัน 4.5 % ในเขต นอกเขต กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต ปกครอง ที่มีการปองกัน 0.3 % เทศบาล เทศบาล เฉียงเหนือ และภาค น้ําประปาที่ตอเขาบริเวณบาน 1/ 1/ น้ําดื่มสะอาดหมายถึง น้ําประปา น้ําบาดาล น้ําบอ/น้ําพุ ที่มีหลังคา และน้ําประปาจากกอกน้ําสาธารณะ 1.7 % อื่น ๆ 2.6 % หรือฝาปด น้ําฝนและน้ําบรรจุขวด (ตามขอกําหนดของ MIC3) 1/ หมายถึง แหลงน้ําดื่มที่ไมสะอาดไดแก น้ําบอ/น้ําพุที่ไมมีหลังคา หรือฝาปด รถบรรทุกน้ํา
  • 22.
  • 23.
  • 24. สารบัญตารางสถิติ 1. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) ตาราง 1 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 ตาราง 1.1 จํานวนและรอยละลักษณะการอยูอาศัยของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตาม การอยูอาศัยกับพอหรือแม กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 ตาราง 1.2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามลักษณะ ของการกําพรา กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 ตาราง 2 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามผูดูแล กลุมอายุ  เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 ตาราง 3 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่พอไมไดอยูในครัวเรือน จําแนกตามเหตุผลทีพอไมอยู  ่ ในครัวเรือน กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 ตาราง 4 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่แมไมไดอยูในครัวเรือนจําแนกตามผูดูแล กลุมอายุ  เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 ตาราง 5 จํานวนเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่แมไมอยูในครัวเรือน จําแนกตามเหตุผลที่แมไมอยู ในครัวเรือน กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551
  • 25. ตาราง 1 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม กลุมอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2551 Table 1 Number and percentage of child and youth aged 0 - 17 years according to living arrangements by living with parents, age group, sex, area and region, 2008 จํานวนเด็กอายุ กลุมอายุ (ป) เพศ เขตการปกครอง และภาค รวม กลุมอายุ (ป) 0-4 5-9 10 - 14 15 - 17 0 - 17 ป Number of child and youth aged 0 - 17 years 17,422,291 4,566,922 4,590,979 5,116,341 3,148,049 อยูกับพอ และแม Living with both parents จํานวน รอยละ Number % 10,773,242 2,905,597 2,803,698 3,110,871 1,953,076 61.8 63.6 61.1 60.8 62.1 ไมไดอยูกับ พอและแม Living with neither parent จํานวน รอยละ Number % 3,499,044 898,393 1,003,238 998,763 598,650 20.1 19.7 21.9 19.5 19.0 อาศัยอยูกับ แมเทานั้น Living with mother only จํานวน รอยละ Number % 2,612,956 662,838 643,761 817,820 488,537 15.0 14.5 14.0 16.0 15.5 อาศัยอยูกับ พอเทานั้น Living with father only จํานวน Number 537,050 100,094 140,282 188,887 107,787 รอยละ % Age group (years), sex, area and region 3.1 2.2 3.0 3.7 3.4 Total Age group (years) 0-4 5-9 10 - 14 15 - 17 Sex เพศ ชาย 8,907,141 5,567,969 62.5 1,762,196 19.8 1,307,231 14.7 269,745 3.0 Male หญิง 8,515,151 5,205,273 61.2 1,736,848 20.4 1,305,726 15.3 267,304 3.1 Female เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล 5,077,475 12,344,816 3,279,265 7,493,976 64.6 60.7 835,772 2,663,272 16.5 21.6 774,586 1,838,371 15.2 14.9 187,852 349,197 3.7 2.8 Area Municipal Non-municipal 4.4 3.8 3.2 2.4 2.7 Region Bangkok Metropolis Central North Northeast South ภาค กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต 1,494,411 3,878,106 2,923,953 6,385,863 2,739,959 1,053,460 2,491,089 1,673,351 3,497,864 2,057,477 70.5 64.2 57.2 54.8 75.1 177,150 683,511 667,076 1,657,558 313,748 11.9 17.7 22.8 26.0 11.4 197,177 555,204 491,388 1,073,740 295,448 13.2 14.3 16.8 16.8 10.8 66,623 148,302 92,138 156,701 73,286