SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
SCB EIC Industry insight
Nov 2023
Seafood industry
(Tuna and shrimp)
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น ท่ามกลาง
ความเสี่ยงรอบด้าน การฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่เปราะบาง
และต้นทุนการดาเนินงานที่ยังอยู่ในระดับสูง
The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as
to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or
such information by the recipient or other persons in whatever manner.
Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct.
This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in
the companies mentioned here in.
Contents
Executive
summary หน้า 03
Industry outlook 2024-2027
Seafood (Tuna) หน้า 05
ประเด็นสำคัญและควำมท้ำทำยที่ต้องจับตำมอง
สำหรับอุตสำหกรรมอำหำรทะเล หน้า 41
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
Industry outlook 2024-2027
Seafood (Shrimp) หน้า 23
3
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
Executive
summary
อุตสาหกรรมอาหารทะเลในปี 2024 และในระยะ
Medium-term โดยรวมมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากปีนี้
สอดคล้องกับภาพรวมภาวะเศรษฐกิจและกาลังซื้อของ
ผู้บริโภคทั้งในไทยและตลาดโลกที่ทยอยฟื้นตัวดีขึ้น
รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ที่กลับมา
เป็นปกติมากขึ้นตามลาดับ
การส่งออกทูน่ากระป๋องและกุ้งมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามลาดับ สอดคล้องกับ
ภาวะเศรษฐกิจและความต้องการในประเทศคู่ค้าหลักที่คาดว่าจะทยอยฟื้นตัว
แข็งแกร่งมากขึ้น อย่างไรก็ดี ต้นทุนของผู้ประกอบการทั้งในส่วนของวัตถุดิบนาเข้า
(ปลาทูน่า) อาหารกุ้ง และค่าขนส่งวัตถุดิบ/สินค้า รวมทั้งค่าบริหารจัดการต่าง ๆ
ที่ยังมีแนวโน้มทรงตัวในระดับสูงต่อเนื่อง ขณะที่การส่งผ่านต้นทุนทาได้เพียง
บางส่วนเท่านั้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะกดดันอัตรากาไรของผู้ประกอบการ
• สินค้าประมงของไทยเป็นการผลิตเพื่อส่งออกเป็นหลัก โดยมีปลาทูน่า
กระป๋องและกุ้งเป็นสินค้าหลัก ทั้งนี้ไทยพึ่งพาการส่งออกทูน่าและกุ้ง
มากถึงเกือบ 90% ของผลผลิตทั้งหมดในประเทศ ดังนั้น “มูลค่าการ
ส่งออก” จึงเป็นตัวชี้วัดภาวะอุตสาหกรรมที่สาคัญ (Key indicator)
ที่ต้องจับตาและมีผลต่อทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรม
• ทั้งนี้ในช่วงที่ผ่านมา มูลค่าการส่งออกอาหารทะเลมีแนวโน้มปรับตัว
ดีขึ้นต่อเนื่องตามการทยอยฟื้นตัวอย่างช้า ๆ ของเศรษฐกิจโลก
และประเทศคู่ค้าสาคัญ อาทิ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และจีน
ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19
และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศต่าง ๆ การฟื้นตัวของภาค
ท่องเที่ยวและภาคบริการ รวมทั้ง Pent-up demand ในกลุ่มอาหาร
ทะเลของกลุ่มผู้บริโภคที่มีกาลังซื้อสูง
• อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการยังจาเป็นต้องเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง
จากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง รวมถึงความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์
และเศรษฐกิจโลกที่อาจเติบโตชะลอลงกว่าคาด ซึ่งปัจจัยดังกล่าว
เหล่านี้อาจส่งผลกระทบต่อกาลังซื้อของผู้บริโภคและความต้องการ
นาเข้าอาหารทะเลในระยะต่อไปได้
• มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวกที่ 5.5%YOY
หลังจากคาดว่าจะหดตัวในปีนี้จากปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบสาหรับแปรรูปเพื่อส่งออก โดยคาดว่า
ปัจจัยหนุนสาคัญที่มีผลต่อแนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรมทูน่ากระป๋องในปีหน้าจะมาจากความ
ต้องการในตลาดโลกและประเทศคู่ค้าหลักอย่างสหรัฐฯ ที่ทยอยปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ดี มูลค่าการ
ส่งออกทูน่ากระป๋องในปีหน้าจะยังคงอยู่ต่ากว่าช่วง Pre-COVID (2015-2019) เล็กน้อย ขณะที่ราคา
วัตถุดิบทูน่านาเข้ายังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูงท่ามกลางปัญหาด้านอุปทานที่ยังไม่คลี่คลาย ขณะที่
ต้นทุนหลักในการออกจับปลาอย่างน้ามันดีเซลก็คาดว่าจะยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่องจากปีนี้
• มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นเช่นเดียวกัน โดยคาดว่าอัตราการเติบโต
ในปี 2024 ที่ราว 4%YOY หลังจากที่คาดว่าจะหดตัว -11.4%YOY ในปีนี้ โดยได้รับปัจจัยหนุน
จากความต้องการในประเทศคู่ค้าสาคัญที่ทยอยฟื้นตัวดีขึ้น
• ทั้งนี้ หากพิจารณาเป็นรายสินค้าจะพบว่า การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งฟื้นตัวได้เร็วกว่า
กุ้งแปรรูป โดยได้รับปัจจัยหนุนจากการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปยังตลาดจีนที่เติบโตดี
โดยพบว่าในช่วง 8 เดือนแรกปีนี้ ขยายตัวสูงถึง 42%YOY ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับอานิสงส์จากการ
ยกเลิกนโยบาย Zero COVID ของทางการจีน ทาให้การส่งออกในช่วงครึ่งปีแรกขยายตัวสูง
อย่างไรก็ดี ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องจับตามองในระยะต่อไปคือ การชะลอตัวของเศรษฐกิจคู่ค้า
สาคัญอย่างจีน ซึ่งอาจกระทบต่อการใช้จ่ายของผู้บริโภคและแนวโน้มการนาเข้าจากไทย
4
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
Executive
summary
ประเด็นสาคัญที่ส่งผลกระทบ
ต่ออุตสาหกรรมอาหารทะเล
• มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการทา
ประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) และการปฏิบัติต่อแรงงาน
อย่างเป็นธรรม (Fair labor practices) รวมไปถึงการดาเนินธุรกิจ
ที่คานึงถึงความยั่งยืนและผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็น
สิ่งที่ผู้ประกอบการในธุรกิจประมงจาเป็นต้องให้ความสาคัญมากยิ่งขึ้น
เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจและหลีกเลี่ยงอุปสรรคทางการค้าจากข้อกีดกัน
ทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs)
• การแข่งขันจากสินค้านวัตกรรมทางเลือกใหม่ ๆ ตัวอย่างเช่น โปรตีน
ทางเลือกจากพืช และผลิตภัณฑ์ประเภท Plant-based seafood ที่มี
การวิจัยและพัฒนาออกมาอย่างหลากหลายเพื่อตอบโจทย์ผู้บริโภคที่มี
แนวโน้มหลีกเลี่ยงการบริโภคเนื้อสัตว์และนิยมบริโภคโปรตีนทางเลือก
จากพืชมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน
• นโยบายการสร้างความมั่นคงด้านอาหาร (Food security)
ของทางการจีน ส่งผลให้จีนมีแนวโน้มทยอยลดการนาเข้าและพึ่งพา
การผลิตภายในประเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งนโยบายดังกล่าวส่งผล
กระทบต่อแนวโน้มการส่งออกสินค้าอาหารของไทยอย่างหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าที่พึ่งพาตลาดจีนเป็นหลัก ซึ่งรวมถึง
สินค้าประมงอย่างกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง
Implication ต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารทะเล
• ผู้ประกอบการควรเร่งปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิตของตนให้สอดรับกับกฎระเบียบ
และมาตรฐานสากลโดยเฉพาอย่างยิ่งประเด็นด้าน ESG เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ เพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันในตลาดโลก และลดอุปสรรคทางการค้าต่าง ๆ โดยอาจพิจารณานาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัย อาทิ เทคโนโลยี Blockchain หรือ Satellite data เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ
ห่วงโซ่อุปทานให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ตั้งแต่ต้นน้าจนถึงมือผู้บริโภค
• การปรับโมเดลธุรกิจ โดยต้องเน้นการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์อาหารทะเลที่มีความ
หลากหลายและแปลกใหม่ รวมไปถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก By-product ในกระบวนการผลิต
เช่น น้ามันปลา, สารสกัดโปรตีนหรือวิตามินจากปลาทูน่า เป็นต้น เพื่อสร้างความแตกต่าง
จากคู่แข่งในตลาดและตอบโจทย์ผู้บริโภคที่มีรูปแบบการใช้ชีวิตที่แตกต่างกัน เพื่อขยายตลาดไปสู่
ลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ ซึ่งมีความต้องการที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
• การมองหาตลาดส่งออกสินค้าประมงใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยงและหลีกหนีการแข่งขัน
ในตลาดส่งออกเดิม โดยผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมควรเริ่มมองหาโอกาสในการส่งออกสินค้า
ไปยังตลาดเศรษฐกิจเกิดใหม่ที่มีศักยภาพเติบโตสูง เช่น กลุ่มตะวันออกกลาง หรือกลุ่มประเทศ
CLMV เป็นต้น
Industry outlook 2024-2027
Seafood (Tuna)
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
6
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ห่วงโซ่มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมทูน่า
Value chain ของอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋องในไทย เริ่มต้นจากการจัดหาวัตถุดิบซึ่งเกือบทั้งหมดเป็นการนาเข้า การผลิต
และแปรรูป การบรรจุ และการกระจายสินค้าต่อไปยังผู้บริโภคขั้นสุดท้าย
Raw Material Sourcing Production Distribution
การทาการประมง (Wild fishery) ผลิต/แปรรูป บรรจุ การตลาด การจัดจาหน่าย
นาเข้า 90% ประมงในไทย 10% (ปลาโอ) ทูน่ากระป๋อง 97% ทูน่าแปรรูป 3% ส่งออก 90% ขายในประเทศ 10%
7
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
สถานการณ์อุตสาหกรรมทูน่ากระป๋อง
ของไทยในช่วงที่ผ่านมา
อุตสาหกรรมทูน่าผลิตเพื่อป้อนตลาดส่งออกราว 90% โดยมีทูน่ากระป๋องเป็นสินค้าส่งออก
หลัก สัดส่วนมากถึงราว 95% ของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ทูน่าทั้งหมดในแต่ละปี ทั้งนี้
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในช่วง 9 เดือนแรกปี 2023 อยู่ที่ 1,405.7 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ หดตัว -10.7% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า ซึ่งมูลค่าการส่งออกที่หดตัวลงดังกล่าว
มีปัจจัยกดดันหลักจากอุปทานปลาทูน่าในท้องทะเลที่ลดลงมากจากปรากฏการณ์เอลนีโญ
และปัญหาโลกร้อน ทาให้มีวัตถุดิบทูน่าสาหรับป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตน้อยลงตามไปด้วย
อีกทั้ง ประเทศคู่ค้าหลักบางรายยังมีปริมาณสินค้าคงคลังในระดับสูง ทาให้ความต้องการนาเข้า
สินค้าชะลอลง
สาหรับการส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังตลาดหลักของไทย 5 อันดับแรก พบว่ามีทิศทาง
และภาพการเติบโตที่แตกต่างกัน (Uneven trend and growth momentum)
โดยในช่วง ม.ค.-ก.ย. 2023 มูลค่าการส่งออกไปยังตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ และออสเตรเลีย
หดตัว -13.5%YOY และ -18.3%YOY ตามลาดับ สอดคล้องกับภาพรวมของทั้งตลาด โดยคาดว่า
ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสินค้าคงคลังในประเทศที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่การส่งออกไปยังตลาด
หลักอื่น ๆ มีทิศทางการเติบโตที่แตกต่างกัน (Uneven momentum) โดยพบว่าการส่งออก
ไปยังตลาดญี่ปุ่นและกลุ่มตะวันออกกลางยังสามารถเติบโตได้ดี สอดคล้องกับความต้องการ
บริโภคในตลาดเหล่านี้ที่ยังเติบโตดีต่อเนื่อง
8
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้หดตัว -10.7% โดยมีปัจจัยกดดันจากปริมาณวัตถุดิบทูน่าที่ลดลง
จากปรากฏการณ์เอลนีโญ รวมทั้งการที่คู่ค้ายังมีปริมาณสินค้าคงคลังสูง ทาให้ความต้องการนาเข้าชะลอลง
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย (รายเดือน)
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ปริมาณการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย (รายเดือน)
หน่วย : ตัน
100
150
200
250
300
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019 2020 2021 2022 2023
2,169.9 2,247.5
1,785.6
2,117.5
1,574.1 1,405.7
2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23
+3.6% -20.6% 18.6%
-10.7%
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019 2020 2021 2022 2023
529,930 558,848
445,231 484,240
363,503
302,338
2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23
+5.5% -20.3%
8.8%
-16.8%
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
9
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ทั้งนี้สหรัฐฯ ยังคงเป็นตลาดส่งออกทูน่ากระป๋องอันดับ 1 ของไทย โดยมีสัดส่วนราว 1 ใน 5 ของการส่งออกทั้งหมด
โดยพบว่าในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้ การส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังสหรัฐฯ หดตัว -13.5%YOY
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยไปสหรัฐฯ (รายเดือน)
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โครงสร้างการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย
หน่วย : % ของมูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องทั้งหมด
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
55
60
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019
2020
2021
2022
2020 2021 2022 Jan-Sep22 Jan-Sep23
Value 600.8 371.9 459.7 341.4 295.2
%YOY +20.4% -38.1% +23.6% -13.5%
2023
23.0% 26.7% 20.8% 21.7% 21.0%
8.4%
8.0%
8.7% 7.3% 10.5%
8.5% 7.5%
8.6% 9.4% 8.8%
6.9% 5.4%
4.2% 6.7% 7.9%
7.5%
2020
4.9%
2021
5.3%
2022 Jan-Sep23
2019
Others Saudi Arabia Lybia Australia Japan US
10
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ในทางกลับกัน ไทยก็เป็น Supplier หลักของสหรัฐฯ เช่นกัน โดยมีส่วนแบ่งตลาดมากเกือบครึ่งนึงของมูลค่านาเข้า
ทั้งหมด ซึ่งเป็นผลจาก Price competitiveness ที่ต่ากว่าคู่แข่งอื่นในตลาด และชื่อเสียงของสินค้าไทย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Trademap (HS code: 160414)
โครงสร้างการนาเข้าทูน่ากระป๋องของสหรัฐฯ
หน่วย : % ของมูลค่าการนาเข้าทูน่ากระป๋องทั้งหมด
ราคานาเข้าทูน่ากระป๋องต่อหน่วยของสหรัฐฯ
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
47.0% 51.6%
43.7% 45.1%
12.0% 8.6%
10.3% 11.9%
10.0% 8.8%
11.1% 10.8%
2019 2020 2021
6.0%
2022
Others
Indonesia
Fiji
Vietnam
Ecuador
Thailand
3,500
4,000
4,500
5,000
5,500
6,000
6,500
7,000
7,500
2018 2019 2020 2021 2022
World
Thailand
Ecuador
Viet Nam
Fiji
Indonesia
ไทยมีจุดแข็งสำคัญในฐำนะผู้ประกอบกำรแปรรูปและส่งออกสินค้ำปลำทูน่ำรำยใหญ่ที่สุด
ของโลก โดยเฉพำะสินค้ำปลำทูน่ำกระป๋อง ทำให้มีศักยภำพในกำรแข่งขันในตลำดโลกสูง
นอกจำกนี้ อุตสำหกรรมกำรแปรรูปสินค้ำอำหำรทะเลและปลำทูน่ำของไทยยังมีขนำดใหญ่
และกำลังกำรผลิตมำกเพียงพอรองรับควำมต้องกำรของประเทศผู้นำเข้ำ อีกทั้ง ยังมี
อุตสำหกรรมต่อเนื่องที่ครบวงจรอีกด้วย
11
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
อย่างไรก็ดี การบริโภคทูน่ากระป๋องในสหรัฐฯ กลับมีแนวโน้มปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับภาพรวมการบริโภค
อาหารทะเล โดยพบว่าผู้บริโภคหันไปนิยมอาหารทะเลชนิดอื่น เช่น กุ้งและแซลมอน มากขึ้นแทน
New list of America's most popular seafood species, showing some sharp shifts (June 2023 update)
ที่มา : ข้อมูลจาก National Fisheries Institute (NFI)
U.S. Per capita seafood and canned tuna consumption
หน่วย : ปอนด์ต่อคนต่อปี
1.5
2.0
2.5
3.0
2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021
Pandemic-driven force:
Exceptionally high demand during the 1st wave of
COVID-19 (Stockpiling during lockdown measure)
Overall seafood consumption
12
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ขณะเดียวกัน การส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังตลาดหลัก 5 อันดับแรก พบว่ามีทิศทางที่แตกต่างกัน (Uneven momentum)
โดยส่วนใหญ่ยังเติบโตได้ดีโดยเฉพาะการส่งออกไปยังตลาดในกลุ่มตะวันออกกลาง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยไปตลาดหลัก 5 อันดับแรก
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการส่งออกและอัตราการเติบโตของการส่งออกทูน่ากระป๋องในปี 2023
หน่วย : ตัน
156.1 153.7
74.3
87.9
154.6
198.9
141.7
112.0
151.5 107.0
66.6
147.1
123.7 110.7 105.7
Australia Lybia
371.9
459.7
117.6
Saudi Arabia
US Japan
341.4
295.2
-13.5%
+25.1%
-18.3%
+3.5%
+58.7%
2021 2022 YTD22 YTD23
-100
-80
-60
-40
-20
0
20
40
60
80
100
120
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
% YTD growth (Jan-Sep)
US
Australia
Egypt
Japan
Lybia
Canada
Saudi Arabia
UAE
Israel
Chili
Peru
S.Africa
Switzerland
New Zealand
% Export share (2022)
หมายเหตุ : ขนาดของวงกลม หมายถึง มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องในปี 2022
13
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
แนวโน้มอุตสาหกรรมทูน่ากระป๋องในปี 2024
สาหรับปี 2024 มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยมีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวก
เล็กน้อยที่ 5.5%YOY สอดคล้องกับภาพรวมเศรษฐกิจและความต้องการจากประเทศคู่ค้า
ที่คาดว่าจะทยอยปรับตัวดีขึ้นตามลาดับ และเริ่มกลับเข้าสู่เทรนด์การเติบโตเดิมในช่วง Pre-COVID
ทั้งนี้ปัจจัยที่จะช่วยสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจทูน่ากระป๋องในปีหน้าและระยะต่อไปจะมาจาก
ความต้องการจากประเทศในกลุ่มตลาดเกิดใหม่ (Emerging markets) อาทิ กลุ่มตะวันออก
กลาง, แอฟริกา, ลาตินอเมริกา รวมทั้งประเทศกลุ่ม CLMV ที่ยังมีช่องว่างให้เติบโตได้อีกมาก
ในอนาคต แต่คงต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างตลาดเพื่อทดแทนการส่งออกไปยังตลาดหลัก
ดั้งเดิมอย่างสหรัฐฯ ที่ความต้องการบริโภคเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว รวมทั้งความนิยมบริโภคทูน่า
กระป๋องที่ปรับทยอยปรับลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
อย่างไรก็ดี ความท้าทายของอุตสาหกรรมทูน่าในระยะต่อไปคือ อุปทานปลาที่มีแนวโน้ม
ปรับลดลงอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ซึ่งเป็นผลมาจากปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่มีแนวโน้ม
ทวีความรุนแรงมากขึ้น อุณหภูมิในมหาสมุทรที่เพิ่มสูงขึ้นจากปัญหาโลกร้อน รวมไปถึง
ความเข้มงวดในการจัดระเบียบและควบคุมการจับปลาเพื่อมุ่งไปสู่การทาประมงอย่างยั่งยืน
(Sustainable fishing) นอกจากนี้ ปัญหาการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมงก็เป็นสิ่งที่ไทย
มองข้ามไม่ได้ เพราะเป็นประเด็นสาคัญด้านสิทธิมนุษยชน (Social issue) ที่ไทยถูกกล่าวหา
และกาลังถูกจับตามองอย่างใกล้ชิด ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้นก็อาจส่งผลกระทบ
ต่อภาพลักษณ์ของสินค้าไทยและแนวโน้มการส่งออกอาหารทะเลในระยะต่อไปได้
14
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวกที่ 5.5%YOY หลังจากคาดการณ์ว่าจะ
ติดลบในปีนี้ สอดคล้องกับความต้องการในตลาดโลกและประเทศคู่ค้าที่ฟื้นตัวดีขึ้น
• มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น
จากปีนี้ โดยคาดว่าอัตราการขยายตัวที่ราว 5.5%YOY สอดคล้องกับ
ความต้องการในตลาดโลกและประเทศคู่ค้าที่ทยอยฟื้นตัวดีขึ้น
แต่คาดว่ามูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องจะยังคงอยู่ต่ากว่าช่วง
Pre-COVID เล็กน้อย
• สาหรับในระยะ Medium-term คาดว่ามูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋อง
มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในระดับต่าใกล้เคียงกับอัตราการเติบโตในอดีต
(2015-2019) เนื่องจากความต้องการของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นตลาดผู้บริโภค
หลักในสินค้าทูน่ากระป๋องที่ชะลอลง ประกอบกับการที่ผู้เล่นไทยมีการ
ทยอยออกไปซื้อกิจการและขยายฐานการผลิตในต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบทูน่าและใกล้ตลาด ส่งผลให้รายได้จากการ
ส่งออกทูน่ากระป๋องจากไทยมีแนวโน้มปรับลดลงเรื่อย ๆ
• สาหรับปัจจัยที่จะสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจทูน่ากระป๋องในอนาคต
จะมาจากความต้องการในตลาดเกิดใหม่ที่เพิ่มขึ้น อาทิ กลุ่มตะวันออกกลาง,
แอฟริกา, ลาตินอเมริกา, ประเทศในกลุ่ม CLMV แต่ต้องอาศัยระยะเวลา
ในการขยายตลาดและเติบโต เพื่อทดแทนความต้องการจากตลาดหลัก
อย่างสหรัฐฯ ที่เข้าสู่ภาวะอิ่มตัวแล้ว
ภาพรวมภาวะธุรกิจและแนวโน้มในระยะต่อไป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
1,965 1,956
2,041
2,265
2,170
2,248
1,786
2,117
1,969
2,078
2,250
2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023E 2024F 2027F
2015
2.5%
3.6% -20.6%
18.6% -7.0%
5.5%
2.7%
Panic buying, and stockpiling of canned
foods during the 1st wave lockdown
measure (Q1/2020 and Q2/2020)
15
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
1,664
1,873
สาหรับแนวโน้มราคาวัตถุดิบทูน่าในปีหน้า คาดว่าจะยังทรงตัวอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง เป็นผลจากอุปทานปลาที่ลดลง
ต้นทุนการจับปลาที่ยังอยู่ในระดับสูง ท่ามกลางสถานการณ์ของอุปสงค์ในตลาดโลกที่ทยอยปรับตัวดีขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของบริษัทไทยยูเนี่ยนกรุ๊ป (TU) and GLOBEFISH Report (FAO)
ราคาวัตถุดิบทูน่าพันธุ์ Skipjack (ณ ท่าเรือกรุงเทพฯ จาก West pacific ocean)
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
ราคาวัตถุดิบทูน่าพันธุ์ Skipjack (เฉลี่ยรายปี)
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
500
1,000
1,500
2,000
2,500
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019
2020
2021
2022
2023
FAD period
(3-month ban)
132.8
60
80
100
120
140
160
01/62 07/62 01/63 07/63 01/64 07/64 01/65 07/65 01/66 07/66 01/67
Tuna price index
Tuna price index (Jan 2019=100)
1,170
1,425
1,860
1,530
1,209
1,385 1,406
1,663
1,880
2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023E
-21.0%
14.6%
1.5%
18.3%
13.0%
YTD22 YTD23
12.6%
Strong price rallied from
an exceptionally high
demand during the
lock down measures
Lower tuna catch from
climate change problem
16
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ความท้าทายและประเด็นสาคัญที่ต้องจับตาสาหรับอุตสาหกรรมทูน่าในระยะถัดไป
Climate change and ocean warming Sustainable fishing
Supply-side Demand-side
1 2 Human trafficking
3
• ทูน่า เป็นกลุ่มปลาที่อพยพบ่อยตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
มหาสมุทร ซึ่งจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
(Climate change) คาดว่าทูน่าจะเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออก
จากน่านน้าอธิปไตยไปสู่ทะเลหลวง หรือส่วนของทะเลที่ไม่ได้รวม
อยู่ในเขตเศรษฐกิจจาเพาะในทะเลอาณาเขต หรือในน่านน้าภายใน
ของประเทศหรือรัฐต่าง ๆ ในหมู่เกาะแปซิฟิก
• นอกจากนี้ สัตว์ทะเลชนิดอื่น ๆ ก็มีแนวโน้มที่จะอพยพหนีอุณหภูมิ
ที่เพิ่มสูงขึ้นแถบเส้นศูนย์สูตรอีกด้วย
• ประเด็นเรื่องการทาประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) จะทวี
ความสาคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต และอาจมีผลให้การจับปลาทูน่า
ถูกควบคุมอย่างเข้มงวดมากขึ้น อาทิ การจับปลานอกฤดูที่ได้รับอนุญาต
หรือการใช้เครื่องมือจับปลาที่อาจทาลายระบบนิเวศน์ทางทะเล เป็นต้น
• ประเด็นดังกล่าว จะทาให้อุปทานปลาทูน่าที่จับได้ในมหาสมุทรมีแนวโน้ม
ปรับลดลงในระยะยาวและส่งผลให้ราคาวัตถุดิบทูน่านาเข้าแพงขึ้นตามไปด้วย
ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนและอัตรากาไรของผู้ประกอบการ
• ปัญหาการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมง
และการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม
เป็นประเด็นด้าน Social ที่มีความสาคัญ
อย่างยิ่ง เพราะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์
ของสินค้าประมงของไทยและอาจทาให้เกิด
กระแสต่อต้านจากผู้บริโภค โดยเฉพาะกลุ่มที่
ให้ความสาคัญกับประเด็นนี้
Preference shift
4
• ความนิยมบริโภคทูน่ากระป๋อง โดยเฉพาะ
ในตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับ
ลดลงต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจาก
ข้อกังวลเกี่ยวกับการปนเปื้อนของสารปรอท
และการให้ความสาคัญกับผลกระทบต่อ
ระบบนิเวศทางทะเล ดังนั้น ผู้ประกอบการ
จาเป็นต้องลดความเสี่ยงด้วยการมองหา
ตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพิ่มเติม
17
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ปรากฏการณ์เอลนีโญ ทาให้เกิดภาวะ Ocean warming ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลและห่วงโซ่อาหาร
รวมทั้งมีผลให้ปลาทูน่าอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังทะเลหลวง (Open sea) ซึ่งอยู่นอกเขตจับปลาถูกกฎหมาย
ที่มา : ข้อมูลจาก NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) และ National Centers for Environmental Information
Climate change is causing tuna migration and result in a drop of tuna – It is driving tuna stocks to cooler water
• ในปี 2022 อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรโลก (Global ocean surface temperatures) สูงขึ้น 0.69 องศาเซลเซียส
จากค่าเฉลี่ยอุณหภูมิในรอบ 100 ปี และยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Upward trend)
• อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นดังกล่าว ส่งผลให้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานของปลาทูน่าในมหาสมุทรต่าง ๆ ทั่วโลก
ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมประมงทั่วโลก
• นอกจากนี้ ภาวะโลกร้อนยังกระทบต่อการขยายพันธุ์และขนาดของปลาทูน่าอีกด้วย
1
18
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ขณะเดียวกัน การอพยพย้ายถิ่นฐานของทูน่าไปทางแถบเส้นศูนย์สูตรไปยังทะเลฝั่งตะวันออก ยังทาให้เกิด
ความขัดแย้ง (Physical conflict) ระหว่างอุตสาหกรรมประมง กับอุตสาหกรรม Deep-sea mining อีกด้วย
ที่มา : ข้อมูลจาก https://carbonbrief.org/ และ Forbes Magazine (July 2023)
Climate-altered Pacific Ocean could see conflict between tuna fishing and deep-sea mining
• ผลการศึกษาล่าสุดของ Global tuna alliance และ
International Seabed Authority (ISA) ระบุว่า Deep sea
mining เป็นตัวการสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
และระบบห่วงโซ่อาหารในทะเล และมีส่วนทาลาย
อุตสาหกรรมทูน่า
• ปัจจุบันทูน่าหลายสายพันธุ์กาลังอพยพไปยัง Deep-
ocean zone of the eastern Pacific Ocean หรือ
Clarion-Clipperton Zone (Climate refugee) ซึ่งเป็น
บริเวณที่มีกิจกรรม Deep-sea mining จานวนมาก และ
ทาให้เกิด Physical conflict ระหว่างทั้ง 2 อุตสาหกรรม
NOISE IMPACT:
Physiological
and behavioral
impact on tuna
TOXIC METAL:
Could enter the
seafood supply and
deep-sea food web
1 2
1
19
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
การให้ความสาคัญกับการทาประมงอย่างยั่งยืน เป็นหนึ่งในประเด็นสาคัญที่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมทูน่า
จาเป็นต้องให้ความสาคัญอย่างยิ่งยวด เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันและลดอุปสรรคทางการค้าจาก NTBs
แนวทางการบริหารจัดการเพื่อมุ่งไปสู่การประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing)
• การทาประมงอย่างยั่งยืน คือการทาประมง
ในระดับที่สามารถควบคุมและรักษาปริมาณสัตว์น้า
ในท้องทะเลให้มีจับได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่เป็น
การประมงที่ทาลายหรือส่งผลเสียให้เกิดความไม่
สมดุลของระบบนิเวศในท้องทะเลและมหาสมุทร
โดยมีหลักการสาคัญ 3 เรื่อง ได้แก่
1. Sustainable fish stocks
2. Minimizing environmental impacts
3. Effective fisheries management
2
20
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ปัญหาด้าน Social โดยเฉพาะการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมงและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรมเป็น
ประเด็นใหญ่ที่ต้องจับตา ล่าสุดเมื่อเดือน มิ.ย. ที่ผ่านมา สหรัฐฯ ยังคงอันดับการค้ามนุษย์ของไทยไว้ที่ Tier 2
การจัดอันดับการค้ามนุษย์ของไทยโดยรัฐบาลสหรัฐฯ (Thailand TIER ranking by year)
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
TIER 3
TIER 2 WL
TIER 2
TIER 1
ความหมายของแต่ละ Tier :
Tier 1 – รัฐบาลพยายามดาเนินการอย่างจริงจังจนอัตราการค้ามนุษย์อยู่ในระดับต่า
Tier 2 – รัฐบาลยังดาเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่าของสหรัฐฯ แต่มีความพยายามปรับปรุงอย่างมีนัยสาคัญ
Tier 2 Watch List – กลุ่มประเทศที่ต้องจับตามอง เพราะมีเหยื่อจากการค้ามนุษย์เพิ่มสูงขึ้น และไม่มีหลักฐาน/
มีหลักฐานไม่เพียงพอที่จะบ่งชี้ว่ารัฐบาลกาลังพยายามปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว
Tier 3 – รัฐบาลดาเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่าของสหรัฐฯ และไม่มีความพยายามปรับปรุงแก้ไข
ในรายงาน TIP Report 2023 ระบุว่า รัฐบาลไทยได้แสดงให้เห็นถึงความพยายาม
และความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ อาทิ การเพิ่มการสืบสวนกรณีการค้ามนุษย์,
การจัดทาแนวทางกลไกการส่งต่อระดับชาติ (National referral mechanism) การจัดตั้งศูนย์
ช่วยเหลือเหยื่อค้ามนุษย์แห่งใหม่ และการพัฒนาแนวทางสาหรับเจ้าหน้าที่ด้านแรงงานในการ
ส่งต่อผู้ที่สงสัยว่าตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ไปยังทีมสหสาขาวิชาชีพ เป็นต้น แต่ความพยายาม
ดังกล่าวยังคงไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่าของรัฐบาลสหรัฐฯ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการต่างประเทศ
3
21
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ความนิยมบริโภคทูน่ากระป๋อง โดยเฉพาะในตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับลดลงต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่ง
เป็นผลจากข้อกังวลเกี่ยวกับการปนเปื้อนของสารปรอท (Mercury) และผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเล
การบริโภคทูน่ากระป๋องของผู้บริโภคสหรัฐฯ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Washington Post
หน่วย : ปอนด์ต่อคนต่อปี
3.7
3.5
2.7
2.2
2.0 1.9
1990 2000 2010 2015 2020 2021
Per capita canned tuna consumption
ในสหรัฐฯ ปรับลดลงต่อเนื่องในช่วง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา
How America fell out of love with canned tuna
• Americans' changing diets and relationship to food
• Health and sustainability concerns - fears of mercury
poisoning to fury over dolphin bycatch
• A national shift away from canned foods
4
22
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
นัยต่อภาคธุรกิจ
การปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อตอบโจทย์ความท้าทายและโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ ในอนาคต
ขยายฐานลูกค้าไปยังตลาดส่งออกที่มีศักยภาพเติบโต
เพื่อทดแทนความต้องการนาเข้าจากตลาดหลัก
ที่เริ่มมีแนวโน้มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว
บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจ
ให้มีความโปร่งใสและสอดคล้องกับมาตรฐานสากล
เพื่อลดอุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้า
วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
และการปรับตัวเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
ในตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป
▪ ผู้ประกอบการควรพยายามขยายการส่งออกทูน่ากระป๋อง
ไปยังตลาดผู้บริโภคที่มีศักยภาพการเติบโตสูง อาทิ ตลาด
กลุ่ม Emerging markets หรือตลาดตะวันออกกลาง
ซึ่งเป็นหนึ่งในตลาดผู้บริโภคที่มีความน่าสนใจและมี
ศักยภาพการเติบโตสูงต่อเนื่องในอนาคต สะท้อนได้จาก
อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกที่อยู่ในระดับสูง
เมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตในตลาดส่งออกดั้งเดิม
อย่างสหรัฐฯ
▪ การให้ความสาคัญกับการกากับดูแลและปฏิบัติต่อแรงงาน
ในอุตสาหกรรมประมงอย่างถูกต้องและเป็นธรรม รวมทั้ง
คานึงถึงการทาประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing)
ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมจะต้องปฏิบัติให้ได้
ตามมาตรฐานสากล เพื่อลดการกีดกันทางการค้า โดยเฉพาะ
อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี โดยอาจพิจารณานา
เทคโนโลยีที่ทันสมัยต่าง ๆ อาทิ Blockchain มาใช้ในการ
บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานให้โปร่งใสมากขึ้น
▪ ผู้ประกอบการต้องหันมาให้ความสาคัญกับการวิจัย
และพัฒนา รวมทั้งใช้นวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนา
ผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่าเพิ่มที่สูงขึ้น รวมไปถึงการใช้
ประโยชน์จาก By-products เพื่อสร้างรายได้เพิ่มเติม
เช่น น้ามันปลา, Oil-based products หรือการสกัด
โปรตีนหรือวิตามินจากปลาทูน่า เป็นต้น
▪ ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการยังต้องเตรียมรับมือกับการ
แข่งขันในตลาดมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น จากกระแส
ความนิยม Alternative proteins และ Plant-based
products ที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน
Industry outlook
2024-2027 Seafood
(Shrimp)
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
24
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
Value chain ของอุตสาหกรรมกุ้ง เริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงกุ้งหรือการจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งธรรมชาติ การแปรรูป
บรรจุ ขนส่งและการกระจายสินค้า และการทาการตลาดเพื่อจาหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคขั้นสุดท้าย
ห่วงโซ่มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมกุ้ง
Raw Material Sourcing Production Distribution
บรรจุ การตลาด การจัดจาหน่าย
แปรรูปขั้นสูง
แปรรูปขั้นต้น
รวบรวม
เพาะเลี้ยง
เพาะพันธุ์กุ้ง
อาหารกุ้ง
กุ้งขาว 98% กุ้งกุลาดา 2% กุ้งกระป๋อง 7%
กุ้งสด 36%
กุ้งแปรรูป 57% ส่งออก 90% ขายในประเทศ 10%
Different forms of shrimp processing
HOSO
Head On, Shell On
HLSO
Head – Less, Shell On
HLSOEZ
Head – Less, Easy Peel
(shell split, down back of shrimp)
RPDTO
RAW, Peeled, Deveined
Tail On
RPDTF
RAW, Peeled, Deveined
Tail Off
CPDTO
Cooked, Peeled, Deveined,
Tail On
CPDTF
Cooked, Peeled, Deveined,
Tail Off
25
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
สถานการณ์อุตสาหกรรมกุ้งของไทย
ในช่วงที่ผ่านมา
ผลผลิตกุ้งของไทยผลิตเพื่อป้อนตลาดส่งออกเป็นหลัก โดยอยู่ที่ราว 90% ของปริมาณผลผลิต
ทั้งหมด โดยสินค้าส่งออกประกอบด้วย กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป และกุ้งกระป๋อง
ในสัดส่วน 49% 28% และ 23% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด ตามลาดับ ทั้งนี้มูลค่าการส่งออกกุ้ง
และผลิตภัณฑ์ของไทยในช่วง 9 เดือนแรกที่ผ่านมาอยู่ที่ 923.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัว -14.4%
จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากการหดตัวด้านปริมาณเป็นหลัก (-9.6%) สอดคล้องกับ
ภาพรวมความต้องการบริโภคในตลาดโลกและกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ยังอยู่ในภาวะซบเซา
สาหรับในช่วงที่ผ่านมา การส่งออกสินค้าหลักอย่างกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปยังตลาดส่งออกอันดับ 1
อย่างจีนถือว่าเติบโตได้ดี โดยในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้ขยายตัว 22.9%YOY สวนทางกับภาพรวมของทั้ง
ตลาดที่หดตัว -8.2%YOY ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับอานิสงส์จากการยกเลิกนโยบาย Zero COVID
ของทางการจีนที่ทาให้การส่งออกขยายตัวสูงขึ้นมากในช่วง 2 ไตรมาสแรก ก่อนจะกลับมาหดตัว
อีกครั้งในช่วงไตรมาส 3 จากผลกระทบของ China slowdown ที่ชัดเจนมากขึ้น ขณะที่การส่งออก
กุ้งแปรรูปไปยังตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่น หดตัว -17.5%YOY และ -8.3%YOY ตามลาดับ
ซึ่งนอกจากจะเป็นผลจากกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ยังคงเปราะบางแล้ว ยังมาจากศักยภาพการแข่งขัน
ของผู้ส่งออกกุ้งไทยที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นโดยเฉพาะจาก
ประเทศผู้ส่งออกกุ้งที่มีต้นทุนต่ากว่าไทย เช่น เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย อินเดีย และเวียดนาม
26
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ภาพรวมมูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้ หดตัว -14.4%YOY เป็นผลมาจากการ
ส่งออกกุ้งแปรรูป กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง และกุ้งกระป๋อง ที่หดตัว -11.8%, -4.8% และ -30.8% ตามลาดับ
หมายเหตุ : *การวิเคราะห์ครอบคลุมสินค้าส่งออกในกลุ่มกุ้งแปรรูป กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง และกุ้งกระป๋อง ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์* ของไทย (รายเดือนและรายปี)
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ปริมาณการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์* ของไทย (รายเดือนและรายปี)
หน่วย : ตัน
60
80
100
120
140
160
180
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019 2020 2021 2022 2023
1,455.6
1,329.1 1,418.8 1,425.7
1,079.9
923.9
2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23
-8.7% 6.7% 0.5%
-14.4%
5,000
10,000
15,000
20,000
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2019 2020 2021 2022 2023
152,132 142,507 144,748 140,025
105,826 95,700
2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23
-6.3% 1.6% -3.3%
-9.6%
27
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งฟื้นตัวได้เร็วกว่ากุ้งแปรรูป โดยได้รับปัจจัยหนุนจากการส่งออกไปยังตลาดจีนที่ยังคง
เติบโตได้ดี โดยพบว่าในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปจีนขยายตัว 22.9%YOY
การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของไทย (49% ของมูลค่าการส่งออกในปี 2022) อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปตลาดส่งออกหลักของไทย
หน่วย : %YOY
31.2%
21.6% 18.2%
29.0%
CN
US JP
Others
727
623
685 699
2019 2020 2021 2022
-4%
กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง
โครงสร้างตลาดส่งออก
ปี 2022
มูลค่าการส่งออก
(หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
Export value, USD mil. (%YOY) Total CN US JP
ปี 2020 -14.4% -26.5% -4.4% -22.6%
ปี 2021 +10.0% +13.9% -0.2% +11.9%
ปี 2022 +2.1% +46.4% -22.3% +6.7%
Jan-Sep 2023 -8.2% +22.9% -30.6% -24.5% -100
-50
0
50
100
150
200
250
300
350
400
09/65
07/65
05/65
03/65 09/66
07/66
05/66
03/66
01/66
11/65
01/65
CN U.S. JP
แม้ว่าภาพรวมการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปตลาดจีนในปีนี้จะยังขยายตัวดี
แต่จากข้อมูลจะพบว่าการส่งออกในช่วง 3 เดือนล่าสุดกลับมาหดตัวสูง
(Double-digit decline) สะท้อนถึงอุปสงค์ในตลาดจีนที่เริ่มกลับมาอ่อนแอ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC), China’s National Bureau of Statistics และ Bloomberg
28
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
อย่างไรก็ดี SCB EIC มองว่าการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งในระยะต่อไปเริ่มมีความเสี่ยงที่เพิ่มสูงขึ้น จากแนวโน้ม
เศรษฐกิจจีนที่ชะลอลงมากกว่าที่เราเคยคาดการณ์ไว้ ซึ่งอาจส่งผลให้ความต้องการนาเข้ากุ้งจากไทยชะลอลงได้
Global GDP forecast by SCB EIC
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Rabobank
หน่วย : %YOY
ความต้องการนาเข้ากุ้งของจีนมีแนวโน้มชะลอลงในช่วงครึ่งหลังของปี ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ท้าทาย
สาหรับไทย โดยเฉพาะการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งที่มีจีนเป็นตลาดส่งออกหลักอันดับ 1 (สัดส่วน
มากถึงราว 1 ใน 3 ของการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งทั้งหมดของไทย)
29
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนยังมี Downside risks อีกหลายเรื่อง อาทิ ระดับหนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูง รวมทั้งวิกฤติ
ในภาคอสังหาริมทรัพย์ และการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่อาจกระทบต่อแนวโน้มการเติบโตในระยะกลาง
1) Public debt forecast by IMF (including LGFV* and Government Funds)
หน่วย : % of GDP
2) Real estate sector in China will continue to shrink
หน่วย : %YOY
101.4
110.1
122
129
136.4
143.4
149.6
155.6
0
30
60
90
120
150
180
2021 2022 2023 2024 2025 2026 2027 2028
หมายเหตุ : *Local Government Financing Vehicle
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ IMF, National Bureau of Statistics, PBOC และ CEIC
-50
-20
10
40
70
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
Real estate investment Floor space started
Floor space completed Floor space sold
3) China FDI declined and currently stay at the lowest level in 25 years
หน่วย : USD Million
0
50,000
100,000
150,000
Mar-00
Jul-01
Nov-02
Mar-04
Jul-05
Nov-06
Mar-08
Jul-09
Nov-10
Mar-12
Jul-13
Nov-14
Mar-16
Jul-17
Nov-18
Mar-20
Jul-21
Nov-22
30
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
สาหรับการส่งออกกุ้งแปรรูปไปตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ เริ่มมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น โดยพบว่ามูลค่าการส่งออกกุ้งแปรรูป
ในเดือน ก.ค. ส.ค. และ ก.ย. กลับมาขยายตัวเป็นบวกอีกครั้ง หลังจากหดตัวต่อเนื่องมานานกว่า 10 เดือน
การส่งออกกุ้งแปรรูปของไทย (28% ของมูลค่าการส่งออกในปี 2022) อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกกุ้งแปรรูปไปยังตลาดส่งออกหลักของไทย
หน่วย : %YOY
473
424 423
399
2019 2020 2021 2022
-16%
41.1%
39.7%
19.2%
U.S.
JP
Others
กุ้งแปรรูป
มูลค่าการส่งออก
(หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
โครงสร้างตลาดส่งออก
ปี 2022
Export value, USD mil. (%YOY) Total US JP
ปี 2020 -10.5% 2.8% -16.7%
ปี 2021 -0.3% -1.5% -0.4%
ปี 2022 -5.5% -6.7% -1.6%
Jan-Sep 2023 -11.8% -17.5% -8.3%
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
-70
-60
-50
-40
-30
-20
-10
0
10
20
30
40
50
60
01/65 03/65 05/65 07/65 09/65 11/65 01/66 03/66 05/66 09/66
07/66
U.S. Japan
31
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ความท้าทายสาคัญที่ต้องจับตาคือ ภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นท่ามกลางศักยภาพของไทยที่ลดลงต่อเนื่อง สะท้อนได้จาก
ส่วนแบ่งในตลาดส่งออกหลักที่ทยอยปรับลดลง โดยเฉพาะการส่งออกกุ้งแปรรูปไปยังตลาดสหรัฐฯ
ปริมาณการนาเข้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของสหรัฐฯ และญี่ปุ่น
หน่วย : ตัน, % ของปริมาณการนาเข้าทั้งหมด
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Trademap (HS code: 160521 กุ้งแปรรูป, 030617 กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง)
ปริมาณการนาเข้ากุ้งแปรรูปของสหรัฐฯ และญี่ปุ่น
หน่วย : ตัน, % ของปริมาณการนาเข้าทั้งหมด
187,724
2022
201,843
30%
2019
19%
23%
17%
2018
22%
18%
12%
22%
22%
15%
26%
26%
2020
14%
12%
27%
21%
20%
26%
2%
3%
4%
19%
30%
2021
149,370
136,215
2%
168,759 5%
11%
11%
40%
2021
36%
64,018 65,689 61,849 62,432
2022
15%
9%
2020
35%
13%
10%
2019
12%
9%
2018
35% 37%
39%
39% 38%
36%
68,149
16%
8%
37%
Others
Thailand
Vietnam
Indonesia
Ecuador
India
Others
Greenland
China
Indonesia
Thailand
Vietnam
3%
2020
41%
21%
534,725 550,809 564,764
692,897
2022
20%
4% 3%
3%
4%
2019
49%
14%
3%
10% 2%
39%
30%
621,285
16%
3%
18%
5%
2018
43%
14%
19% 5%
4% 2%
5%
5%
4%
4%
2%
2021
43%
3%
3%
25%
2%
16%
2%
2%
2%
4%
25% 26% 27% 29% 25%
22% 21% 21% 19% 19%
17% 16% 17% 17% 18%
11% 11% 12% 11% 11%
17% 17% 17% 19% 20%
2018
7%
2019
6%
2020
6%
2021
9%
143,913 137,751 146,827
2022
144,722
7%
142,485
Others
Thailand
Argentina
Mexico
Indonesia
Ecuador
India
Vietnam
Others
Thailand
Argentina
Indonesia
Vietnam
India
32
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
นอกจากนี้ การแข่งขันในตลาดใหม่ที่มีศักยภาพสูงอย่างจีนก็มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะจากคู่แข่งที่มี
ต้นทุนต่าอย่างเอกวาดอร์และอินเดีย ซึ่งปัจจุบันเป็น Supplier หลักในจีน มีส่วนแบ่งรวมกันกว่า 80%
ราคานาเข้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของจีน รายประเทศสาคัญ
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Trademap (HS code: 160521 กุ้งแปรรูป, 030617 กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง)
ปริมาณการนาเข้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของจีน
หน่วย : ตัน, % ของปริมาณการนาเข้าทั้งหมด
22.0%
9.0%
42.0%
9.0%
16.0%
Ecuador
India
1.0%
Vietnam
Argentina
Thailand
RoW
64.6%
15.7%
Ecuador
India
2.7%
Thailand 2.2%
Saudi Arabia RoW
Vietnam
4.4%
10.4%
ปี 2016
100% = 60,887 tons
ปี 2022
100% = 873,789 tons
192,836
2018 2019 2020 2021 2022
649,451
545,418
610,378
873,789
353%
5,735
6,274
6,753
7,869
10,131
4,500
5,000
5,500
6,000
6,500
7,000
7,500
8,000
8,500
9,000
9,500
10,000
10,500
11,000
11,500
2018 2019 2020 2021 2022
Ecuador
India
Vietnam
Argentina
Thailand
World Avg.
6,534
6,466
33
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
ราคากุ้งขาวที่เกษตรกรขายได้ปรับลดลงต่อเนื่องนับจากต้นปี สอดคล้องกับภาพรวมความต้องการในตลาดโลกที่อยู่ใน
ภาวะซบเซาท่ามกลางภาวะอุปทานกุ้งล้นตลาด โดยคาดว่าราคาเฉลี่ยปีนี้จะอยู่ที่ราว 136 บาทต่อกิโลกรัม
รายละเอียด
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE) และบริษัทไทยยูเนี่ยน
ราคาวัตถุดิบกุ้งขาวแวนนาไมขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัม (รายเดือน)
หน่วย : บาทต่อกิโลกรัม
100
120
140
160
180
200
220
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2018 2019 2020 2021 2022
60
70
80
90
100
110
120
01/62 07/62 01/63 07/63 01/64 07/64 01/65 07/65 01/66 07/66
Shrimp price index (Jan 2019=100)
• แนวโน้มราคากุ้งในปีนี้ (2023) คาดว่าจะอยู่ที่ราว 142 บาทต่อกิโลกรัม สูงขึ้นเล็กน้อยจากราคา
เฉลี่ยในช่วง 9 เดือนแรก เนื่องจากเข้าสู่ช่วง Festive season ปลายปีซึ่งจะช่วยหนุนให้
อุปสงค์เพิ่มสูงขึ้นตาม Seasonal pattern แต่อย่างไรก็ดี ราคาเฉลี่ยในปีนี้จะยังคงต่ากว่า
ราคาเฉลี่ยในปี 2022 ราว -12%YOY ซึ่งเป็นผลมาจาก 1) ความต้องการบริโภคกุ้งในตลาดโลก
ที่ปรับตัวลดลง โดยเฉพาะในตลาดส่งออกหลักของไทย และ 2) ภาวะอุปทานกุ้งล้นตลาดโลก
(Oversupply) ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเร่งเพิ่มผลผลิตหลังการเปิดเมืองและการผ่อนคลาย
มาตรการ COVID-19 ในช่วงที่ผ่านมา รวมถึงผลผลิตกุ้งในประเทศผู้ผลิตหลักอย่างเอกวาดอร์
ที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
• สาหรับแนวโน้มในปีหน้า (2024) คาดว่า ภาพรวมราคากุ้งในตลาดโลกและในไทยจะยังมี
แนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับต่าต่อเนื่อง จากความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงต่าง ๆ ในระบบ
เศรษฐกิจโลก และผลกระทบจากความขัดแย้งทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังคงยืดเยื้อ รวมไปถึง
เศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มชะลอลงมากกว่าที่เคยคาดไว้ ขณะเดียวกัน ประเทศผู้ส่งออกกุ้งยังมี
แนวโน้มที่จะแข่งขันกันด้านราคา (Price war) ต่อเนื่อง ส่งผลให้การปรับขึ้นราคากุ้งอาจทาได้
ไม่มากนัก
2018 2019 2020 2021 2022 YTD23 2023E
ราคากุ้งขาว 156.5 148.5 147.7 137.9 162.0 139.6 142.0
% YOY -14.6% -5.1% -0.6% -6.6% 17.5% -15.2% -12.3%
34
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
นอกจากปัญหาความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานในตลาดกุ้งโลกแล้ว ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยังต้อง
เผชิญกับปัจจัยลบจากปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่ทาให้วัตถุดิบอาหารกุ้ง (fishmeal) แพงขึ้นมากอีกด้วย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Rabobank
ความท้าทายของอุตสาหกรรมกุ้งในช่วงที่เหลือของปี …. “2023 is a year to forget for the shrimp industry”
Oversupply esp. from Ecuadorian output Softening global demand El Nino causes fishmeal shortage
1 2 3
ภาวะกุ้งล้นตลาดโลก : ผลผลิตกุ้งในปี 2023
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นไปแตะระดับ Record high
ที่ราว 6 ล้านตัน เป็นผลจากปริมาณผลผลิตกุ้ง
ในประเทศเอกวาดอร์ที่เพิ่มขึ้นมากเป็นหลัก ในขณะที่
ผลผลิตกุ้งจากประเทศผู้ผลิตฝั่งเอเชียก็มีแนวโน้ม
เพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะจีนและอินเดีย
ราคาวัตถุดิบปลาป่น (Fishmeal) ในอาหารกุ้ง
มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2023
ซึ่งเป็นผลจากปัญหาขาดแคลนปลาป่น จากผลกระทบ
ของเอลนีโญส่งผลให้ต้นทุนของผู้ประกอบการปรับตัว
สูงขึ้นตามไปด้วย
คาดว่าความต้องการบริโภคกุ้ง
ในตลาดโลกจะชะลอตัวลงอีกในช่วง
ที่เหลือของปี โดยเฉพาะความ
ต้องการกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งจากจีน
จากแนวโน้มเศรษฐกิจที่ชะลอลง
มากกว่าที่คาดไว้ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจาก
ปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์
ความต้องการนาเข้ากุ้งจากกลุ่ม EU
มีแนวโน้มซบเซาต่อเนื่อง จากผล
ของสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ยืดเยื้อ
ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น
และกาลังซื้อของผู้บริโภคโดยภาพรวม
35
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
สืบเนื่องจากสถานการณ์ราคากุ้งในประเทศที่ตกต่าลงอย่างมากในปัจจุบัน ภาครัฐจึงออกโครงการช่วยเหลือเกษตรกร
ด้วยการกระตุ้นการบริโภคกุ้งในประเทศ และชดเชยราคาให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Undercurrent News และกรมประมง
ราคาวัตถุดิบกุ้งขาวแวนนาไม (รายเดือน)
หน่วย : บาทต่อกิโลกรัม
โครงการระยะสั้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ปี 2023
• กระตุ้นการบริโภคกุ้งภายในประเทศ เพิ่มช่องทางการจาหน่ายกุ้ง
โดยเมื่อช่วงกลางปีที่ผ่านมา Shrimp board ได้อนุมัติชดเชยส่วนต่าง
ราคากุ้งให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการในอัตรากิโลกรัมละไม่เกิน 20 บาท
และค่าบริหารจัดการในส่วนของค่าใช้จ่ายดาเนินการด้านการตลาด
ในอัตรากิโลกรัมละไม่เกิน 10 บาท อาทิ ค่าจัดการด้านขนาดและ
คุณภาพ ค่าเก็บรักษา ค่าบรรจุภัณฑ์ ค่าขนส่ง ให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยง
กุ้งหรือผู้รวบรวมที่เข้าร่วมโครงการ โดยตั้งเป้าหมายดูดซับผลผลิตกุ้ง
ทะเลปริมาณ 5,000 ตัน ระยะเวลาดาเนินการ 2 เดือน วงเงินรวม
150 ล้านบาท (งบประมาณของกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร
กระทรวงพาณิชย์) เพื่อแก้ปัญหาราคากุ้งตกต่า
• ปรับสมดุลอุปสงค์-อุปทาน ด้วยการวางแผนการผลิต เกษตรกร
ผู้เลี้ยงกุ้งควรหารือร่วมกับผู้ประกอบการห้องเย็นและโรงงานแปรรูป
เพื่อวางแผนการผลิตให้ได้ ขนาด ปริมาณ และมีช่วงเวลา
ของผลผลิต ตรงตามที่ตลาดต้องการ
36
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
นอกจากโครงการช่วยเหลือระยะสั้นแล้ว ภาครัฐยังมีโครงการระยะยาวเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรเพื่อสนับสนุน
การเติบโตของอุตสาหกรรมกุ้งอย่างยั่งยืนร่วมด้วย
แนวทางการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในระยะยาว
โครงการอาหารกุ้งทะเลธงเขียวเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเล
สาหรับบริโภคภายในประเทศ โดยสนับสนุนเงินค่าอาหาร
กุ้งทะเล กิโลกรัมละ 2 บาท ให้กับเกษตรกรที่จ้างผลิต
โดยใช้เงินทุนของตนเอง
การส่งเสริมการใช้จุลินทรีย์ทดแทนการใช้สารเคมี
โดยให้บริการหัวเชื้อจุลินทรีย์แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่
และส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์จุลินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกรที่มี
ความพร้อมในการดาเนินการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์
เพื่อแจกจ่ายให้แก่สมาชิกในสังกัด
โครงการลดต้นทุนการผลิตกุ้งทะเลเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถการแข่งขันในอุตสาหกรรมกุ้งทะเลอย่างยั่งยืน
โดยส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน (Solar cell) การใช้เครื่อง
เติมอากาศอัจฉริยะ และการปรับปรุงบ่อเพื่อลดต้นทุน
แฝงจากการเกิดโรค
โครงการเสริมสภาพคล่องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเล
โดยให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนปลอดดอกเบี้ย
เพื่อนาไปซื้อปัจจัยการผลิต เช่น ลูกพันธุ์ อาหาร และอื่น ๆ ซึ่งเป็น
การลดภาระค่าใช้จ่ายในส่วนดอกเบี้ยเงินกู้ที่เกิดขึ้น
และเสริมสภาพคล่องในการประกอบอาชีพให้แก่เกษตรกร
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกรมประมง
37
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
แนวโน้มอุตสาหกรรมกุ้งในปี 2024
อุตสาหกรรมกุ้งของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกกุ้ง
และผลิตภัณฑ์จะกลับมาขยายตัวเป็นบวกที่ 4%YOY หลังจากที่คาดว่าจะหดตัว -11.4%YOY ในปีนี้
สอดคล้องกับภาพรวมความต้องการบริโภคกุ้งจากประเทศคู่ค้าที่ทยอยปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ดี
การฟื้นตัวในปีหน้ายังคงมีแนวโน้มเปราะบางจากความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ที่รุมเร้า ทั้งประเด็น
ความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical risks) ที่อาจลุกลามขยายวงกว้างขึ้นและส่งผลกระทบ
ต่อภาพรวมการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก รวมไปถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน (China slowdown)
ซึ่งเป็นคู่ค้าหลักในสินค้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง ซึ่งจากความเสี่ยงต่าง ๆ เหล่านี้ ทาให้ SCB EIC คาดว่า
มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ในปีหน้าจะยังคงอยู่ต่ากว่าช่วง Pre-COVID
อย่างไรก็ดี แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปีหน้ายังคงเปราะบางท่ามกลางความเสี่ยง
ด้านลบ (Downside risks) หลายด้าน โดย SCB EIC คาดว่าผู้บริโภคในตลาดส่วนใหญ่น่าจะยังมี
ความต้องการสินค้ากุ้งที่มีราคาไม่สูงมากนัก ทาให้ผู้ค้าอาจจะสามารถปรับขึ้นราคาขายเพื่อส่งผ่าน
ภาระต้นทุนที่สูงขึ้นได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งประเด็นดังกล่าวจะยังมีส่วนกดดันอัตรากาไร
ของผู้ประกอบการในธุรกิจต่อเนื่องในปีหน้า
38
SCB EIC Industry insight : Seafood industry
มูลค่าการส่งออกกุ้งในปี 2024 มีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวกเล็กน้อยที่ 4%YOY แต่คาดว่ามูลค่าการส่งออก
จะยังไม่ฟื้นกลับไปอยู่ในช่วง Pre-COVID เพราะแนวโน้มการฟื้นตัวยังคงเปราะบางท่ามกลางความเสี่ยงหลายด้าน
• มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยในปี 2024 มีแนวโน้ม
กลับมาขยายตัวเป็นบวก หลังจากที่คาดว่าจะหดตัว -11.4%YOY
ในปีนี้ อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวในปีหน้ายังคงมีแนวโน้มเปราะบาง
จากความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ของเศรษฐกิจโลก โดยคาดว่ามูลค่าการ
ส่งออกกุ้งในปีหน้าจะยังคงอยู่ในระดับต่ากว่าช่วง Pre-COVID
(ปี 2019) ราว 10%
• อย่างไรก็ดี ภายใต้สถานการณ์ที่แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
โลกยังคงเปราะบางและมีความเสี่ยงสูง กอปรกับกาลังซื้อที่ยัง
ไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ผู้บริโภคยังมีแนวโน้มต้องการกุ้งที่มีราคาไม่แพง
มากนัก ส่งผลให้ผู้ขายอาจไม่สามารถปรับราคาให้สูงขึ้นได้มากนัก
ประกอบกับการแข่งขันด้านราคาในตลาดโลกที่มีแนวโน้มรุนแรง
มากขึ้นอีกด้วย
• สาหรับในระยะ Medium-term การส่งออกกุ้งมีแนวโน้มเติบโต
สูงขึ้นต่อเนื่องตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก
และความต้องการจากกลุ่ม Emerging markets เป็นหลัก
ภาพรวมภาวะธุรกิจและแนวโน้มในระยะต่อไป มูลค่าการส่งออกกุ้งของไทย
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
10%
42%
48%
2015
9%
51%
40%
2016
1,426
1,263 1,313
13%
2024F
25%
55%
2023E
27%
54%
20%
19%
2022
28%
49%
23%
2021
30%
48%
22%
2020
32%
47%
21%
2019
33%
50%
18%
2018
35%
49%
2017
36%
16%
50%
1,615
1,916 1,964
1,571
1,456
1,329
1,419
-9.8%
-2.6%
-11.4%
4.0%
กุ้งกระป๋อง กุ้งสด กุ้งแปรรูป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง

More Related Content

More from SCBEICSCB

SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 

อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบางและต้นทุนการดำเนินธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูง

  • 1. SCB EIC Industry insight Nov 2023 Seafood industry (Tuna and shrimp) อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น ท่ามกลาง ความเสี่ยงรอบด้าน การฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่เปราะบาง และต้นทุนการดาเนินงานที่ยังอยู่ในระดับสูง
  • 2. The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned here in. Contents Executive summary หน้า 03 Industry outlook 2024-2027 Seafood (Tuna) หน้า 05 ประเด็นสำคัญและควำมท้ำทำยที่ต้องจับตำมอง สำหรับอุตสำหกรรมอำหำรทะเล หน้า 41 SCB EIC Industry insight : Seafood industry Industry outlook 2024-2027 Seafood (Shrimp) หน้า 23
  • 3. 3 SCB EIC Industry insight : Seafood industry Executive summary อุตสาหกรรมอาหารทะเลในปี 2024 และในระยะ Medium-term โดยรวมมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากปีนี้ สอดคล้องกับภาพรวมภาวะเศรษฐกิจและกาลังซื้อของ ผู้บริโภคทั้งในไทยและตลาดโลกที่ทยอยฟื้นตัวดีขึ้น รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ที่กลับมา เป็นปกติมากขึ้นตามลาดับ การส่งออกทูน่ากระป๋องและกุ้งมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามลาดับ สอดคล้องกับ ภาวะเศรษฐกิจและความต้องการในประเทศคู่ค้าหลักที่คาดว่าจะทยอยฟื้นตัว แข็งแกร่งมากขึ้น อย่างไรก็ดี ต้นทุนของผู้ประกอบการทั้งในส่วนของวัตถุดิบนาเข้า (ปลาทูน่า) อาหารกุ้ง และค่าขนส่งวัตถุดิบ/สินค้า รวมทั้งค่าบริหารจัดการต่าง ๆ ที่ยังมีแนวโน้มทรงตัวในระดับสูงต่อเนื่อง ขณะที่การส่งผ่านต้นทุนทาได้เพียง บางส่วนเท่านั้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะกดดันอัตรากาไรของผู้ประกอบการ • สินค้าประมงของไทยเป็นการผลิตเพื่อส่งออกเป็นหลัก โดยมีปลาทูน่า กระป๋องและกุ้งเป็นสินค้าหลัก ทั้งนี้ไทยพึ่งพาการส่งออกทูน่าและกุ้ง มากถึงเกือบ 90% ของผลผลิตทั้งหมดในประเทศ ดังนั้น “มูลค่าการ ส่งออก” จึงเป็นตัวชี้วัดภาวะอุตสาหกรรมที่สาคัญ (Key indicator) ที่ต้องจับตาและมีผลต่อทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรม • ทั้งนี้ในช่วงที่ผ่านมา มูลค่าการส่งออกอาหารทะเลมีแนวโน้มปรับตัว ดีขึ้นต่อเนื่องตามการทยอยฟื้นตัวอย่างช้า ๆ ของเศรษฐกิจโลก และประเทศคู่ค้าสาคัญ อาทิ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และจีน ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19 และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศต่าง ๆ การฟื้นตัวของภาค ท่องเที่ยวและภาคบริการ รวมทั้ง Pent-up demand ในกลุ่มอาหาร ทะเลของกลุ่มผู้บริโภคที่มีกาลังซื้อสูง • อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการยังจาเป็นต้องเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง จากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง รวมถึงความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ และเศรษฐกิจโลกที่อาจเติบโตชะลอลงกว่าคาด ซึ่งปัจจัยดังกล่าว เหล่านี้อาจส่งผลกระทบต่อกาลังซื้อของผู้บริโภคและความต้องการ นาเข้าอาหารทะเลในระยะต่อไปได้ • มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวกที่ 5.5%YOY หลังจากคาดว่าจะหดตัวในปีนี้จากปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบสาหรับแปรรูปเพื่อส่งออก โดยคาดว่า ปัจจัยหนุนสาคัญที่มีผลต่อแนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรมทูน่ากระป๋องในปีหน้าจะมาจากความ ต้องการในตลาดโลกและประเทศคู่ค้าหลักอย่างสหรัฐฯ ที่ทยอยปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ดี มูลค่าการ ส่งออกทูน่ากระป๋องในปีหน้าจะยังคงอยู่ต่ากว่าช่วง Pre-COVID (2015-2019) เล็กน้อย ขณะที่ราคา วัตถุดิบทูน่านาเข้ายังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูงท่ามกลางปัญหาด้านอุปทานที่ยังไม่คลี่คลาย ขณะที่ ต้นทุนหลักในการออกจับปลาอย่างน้ามันดีเซลก็คาดว่าจะยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่องจากปีนี้ • มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นเช่นเดียวกัน โดยคาดว่าอัตราการเติบโต ในปี 2024 ที่ราว 4%YOY หลังจากที่คาดว่าจะหดตัว -11.4%YOY ในปีนี้ โดยได้รับปัจจัยหนุน จากความต้องการในประเทศคู่ค้าสาคัญที่ทยอยฟื้นตัวดีขึ้น • ทั้งนี้ หากพิจารณาเป็นรายสินค้าจะพบว่า การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งฟื้นตัวได้เร็วกว่า กุ้งแปรรูป โดยได้รับปัจจัยหนุนจากการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปยังตลาดจีนที่เติบโตดี โดยพบว่าในช่วง 8 เดือนแรกปีนี้ ขยายตัวสูงถึง 42%YOY ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับอานิสงส์จากการ ยกเลิกนโยบาย Zero COVID ของทางการจีน ทาให้การส่งออกในช่วงครึ่งปีแรกขยายตัวสูง อย่างไรก็ดี ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องจับตามองในระยะต่อไปคือ การชะลอตัวของเศรษฐกิจคู่ค้า สาคัญอย่างจีน ซึ่งอาจกระทบต่อการใช้จ่ายของผู้บริโภคและแนวโน้มการนาเข้าจากไทย
  • 4. 4 SCB EIC Industry insight : Seafood industry Executive summary ประเด็นสาคัญที่ส่งผลกระทบ ต่ออุตสาหกรรมอาหารทะเล • มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการทา ประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) และการปฏิบัติต่อแรงงาน อย่างเป็นธรรม (Fair labor practices) รวมไปถึงการดาเนินธุรกิจ ที่คานึงถึงความยั่งยืนและผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็น สิ่งที่ผู้ประกอบการในธุรกิจประมงจาเป็นต้องให้ความสาคัญมากยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจและหลีกเลี่ยงอุปสรรคทางการค้าจากข้อกีดกัน ทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs) • การแข่งขันจากสินค้านวัตกรรมทางเลือกใหม่ ๆ ตัวอย่างเช่น โปรตีน ทางเลือกจากพืช และผลิตภัณฑ์ประเภท Plant-based seafood ที่มี การวิจัยและพัฒนาออกมาอย่างหลากหลายเพื่อตอบโจทย์ผู้บริโภคที่มี แนวโน้มหลีกเลี่ยงการบริโภคเนื้อสัตว์และนิยมบริโภคโปรตีนทางเลือก จากพืชมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน • นโยบายการสร้างความมั่นคงด้านอาหาร (Food security) ของทางการจีน ส่งผลให้จีนมีแนวโน้มทยอยลดการนาเข้าและพึ่งพา การผลิตภายในประเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งนโยบายดังกล่าวส่งผล กระทบต่อแนวโน้มการส่งออกสินค้าอาหารของไทยอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าที่พึ่งพาตลาดจีนเป็นหลัก ซึ่งรวมถึง สินค้าประมงอย่างกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง Implication ต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารทะเล • ผู้ประกอบการควรเร่งปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิตของตนให้สอดรับกับกฎระเบียบ และมาตรฐานสากลโดยเฉพาอย่างยิ่งประเด็นด้าน ESG เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันในตลาดโลก และลดอุปสรรคทางการค้าต่าง ๆ โดยอาจพิจารณานาเทคโนโลยี ที่ทันสมัย อาทิ เทคโนโลยี Blockchain หรือ Satellite data เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ ห่วงโซ่อุปทานให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ตั้งแต่ต้นน้าจนถึงมือผู้บริโภค • การปรับโมเดลธุรกิจ โดยต้องเน้นการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์อาหารทะเลที่มีความ หลากหลายและแปลกใหม่ รวมไปถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก By-product ในกระบวนการผลิต เช่น น้ามันปลา, สารสกัดโปรตีนหรือวิตามินจากปลาทูน่า เป็นต้น เพื่อสร้างความแตกต่าง จากคู่แข่งในตลาดและตอบโจทย์ผู้บริโภคที่มีรูปแบบการใช้ชีวิตที่แตกต่างกัน เพื่อขยายตลาดไปสู่ ลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ ซึ่งมีความต้องการที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น • การมองหาตลาดส่งออกสินค้าประมงใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยงและหลีกหนีการแข่งขัน ในตลาดส่งออกเดิม โดยผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมควรเริ่มมองหาโอกาสในการส่งออกสินค้า ไปยังตลาดเศรษฐกิจเกิดใหม่ที่มีศักยภาพเติบโตสูง เช่น กลุ่มตะวันออกกลาง หรือกลุ่มประเทศ CLMV เป็นต้น
  • 5. Industry outlook 2024-2027 Seafood (Tuna) SCB EIC Industry insight : Seafood industry
  • 6. 6 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ห่วงโซ่มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมทูน่า Value chain ของอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋องในไทย เริ่มต้นจากการจัดหาวัตถุดิบซึ่งเกือบทั้งหมดเป็นการนาเข้า การผลิต และแปรรูป การบรรจุ และการกระจายสินค้าต่อไปยังผู้บริโภคขั้นสุดท้าย Raw Material Sourcing Production Distribution การทาการประมง (Wild fishery) ผลิต/แปรรูป บรรจุ การตลาด การจัดจาหน่าย นาเข้า 90% ประมงในไทย 10% (ปลาโอ) ทูน่ากระป๋อง 97% ทูน่าแปรรูป 3% ส่งออก 90% ขายในประเทศ 10%
  • 7. 7 SCB EIC Industry insight : Seafood industry สถานการณ์อุตสาหกรรมทูน่ากระป๋อง ของไทยในช่วงที่ผ่านมา อุตสาหกรรมทูน่าผลิตเพื่อป้อนตลาดส่งออกราว 90% โดยมีทูน่ากระป๋องเป็นสินค้าส่งออก หลัก สัดส่วนมากถึงราว 95% ของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ทูน่าทั้งหมดในแต่ละปี ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในช่วง 9 เดือนแรกปี 2023 อยู่ที่ 1,405.7 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ หดตัว -10.7% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า ซึ่งมูลค่าการส่งออกที่หดตัวลงดังกล่าว มีปัจจัยกดดันหลักจากอุปทานปลาทูน่าในท้องทะเลที่ลดลงมากจากปรากฏการณ์เอลนีโญ และปัญหาโลกร้อน ทาให้มีวัตถุดิบทูน่าสาหรับป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตน้อยลงตามไปด้วย อีกทั้ง ประเทศคู่ค้าหลักบางรายยังมีปริมาณสินค้าคงคลังในระดับสูง ทาให้ความต้องการนาเข้า สินค้าชะลอลง สาหรับการส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังตลาดหลักของไทย 5 อันดับแรก พบว่ามีทิศทาง และภาพการเติบโตที่แตกต่างกัน (Uneven trend and growth momentum) โดยในช่วง ม.ค.-ก.ย. 2023 มูลค่าการส่งออกไปยังตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ และออสเตรเลีย หดตัว -13.5%YOY และ -18.3%YOY ตามลาดับ สอดคล้องกับภาพรวมของทั้งตลาด โดยคาดว่า ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสินค้าคงคลังในประเทศที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่การส่งออกไปยังตลาด หลักอื่น ๆ มีทิศทางการเติบโตที่แตกต่างกัน (Uneven momentum) โดยพบว่าการส่งออก ไปยังตลาดญี่ปุ่นและกลุ่มตะวันออกกลางยังสามารถเติบโตได้ดี สอดคล้องกับความต้องการ บริโภคในตลาดเหล่านี้ที่ยังเติบโตดีต่อเนื่อง
  • 8. 8 SCB EIC Industry insight : Seafood industry มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้หดตัว -10.7% โดยมีปัจจัยกดดันจากปริมาณวัตถุดิบทูน่าที่ลดลง จากปรากฏการณ์เอลนีโญ รวมทั้งการที่คู่ค้ายังมีปริมาณสินค้าคงคลังสูง ทาให้ความต้องการนาเข้าชะลอลง มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย (รายเดือน) หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปริมาณการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย (รายเดือน) หน่วย : ตัน 100 150 200 250 300 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2023 2,169.9 2,247.5 1,785.6 2,117.5 1,574.1 1,405.7 2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23 +3.6% -20.6% 18.6% -10.7% 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2023 529,930 558,848 445,231 484,240 363,503 302,338 2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23 +5.5% -20.3% 8.8% -16.8% ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)
  • 9. 9 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ทั้งนี้สหรัฐฯ ยังคงเป็นตลาดส่งออกทูน่ากระป๋องอันดับ 1 ของไทย โดยมีสัดส่วนราว 1 ใน 5 ของการส่งออกทั้งหมด โดยพบว่าในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้ การส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังสหรัฐฯ หดตัว -13.5%YOY มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยไปสหรัฐฯ (รายเดือน) หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ โครงสร้างการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย หน่วย : % ของมูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องทั้งหมด ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC) 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2020 2021 2022 Jan-Sep22 Jan-Sep23 Value 600.8 371.9 459.7 341.4 295.2 %YOY +20.4% -38.1% +23.6% -13.5% 2023 23.0% 26.7% 20.8% 21.7% 21.0% 8.4% 8.0% 8.7% 7.3% 10.5% 8.5% 7.5% 8.6% 9.4% 8.8% 6.9% 5.4% 4.2% 6.7% 7.9% 7.5% 2020 4.9% 2021 5.3% 2022 Jan-Sep23 2019 Others Saudi Arabia Lybia Australia Japan US
  • 10. 10 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ในทางกลับกัน ไทยก็เป็น Supplier หลักของสหรัฐฯ เช่นกัน โดยมีส่วนแบ่งตลาดมากเกือบครึ่งนึงของมูลค่านาเข้า ทั้งหมด ซึ่งเป็นผลจาก Price competitiveness ที่ต่ากว่าคู่แข่งอื่นในตลาด และชื่อเสียงของสินค้าไทย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Trademap (HS code: 160414) โครงสร้างการนาเข้าทูน่ากระป๋องของสหรัฐฯ หน่วย : % ของมูลค่าการนาเข้าทูน่ากระป๋องทั้งหมด ราคานาเข้าทูน่ากระป๋องต่อหน่วยของสหรัฐฯ หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน 47.0% 51.6% 43.7% 45.1% 12.0% 8.6% 10.3% 11.9% 10.0% 8.8% 11.1% 10.8% 2019 2020 2021 6.0% 2022 Others Indonesia Fiji Vietnam Ecuador Thailand 3,500 4,000 4,500 5,000 5,500 6,000 6,500 7,000 7,500 2018 2019 2020 2021 2022 World Thailand Ecuador Viet Nam Fiji Indonesia ไทยมีจุดแข็งสำคัญในฐำนะผู้ประกอบกำรแปรรูปและส่งออกสินค้ำปลำทูน่ำรำยใหญ่ที่สุด ของโลก โดยเฉพำะสินค้ำปลำทูน่ำกระป๋อง ทำให้มีศักยภำพในกำรแข่งขันในตลำดโลกสูง นอกจำกนี้ อุตสำหกรรมกำรแปรรูปสินค้ำอำหำรทะเลและปลำทูน่ำของไทยยังมีขนำดใหญ่ และกำลังกำรผลิตมำกเพียงพอรองรับควำมต้องกำรของประเทศผู้นำเข้ำ อีกทั้ง ยังมี อุตสำหกรรมต่อเนื่องที่ครบวงจรอีกด้วย
  • 11. 11 SCB EIC Industry insight : Seafood industry อย่างไรก็ดี การบริโภคทูน่ากระป๋องในสหรัฐฯ กลับมีแนวโน้มปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับภาพรวมการบริโภค อาหารทะเล โดยพบว่าผู้บริโภคหันไปนิยมอาหารทะเลชนิดอื่น เช่น กุ้งและแซลมอน มากขึ้นแทน New list of America's most popular seafood species, showing some sharp shifts (June 2023 update) ที่มา : ข้อมูลจาก National Fisheries Institute (NFI) U.S. Per capita seafood and canned tuna consumption หน่วย : ปอนด์ต่อคนต่อปี 1.5 2.0 2.5 3.0 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 Pandemic-driven force: Exceptionally high demand during the 1st wave of COVID-19 (Stockpiling during lockdown measure) Overall seafood consumption
  • 12. 12 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ขณะเดียวกัน การส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังตลาดหลัก 5 อันดับแรก พบว่ามีทิศทางที่แตกต่างกัน (Uneven momentum) โดยส่วนใหญ่ยังเติบโตได้ดีโดยเฉพาะการส่งออกไปยังตลาดในกลุ่มตะวันออกกลาง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC) มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยไปตลาดหลัก 5 อันดับแรก หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการส่งออกและอัตราการเติบโตของการส่งออกทูน่ากระป๋องในปี 2023 หน่วย : ตัน 156.1 153.7 74.3 87.9 154.6 198.9 141.7 112.0 151.5 107.0 66.6 147.1 123.7 110.7 105.7 Australia Lybia 371.9 459.7 117.6 Saudi Arabia US Japan 341.4 295.2 -13.5% +25.1% -18.3% +3.5% +58.7% 2021 2022 YTD22 YTD23 -100 -80 -60 -40 -20 0 20 40 60 80 100 120 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 % YTD growth (Jan-Sep) US Australia Egypt Japan Lybia Canada Saudi Arabia UAE Israel Chili Peru S.Africa Switzerland New Zealand % Export share (2022) หมายเหตุ : ขนาดของวงกลม หมายถึง มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องในปี 2022
  • 13. 13 SCB EIC Industry insight : Seafood industry แนวโน้มอุตสาหกรรมทูน่ากระป๋องในปี 2024 สาหรับปี 2024 มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยมีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวก เล็กน้อยที่ 5.5%YOY สอดคล้องกับภาพรวมเศรษฐกิจและความต้องการจากประเทศคู่ค้า ที่คาดว่าจะทยอยปรับตัวดีขึ้นตามลาดับ และเริ่มกลับเข้าสู่เทรนด์การเติบโตเดิมในช่วง Pre-COVID ทั้งนี้ปัจจัยที่จะช่วยสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจทูน่ากระป๋องในปีหน้าและระยะต่อไปจะมาจาก ความต้องการจากประเทศในกลุ่มตลาดเกิดใหม่ (Emerging markets) อาทิ กลุ่มตะวันออก กลาง, แอฟริกา, ลาตินอเมริกา รวมทั้งประเทศกลุ่ม CLMV ที่ยังมีช่องว่างให้เติบโตได้อีกมาก ในอนาคต แต่คงต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างตลาดเพื่อทดแทนการส่งออกไปยังตลาดหลัก ดั้งเดิมอย่างสหรัฐฯ ที่ความต้องการบริโภคเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว รวมทั้งความนิยมบริโภคทูน่า กระป๋องที่ปรับทยอยปรับลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ความท้าทายของอุตสาหกรรมทูน่าในระยะต่อไปคือ อุปทานปลาที่มีแนวโน้ม ปรับลดลงอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ซึ่งเป็นผลมาจากปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่มีแนวโน้ม ทวีความรุนแรงมากขึ้น อุณหภูมิในมหาสมุทรที่เพิ่มสูงขึ้นจากปัญหาโลกร้อน รวมไปถึง ความเข้มงวดในการจัดระเบียบและควบคุมการจับปลาเพื่อมุ่งไปสู่การทาประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) นอกจากนี้ ปัญหาการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมงก็เป็นสิ่งที่ไทย มองข้ามไม่ได้ เพราะเป็นประเด็นสาคัญด้านสิทธิมนุษยชน (Social issue) ที่ไทยถูกกล่าวหา และกาลังถูกจับตามองอย่างใกล้ชิด ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้นก็อาจส่งผลกระทบ ต่อภาพลักษณ์ของสินค้าไทยและแนวโน้มการส่งออกอาหารทะเลในระยะต่อไปได้
  • 14. 14 SCB EIC Industry insight : Seafood industry มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวกที่ 5.5%YOY หลังจากคาดการณ์ว่าจะ ติดลบในปีนี้ สอดคล้องกับความต้องการในตลาดโลกและประเทศคู่ค้าที่ฟื้นตัวดีขึ้น • มูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จากปีนี้ โดยคาดว่าอัตราการขยายตัวที่ราว 5.5%YOY สอดคล้องกับ ความต้องการในตลาดโลกและประเทศคู่ค้าที่ทยอยฟื้นตัวดีขึ้น แต่คาดว่ามูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋องจะยังคงอยู่ต่ากว่าช่วง Pre-COVID เล็กน้อย • สาหรับในระยะ Medium-term คาดว่ามูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋อง มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในระดับต่าใกล้เคียงกับอัตราการเติบโตในอดีต (2015-2019) เนื่องจากความต้องการของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นตลาดผู้บริโภค หลักในสินค้าทูน่ากระป๋องที่ชะลอลง ประกอบกับการที่ผู้เล่นไทยมีการ ทยอยออกไปซื้อกิจการและขยายฐานการผลิตในต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบทูน่าและใกล้ตลาด ส่งผลให้รายได้จากการ ส่งออกทูน่ากระป๋องจากไทยมีแนวโน้มปรับลดลงเรื่อย ๆ • สาหรับปัจจัยที่จะสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจทูน่ากระป๋องในอนาคต จะมาจากความต้องการในตลาดเกิดใหม่ที่เพิ่มขึ้น อาทิ กลุ่มตะวันออกกลาง, แอฟริกา, ลาตินอเมริกา, ประเทศในกลุ่ม CLMV แต่ต้องอาศัยระยะเวลา ในการขยายตลาดและเติบโต เพื่อทดแทนความต้องการจากตลาดหลัก อย่างสหรัฐฯ ที่เข้าสู่ภาวะอิ่มตัวแล้ว ภาพรวมภาวะธุรกิจและแนวโน้มในระยะต่อไป ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC) 1,965 1,956 2,041 2,265 2,170 2,248 1,786 2,117 1,969 2,078 2,250 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023E 2024F 2027F 2015 2.5% 3.6% -20.6% 18.6% -7.0% 5.5% 2.7% Panic buying, and stockpiling of canned foods during the 1st wave lockdown measure (Q1/2020 and Q2/2020)
  • 15. 15 SCB EIC Industry insight : Seafood industry 1,664 1,873 สาหรับแนวโน้มราคาวัตถุดิบทูน่าในปีหน้า คาดว่าจะยังทรงตัวอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง เป็นผลจากอุปทานปลาที่ลดลง ต้นทุนการจับปลาที่ยังอยู่ในระดับสูง ท่ามกลางสถานการณ์ของอุปสงค์ในตลาดโลกที่ทยอยปรับตัวดีขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของบริษัทไทยยูเนี่ยนกรุ๊ป (TU) and GLOBEFISH Report (FAO) ราคาวัตถุดิบทูน่าพันธุ์ Skipjack (ณ ท่าเรือกรุงเทพฯ จาก West pacific ocean) หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ราคาวัตถุดิบทูน่าพันธุ์ Skipjack (เฉลี่ยรายปี) หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน 500 1,000 1,500 2,000 2,500 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2023 FAD period (3-month ban) 132.8 60 80 100 120 140 160 01/62 07/62 01/63 07/63 01/64 07/64 01/65 07/65 01/66 07/66 01/67 Tuna price index Tuna price index (Jan 2019=100) 1,170 1,425 1,860 1,530 1,209 1,385 1,406 1,663 1,880 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023E -21.0% 14.6% 1.5% 18.3% 13.0% YTD22 YTD23 12.6% Strong price rallied from an exceptionally high demand during the lock down measures Lower tuna catch from climate change problem
  • 16. 16 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ความท้าทายและประเด็นสาคัญที่ต้องจับตาสาหรับอุตสาหกรรมทูน่าในระยะถัดไป Climate change and ocean warming Sustainable fishing Supply-side Demand-side 1 2 Human trafficking 3 • ทูน่า เป็นกลุ่มปลาที่อพยพบ่อยตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพ มหาสมุทร ซึ่งจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate change) คาดว่าทูน่าจะเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออก จากน่านน้าอธิปไตยไปสู่ทะเลหลวง หรือส่วนของทะเลที่ไม่ได้รวม อยู่ในเขตเศรษฐกิจจาเพาะในทะเลอาณาเขต หรือในน่านน้าภายใน ของประเทศหรือรัฐต่าง ๆ ในหมู่เกาะแปซิฟิก • นอกจากนี้ สัตว์ทะเลชนิดอื่น ๆ ก็มีแนวโน้มที่จะอพยพหนีอุณหภูมิ ที่เพิ่มสูงขึ้นแถบเส้นศูนย์สูตรอีกด้วย • ประเด็นเรื่องการทาประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) จะทวี ความสาคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต และอาจมีผลให้การจับปลาทูน่า ถูกควบคุมอย่างเข้มงวดมากขึ้น อาทิ การจับปลานอกฤดูที่ได้รับอนุญาต หรือการใช้เครื่องมือจับปลาที่อาจทาลายระบบนิเวศน์ทางทะเล เป็นต้น • ประเด็นดังกล่าว จะทาให้อุปทานปลาทูน่าที่จับได้ในมหาสมุทรมีแนวโน้ม ปรับลดลงในระยะยาวและส่งผลให้ราคาวัตถุดิบทูน่านาเข้าแพงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนและอัตรากาไรของผู้ประกอบการ • ปัญหาการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมง และการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม เป็นประเด็นด้าน Social ที่มีความสาคัญ อย่างยิ่ง เพราะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ของสินค้าประมงของไทยและอาจทาให้เกิด กระแสต่อต้านจากผู้บริโภค โดยเฉพาะกลุ่มที่ ให้ความสาคัญกับประเด็นนี้ Preference shift 4 • ความนิยมบริโภคทูน่ากระป๋อง โดยเฉพาะ ในตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับ ลดลงต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจาก ข้อกังวลเกี่ยวกับการปนเปื้อนของสารปรอท และการให้ความสาคัญกับผลกระทบต่อ ระบบนิเวศทางทะเล ดังนั้น ผู้ประกอบการ จาเป็นต้องลดความเสี่ยงด้วยการมองหา ตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพิ่มเติม
  • 17. 17 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ปรากฏการณ์เอลนีโญ ทาให้เกิดภาวะ Ocean warming ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลและห่วงโซ่อาหาร รวมทั้งมีผลให้ปลาทูน่าอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังทะเลหลวง (Open sea) ซึ่งอยู่นอกเขตจับปลาถูกกฎหมาย ที่มา : ข้อมูลจาก NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) และ National Centers for Environmental Information Climate change is causing tuna migration and result in a drop of tuna – It is driving tuna stocks to cooler water • ในปี 2022 อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรโลก (Global ocean surface temperatures) สูงขึ้น 0.69 องศาเซลเซียส จากค่าเฉลี่ยอุณหภูมิในรอบ 100 ปี และยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Upward trend) • อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นดังกล่าว ส่งผลให้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานของปลาทูน่าในมหาสมุทรต่าง ๆ ทั่วโลก ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมประมงทั่วโลก • นอกจากนี้ ภาวะโลกร้อนยังกระทบต่อการขยายพันธุ์และขนาดของปลาทูน่าอีกด้วย 1
  • 18. 18 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ขณะเดียวกัน การอพยพย้ายถิ่นฐานของทูน่าไปทางแถบเส้นศูนย์สูตรไปยังทะเลฝั่งตะวันออก ยังทาให้เกิด ความขัดแย้ง (Physical conflict) ระหว่างอุตสาหกรรมประมง กับอุตสาหกรรม Deep-sea mining อีกด้วย ที่มา : ข้อมูลจาก https://carbonbrief.org/ และ Forbes Magazine (July 2023) Climate-altered Pacific Ocean could see conflict between tuna fishing and deep-sea mining • ผลการศึกษาล่าสุดของ Global tuna alliance และ International Seabed Authority (ISA) ระบุว่า Deep sea mining เป็นตัวการสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ และระบบห่วงโซ่อาหารในทะเล และมีส่วนทาลาย อุตสาหกรรมทูน่า • ปัจจุบันทูน่าหลายสายพันธุ์กาลังอพยพไปยัง Deep- ocean zone of the eastern Pacific Ocean หรือ Clarion-Clipperton Zone (Climate refugee) ซึ่งเป็น บริเวณที่มีกิจกรรม Deep-sea mining จานวนมาก และ ทาให้เกิด Physical conflict ระหว่างทั้ง 2 อุตสาหกรรม NOISE IMPACT: Physiological and behavioral impact on tuna TOXIC METAL: Could enter the seafood supply and deep-sea food web 1 2 1
  • 19. 19 SCB EIC Industry insight : Seafood industry การให้ความสาคัญกับการทาประมงอย่างยั่งยืน เป็นหนึ่งในประเด็นสาคัญที่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมทูน่า จาเป็นต้องให้ความสาคัญอย่างยิ่งยวด เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันและลดอุปสรรคทางการค้าจาก NTBs แนวทางการบริหารจัดการเพื่อมุ่งไปสู่การประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) • การทาประมงอย่างยั่งยืน คือการทาประมง ในระดับที่สามารถควบคุมและรักษาปริมาณสัตว์น้า ในท้องทะเลให้มีจับได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่เป็น การประมงที่ทาลายหรือส่งผลเสียให้เกิดความไม่ สมดุลของระบบนิเวศในท้องทะเลและมหาสมุทร โดยมีหลักการสาคัญ 3 เรื่อง ได้แก่ 1. Sustainable fish stocks 2. Minimizing environmental impacts 3. Effective fisheries management 2
  • 20. 20 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ปัญหาด้าน Social โดยเฉพาะการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมงและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรมเป็น ประเด็นใหญ่ที่ต้องจับตา ล่าสุดเมื่อเดือน มิ.ย. ที่ผ่านมา สหรัฐฯ ยังคงอันดับการค้ามนุษย์ของไทยไว้ที่ Tier 2 การจัดอันดับการค้ามนุษย์ของไทยโดยรัฐบาลสหรัฐฯ (Thailand TIER ranking by year) 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 TIER 3 TIER 2 WL TIER 2 TIER 1 ความหมายของแต่ละ Tier : Tier 1 – รัฐบาลพยายามดาเนินการอย่างจริงจังจนอัตราการค้ามนุษย์อยู่ในระดับต่า Tier 2 – รัฐบาลยังดาเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่าของสหรัฐฯ แต่มีความพยายามปรับปรุงอย่างมีนัยสาคัญ Tier 2 Watch List – กลุ่มประเทศที่ต้องจับตามอง เพราะมีเหยื่อจากการค้ามนุษย์เพิ่มสูงขึ้น และไม่มีหลักฐาน/ มีหลักฐานไม่เพียงพอที่จะบ่งชี้ว่ารัฐบาลกาลังพยายามปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว Tier 3 – รัฐบาลดาเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่าของสหรัฐฯ และไม่มีความพยายามปรับปรุงแก้ไข ในรายงาน TIP Report 2023 ระบุว่า รัฐบาลไทยได้แสดงให้เห็นถึงความพยายาม และความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ อาทิ การเพิ่มการสืบสวนกรณีการค้ามนุษย์, การจัดทาแนวทางกลไกการส่งต่อระดับชาติ (National referral mechanism) การจัดตั้งศูนย์ ช่วยเหลือเหยื่อค้ามนุษย์แห่งใหม่ และการพัฒนาแนวทางสาหรับเจ้าหน้าที่ด้านแรงงานในการ ส่งต่อผู้ที่สงสัยว่าตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ไปยังทีมสหสาขาวิชาชีพ เป็นต้น แต่ความพยายาม ดังกล่าวยังคงไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่าของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการต่างประเทศ 3
  • 21. 21 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ความนิยมบริโภคทูน่ากระป๋อง โดยเฉพาะในตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับลดลงต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่ง เป็นผลจากข้อกังวลเกี่ยวกับการปนเปื้อนของสารปรอท (Mercury) และผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเล การบริโภคทูน่ากระป๋องของผู้บริโภคสหรัฐฯ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Washington Post หน่วย : ปอนด์ต่อคนต่อปี 3.7 3.5 2.7 2.2 2.0 1.9 1990 2000 2010 2015 2020 2021 Per capita canned tuna consumption ในสหรัฐฯ ปรับลดลงต่อเนื่องในช่วง หลายทศวรรษที่ผ่านมา How America fell out of love with canned tuna • Americans' changing diets and relationship to food • Health and sustainability concerns - fears of mercury poisoning to fury over dolphin bycatch • A national shift away from canned foods 4
  • 22. 22 SCB EIC Industry insight : Seafood industry นัยต่อภาคธุรกิจ การปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อตอบโจทย์ความท้าทายและโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ ในอนาคต ขยายฐานลูกค้าไปยังตลาดส่งออกที่มีศักยภาพเติบโต เพื่อทดแทนความต้องการนาเข้าจากตลาดหลัก ที่เริ่มมีแนวโน้มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจ ให้มีความโปร่งใสและสอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพื่อลดอุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้า วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และการปรับตัวเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค ในตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป ▪ ผู้ประกอบการควรพยายามขยายการส่งออกทูน่ากระป๋อง ไปยังตลาดผู้บริโภคที่มีศักยภาพการเติบโตสูง อาทิ ตลาด กลุ่ม Emerging markets หรือตลาดตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นหนึ่งในตลาดผู้บริโภคที่มีความน่าสนใจและมี ศักยภาพการเติบโตสูงต่อเนื่องในอนาคต สะท้อนได้จาก อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกที่อยู่ในระดับสูง เมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตในตลาดส่งออกดั้งเดิม อย่างสหรัฐฯ ▪ การให้ความสาคัญกับการกากับดูแลและปฏิบัติต่อแรงงาน ในอุตสาหกรรมประมงอย่างถูกต้องและเป็นธรรม รวมทั้ง คานึงถึงการทาประมงอย่างยั่งยืน (Sustainable fishing) ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมจะต้องปฏิบัติให้ได้ ตามมาตรฐานสากล เพื่อลดการกีดกันทางการค้า โดยเฉพาะ อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี โดยอาจพิจารณานา เทคโนโลยีที่ทันสมัยต่าง ๆ อาทิ Blockchain มาใช้ในการ บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานให้โปร่งใสมากขึ้น ▪ ผู้ประกอบการต้องหันมาให้ความสาคัญกับการวิจัย และพัฒนา รวมทั้งใช้นวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่าเพิ่มที่สูงขึ้น รวมไปถึงการใช้ ประโยชน์จาก By-products เพื่อสร้างรายได้เพิ่มเติม เช่น น้ามันปลา, Oil-based products หรือการสกัด โปรตีนหรือวิตามินจากปลาทูน่า เป็นต้น ▪ ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการยังต้องเตรียมรับมือกับการ แข่งขันในตลาดมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น จากกระแส ความนิยม Alternative proteins และ Plant-based products ที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน
  • 23. Industry outlook 2024-2027 Seafood (Shrimp) SCB EIC Industry insight : Seafood industry
  • 24. 24 SCB EIC Industry insight : Seafood industry Value chain ของอุตสาหกรรมกุ้ง เริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงกุ้งหรือการจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งธรรมชาติ การแปรรูป บรรจุ ขนส่งและการกระจายสินค้า และการทาการตลาดเพื่อจาหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ห่วงโซ่มูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมกุ้ง Raw Material Sourcing Production Distribution บรรจุ การตลาด การจัดจาหน่าย แปรรูปขั้นสูง แปรรูปขั้นต้น รวบรวม เพาะเลี้ยง เพาะพันธุ์กุ้ง อาหารกุ้ง กุ้งขาว 98% กุ้งกุลาดา 2% กุ้งกระป๋อง 7% กุ้งสด 36% กุ้งแปรรูป 57% ส่งออก 90% ขายในประเทศ 10% Different forms of shrimp processing HOSO Head On, Shell On HLSO Head – Less, Shell On HLSOEZ Head – Less, Easy Peel (shell split, down back of shrimp) RPDTO RAW, Peeled, Deveined Tail On RPDTF RAW, Peeled, Deveined Tail Off CPDTO Cooked, Peeled, Deveined, Tail On CPDTF Cooked, Peeled, Deveined, Tail Off
  • 25. 25 SCB EIC Industry insight : Seafood industry สถานการณ์อุตสาหกรรมกุ้งของไทย ในช่วงที่ผ่านมา ผลผลิตกุ้งของไทยผลิตเพื่อป้อนตลาดส่งออกเป็นหลัก โดยอยู่ที่ราว 90% ของปริมาณผลผลิต ทั้งหมด โดยสินค้าส่งออกประกอบด้วย กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป และกุ้งกระป๋อง ในสัดส่วน 49% 28% และ 23% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด ตามลาดับ ทั้งนี้มูลค่าการส่งออกกุ้ง และผลิตภัณฑ์ของไทยในช่วง 9 เดือนแรกที่ผ่านมาอยู่ที่ 923.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัว -14.4% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากการหดตัวด้านปริมาณเป็นหลัก (-9.6%) สอดคล้องกับ ภาพรวมความต้องการบริโภคในตลาดโลกและกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ยังอยู่ในภาวะซบเซา สาหรับในช่วงที่ผ่านมา การส่งออกสินค้าหลักอย่างกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปยังตลาดส่งออกอันดับ 1 อย่างจีนถือว่าเติบโตได้ดี โดยในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้ขยายตัว 22.9%YOY สวนทางกับภาพรวมของทั้ง ตลาดที่หดตัว -8.2%YOY ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับอานิสงส์จากการยกเลิกนโยบาย Zero COVID ของทางการจีนที่ทาให้การส่งออกขยายตัวสูงขึ้นมากในช่วง 2 ไตรมาสแรก ก่อนจะกลับมาหดตัว อีกครั้งในช่วงไตรมาส 3 จากผลกระทบของ China slowdown ที่ชัดเจนมากขึ้น ขณะที่การส่งออก กุ้งแปรรูปไปยังตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่น หดตัว -17.5%YOY และ -8.3%YOY ตามลาดับ ซึ่งนอกจากจะเป็นผลจากกาลังซื้อของผู้บริโภคที่ยังคงเปราะบางแล้ว ยังมาจากศักยภาพการแข่งขัน ของผู้ส่งออกกุ้งไทยที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นโดยเฉพาะจาก ประเทศผู้ส่งออกกุ้งที่มีต้นทุนต่ากว่าไทย เช่น เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย อินเดีย และเวียดนาม
  • 26. 26 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ภาพรวมมูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้ หดตัว -14.4%YOY เป็นผลมาจากการ ส่งออกกุ้งแปรรูป กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง และกุ้งกระป๋อง ที่หดตัว -11.8%, -4.8% และ -30.8% ตามลาดับ หมายเหตุ : *การวิเคราะห์ครอบคลุมสินค้าส่งออกในกลุ่มกุ้งแปรรูป กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง และกุ้งกระป๋อง ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC) มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์* ของไทย (รายเดือนและรายปี) หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปริมาณการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์* ของไทย (รายเดือนและรายปี) หน่วย : ตัน 60 80 100 120 140 160 180 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2023 1,455.6 1,329.1 1,418.8 1,425.7 1,079.9 923.9 2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23 -8.7% 6.7% 0.5% -14.4% 5,000 10,000 15,000 20,000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2023 152,132 142,507 144,748 140,025 105,826 95,700 2019 2020 2021 2022 YTD22 YTD23 -6.3% 1.6% -3.3% -9.6%
  • 27. 27 SCB EIC Industry insight : Seafood industry การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งฟื้นตัวได้เร็วกว่ากุ้งแปรรูป โดยได้รับปัจจัยหนุนจากการส่งออกไปยังตลาดจีนที่ยังคง เติบโตได้ดี โดยพบว่าในช่วง 9 เดือนแรกปีนี้การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปจีนขยายตัว 22.9%YOY การส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของไทย (49% ของมูลค่าการส่งออกในปี 2022) อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปตลาดส่งออกหลักของไทย หน่วย : %YOY 31.2% 21.6% 18.2% 29.0% CN US JP Others 727 623 685 699 2019 2020 2021 2022 -4% กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง โครงสร้างตลาดส่งออก ปี 2022 มูลค่าการส่งออก (หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ) Export value, USD mil. (%YOY) Total CN US JP ปี 2020 -14.4% -26.5% -4.4% -22.6% ปี 2021 +10.0% +13.9% -0.2% +11.9% ปี 2022 +2.1% +46.4% -22.3% +6.7% Jan-Sep 2023 -8.2% +22.9% -30.6% -24.5% -100 -50 0 50 100 150 200 250 300 350 400 09/65 07/65 05/65 03/65 09/66 07/66 05/66 03/66 01/66 11/65 01/65 CN U.S. JP แม้ว่าภาพรวมการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งไปตลาดจีนในปีนี้จะยังขยายตัวดี แต่จากข้อมูลจะพบว่าการส่งออกในช่วง 3 เดือนล่าสุดกลับมาหดตัวสูง (Double-digit decline) สะท้อนถึงอุปสงค์ในตลาดจีนที่เริ่มกลับมาอ่อนแอ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC), China’s National Bureau of Statistics และ Bloomberg
  • 28. 28 SCB EIC Industry insight : Seafood industry อย่างไรก็ดี SCB EIC มองว่าการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งในระยะต่อไปเริ่มมีความเสี่ยงที่เพิ่มสูงขึ้น จากแนวโน้ม เศรษฐกิจจีนที่ชะลอลงมากกว่าที่เราเคยคาดการณ์ไว้ ซึ่งอาจส่งผลให้ความต้องการนาเข้ากุ้งจากไทยชะลอลงได้ Global GDP forecast by SCB EIC ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Rabobank หน่วย : %YOY ความต้องการนาเข้ากุ้งของจีนมีแนวโน้มชะลอลงในช่วงครึ่งหลังของปี ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ท้าทาย สาหรับไทย โดยเฉพาะการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งที่มีจีนเป็นตลาดส่งออกหลักอันดับ 1 (สัดส่วน มากถึงราว 1 ใน 3 ของการส่งออกกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งทั้งหมดของไทย)
  • 29. 29 SCB EIC Industry insight : Seafood industry นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนยังมี Downside risks อีกหลายเรื่อง อาทิ ระดับหนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูง รวมทั้งวิกฤติ ในภาคอสังหาริมทรัพย์ และการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่อาจกระทบต่อแนวโน้มการเติบโตในระยะกลาง 1) Public debt forecast by IMF (including LGFV* and Government Funds) หน่วย : % of GDP 2) Real estate sector in China will continue to shrink หน่วย : %YOY 101.4 110.1 122 129 136.4 143.4 149.6 155.6 0 30 60 90 120 150 180 2021 2022 2023 2024 2025 2026 2027 2028 หมายเหตุ : *Local Government Financing Vehicle ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ IMF, National Bureau of Statistics, PBOC และ CEIC -50 -20 10 40 70 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 Real estate investment Floor space started Floor space completed Floor space sold 3) China FDI declined and currently stay at the lowest level in 25 years หน่วย : USD Million 0 50,000 100,000 150,000 Mar-00 Jul-01 Nov-02 Mar-04 Jul-05 Nov-06 Mar-08 Jul-09 Nov-10 Mar-12 Jul-13 Nov-14 Mar-16 Jul-17 Nov-18 Mar-20 Jul-21 Nov-22
  • 30. 30 SCB EIC Industry insight : Seafood industry สาหรับการส่งออกกุ้งแปรรูปไปตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ เริ่มมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น โดยพบว่ามูลค่าการส่งออกกุ้งแปรรูป ในเดือน ก.ค. ส.ค. และ ก.ย. กลับมาขยายตัวเป็นบวกอีกครั้ง หลังจากหดตัวต่อเนื่องมานานกว่า 10 เดือน การส่งออกกุ้งแปรรูปของไทย (28% ของมูลค่าการส่งออกในปี 2022) อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกกุ้งแปรรูปไปยังตลาดส่งออกหลักของไทย หน่วย : %YOY 473 424 423 399 2019 2020 2021 2022 -16% 41.1% 39.7% 19.2% U.S. JP Others กุ้งแปรรูป มูลค่าการส่งออก (หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ) โครงสร้างตลาดส่งออก ปี 2022 Export value, USD mil. (%YOY) Total US JP ปี 2020 -10.5% 2.8% -16.7% ปี 2021 -0.3% -1.5% -0.4% ปี 2022 -5.5% -6.7% -1.6% Jan-Sep 2023 -11.8% -17.5% -8.3% ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC) -70 -60 -50 -40 -30 -20 -10 0 10 20 30 40 50 60 01/65 03/65 05/65 07/65 09/65 11/65 01/66 03/66 05/66 09/66 07/66 U.S. Japan
  • 31. 31 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ความท้าทายสาคัญที่ต้องจับตาคือ ภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นท่ามกลางศักยภาพของไทยที่ลดลงต่อเนื่อง สะท้อนได้จาก ส่วนแบ่งในตลาดส่งออกหลักที่ทยอยปรับลดลง โดยเฉพาะการส่งออกกุ้งแปรรูปไปยังตลาดสหรัฐฯ ปริมาณการนาเข้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของสหรัฐฯ และญี่ปุ่น หน่วย : ตัน, % ของปริมาณการนาเข้าทั้งหมด ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Trademap (HS code: 160521 กุ้งแปรรูป, 030617 กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง) ปริมาณการนาเข้ากุ้งแปรรูปของสหรัฐฯ และญี่ปุ่น หน่วย : ตัน, % ของปริมาณการนาเข้าทั้งหมด 187,724 2022 201,843 30% 2019 19% 23% 17% 2018 22% 18% 12% 22% 22% 15% 26% 26% 2020 14% 12% 27% 21% 20% 26% 2% 3% 4% 19% 30% 2021 149,370 136,215 2% 168,759 5% 11% 11% 40% 2021 36% 64,018 65,689 61,849 62,432 2022 15% 9% 2020 35% 13% 10% 2019 12% 9% 2018 35% 37% 39% 39% 38% 36% 68,149 16% 8% 37% Others Thailand Vietnam Indonesia Ecuador India Others Greenland China Indonesia Thailand Vietnam 3% 2020 41% 21% 534,725 550,809 564,764 692,897 2022 20% 4% 3% 3% 4% 2019 49% 14% 3% 10% 2% 39% 30% 621,285 16% 3% 18% 5% 2018 43% 14% 19% 5% 4% 2% 5% 5% 4% 4% 2% 2021 43% 3% 3% 25% 2% 16% 2% 2% 2% 4% 25% 26% 27% 29% 25% 22% 21% 21% 19% 19% 17% 16% 17% 17% 18% 11% 11% 12% 11% 11% 17% 17% 17% 19% 20% 2018 7% 2019 6% 2020 6% 2021 9% 143,913 137,751 146,827 2022 144,722 7% 142,485 Others Thailand Argentina Mexico Indonesia Ecuador India Vietnam Others Thailand Argentina Indonesia Vietnam India
  • 32. 32 SCB EIC Industry insight : Seafood industry นอกจากนี้ การแข่งขันในตลาดใหม่ที่มีศักยภาพสูงอย่างจีนก็มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะจากคู่แข่งที่มี ต้นทุนต่าอย่างเอกวาดอร์และอินเดีย ซึ่งปัจจุบันเป็น Supplier หลักในจีน มีส่วนแบ่งรวมกันกว่า 80% ราคานาเข้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของจีน รายประเทศสาคัญ หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Trademap (HS code: 160521 กุ้งแปรรูป, 030617 กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง) ปริมาณการนาเข้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งของจีน หน่วย : ตัน, % ของปริมาณการนาเข้าทั้งหมด 22.0% 9.0% 42.0% 9.0% 16.0% Ecuador India 1.0% Vietnam Argentina Thailand RoW 64.6% 15.7% Ecuador India 2.7% Thailand 2.2% Saudi Arabia RoW Vietnam 4.4% 10.4% ปี 2016 100% = 60,887 tons ปี 2022 100% = 873,789 tons 192,836 2018 2019 2020 2021 2022 649,451 545,418 610,378 873,789 353% 5,735 6,274 6,753 7,869 10,131 4,500 5,000 5,500 6,000 6,500 7,000 7,500 8,000 8,500 9,000 9,500 10,000 10,500 11,000 11,500 2018 2019 2020 2021 2022 Ecuador India Vietnam Argentina Thailand World Avg. 6,534 6,466
  • 33. 33 SCB EIC Industry insight : Seafood industry ราคากุ้งขาวที่เกษตรกรขายได้ปรับลดลงต่อเนื่องนับจากต้นปี สอดคล้องกับภาพรวมความต้องการในตลาดโลกที่อยู่ใน ภาวะซบเซาท่ามกลางภาวะอุปทานกุ้งล้นตลาด โดยคาดว่าราคาเฉลี่ยปีนี้จะอยู่ที่ราว 136 บาทต่อกิโลกรัม รายละเอียด ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE) และบริษัทไทยยูเนี่ยน ราคาวัตถุดิบกุ้งขาวแวนนาไมขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัม (รายเดือน) หน่วย : บาทต่อกิโลกรัม 100 120 140 160 180 200 220 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2018 2019 2020 2021 2022 60 70 80 90 100 110 120 01/62 07/62 01/63 07/63 01/64 07/64 01/65 07/65 01/66 07/66 Shrimp price index (Jan 2019=100) • แนวโน้มราคากุ้งในปีนี้ (2023) คาดว่าจะอยู่ที่ราว 142 บาทต่อกิโลกรัม สูงขึ้นเล็กน้อยจากราคา เฉลี่ยในช่วง 9 เดือนแรก เนื่องจากเข้าสู่ช่วง Festive season ปลายปีซึ่งจะช่วยหนุนให้ อุปสงค์เพิ่มสูงขึ้นตาม Seasonal pattern แต่อย่างไรก็ดี ราคาเฉลี่ยในปีนี้จะยังคงต่ากว่า ราคาเฉลี่ยในปี 2022 ราว -12%YOY ซึ่งเป็นผลมาจาก 1) ความต้องการบริโภคกุ้งในตลาดโลก ที่ปรับตัวลดลง โดยเฉพาะในตลาดส่งออกหลักของไทย และ 2) ภาวะอุปทานกุ้งล้นตลาดโลก (Oversupply) ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเร่งเพิ่มผลผลิตหลังการเปิดเมืองและการผ่อนคลาย มาตรการ COVID-19 ในช่วงที่ผ่านมา รวมถึงผลผลิตกุ้งในประเทศผู้ผลิตหลักอย่างเอกวาดอร์ ที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว • สาหรับแนวโน้มในปีหน้า (2024) คาดว่า ภาพรวมราคากุ้งในตลาดโลกและในไทยจะยังมี แนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับต่าต่อเนื่อง จากความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงต่าง ๆ ในระบบ เศรษฐกิจโลก และผลกระทบจากความขัดแย้งทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังคงยืดเยื้อ รวมไปถึง เศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มชะลอลงมากกว่าที่เคยคาดไว้ ขณะเดียวกัน ประเทศผู้ส่งออกกุ้งยังมี แนวโน้มที่จะแข่งขันกันด้านราคา (Price war) ต่อเนื่อง ส่งผลให้การปรับขึ้นราคากุ้งอาจทาได้ ไม่มากนัก 2018 2019 2020 2021 2022 YTD23 2023E ราคากุ้งขาว 156.5 148.5 147.7 137.9 162.0 139.6 142.0 % YOY -14.6% -5.1% -0.6% -6.6% 17.5% -15.2% -12.3%
  • 34. 34 SCB EIC Industry insight : Seafood industry นอกจากปัญหาความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานในตลาดกุ้งโลกแล้ว ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยังต้อง เผชิญกับปัจจัยลบจากปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่ทาให้วัตถุดิบอาหารกุ้ง (fishmeal) แพงขึ้นมากอีกด้วย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Rabobank ความท้าทายของอุตสาหกรรมกุ้งในช่วงที่เหลือของปี …. “2023 is a year to forget for the shrimp industry” Oversupply esp. from Ecuadorian output Softening global demand El Nino causes fishmeal shortage 1 2 3 ภาวะกุ้งล้นตลาดโลก : ผลผลิตกุ้งในปี 2023 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นไปแตะระดับ Record high ที่ราว 6 ล้านตัน เป็นผลจากปริมาณผลผลิตกุ้ง ในประเทศเอกวาดอร์ที่เพิ่มขึ้นมากเป็นหลัก ในขณะที่ ผลผลิตกุ้งจากประเทศผู้ผลิตฝั่งเอเชียก็มีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ราคาวัตถุดิบปลาป่น (Fishmeal) ในอาหารกุ้ง มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2023 ซึ่งเป็นผลจากปัญหาขาดแคลนปลาป่น จากผลกระทบ ของเอลนีโญส่งผลให้ต้นทุนของผู้ประกอบการปรับตัว สูงขึ้นตามไปด้วย คาดว่าความต้องการบริโภคกุ้ง ในตลาดโลกจะชะลอตัวลงอีกในช่วง ที่เหลือของปี โดยเฉพาะความ ต้องการกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งจากจีน จากแนวโน้มเศรษฐกิจที่ชะลอลง มากกว่าที่คาดไว้ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจาก ปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์ ความต้องการนาเข้ากุ้งจากกลุ่ม EU มีแนวโน้มซบเซาต่อเนื่อง จากผล ของสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ยืดเยื้อ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น และกาลังซื้อของผู้บริโภคโดยภาพรวม
  • 35. 35 SCB EIC Industry insight : Seafood industry สืบเนื่องจากสถานการณ์ราคากุ้งในประเทศที่ตกต่าลงอย่างมากในปัจจุบัน ภาครัฐจึงออกโครงการช่วยเหลือเกษตรกร ด้วยการกระตุ้นการบริโภคกุ้งในประเทศ และชดเชยราคาให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Undercurrent News และกรมประมง ราคาวัตถุดิบกุ้งขาวแวนนาไม (รายเดือน) หน่วย : บาทต่อกิโลกรัม โครงการระยะสั้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ปี 2023 • กระตุ้นการบริโภคกุ้งภายในประเทศ เพิ่มช่องทางการจาหน่ายกุ้ง โดยเมื่อช่วงกลางปีที่ผ่านมา Shrimp board ได้อนุมัติชดเชยส่วนต่าง ราคากุ้งให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการในอัตรากิโลกรัมละไม่เกิน 20 บาท และค่าบริหารจัดการในส่วนของค่าใช้จ่ายดาเนินการด้านการตลาด ในอัตรากิโลกรัมละไม่เกิน 10 บาท อาทิ ค่าจัดการด้านขนาดและ คุณภาพ ค่าเก็บรักษา ค่าบรรจุภัณฑ์ ค่าขนส่ง ให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยง กุ้งหรือผู้รวบรวมที่เข้าร่วมโครงการ โดยตั้งเป้าหมายดูดซับผลผลิตกุ้ง ทะเลปริมาณ 5,000 ตัน ระยะเวลาดาเนินการ 2 เดือน วงเงินรวม 150 ล้านบาท (งบประมาณของกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กระทรวงพาณิชย์) เพื่อแก้ปัญหาราคากุ้งตกต่า • ปรับสมดุลอุปสงค์-อุปทาน ด้วยการวางแผนการผลิต เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งควรหารือร่วมกับผู้ประกอบการห้องเย็นและโรงงานแปรรูป เพื่อวางแผนการผลิตให้ได้ ขนาด ปริมาณ และมีช่วงเวลา ของผลผลิต ตรงตามที่ตลาดต้องการ
  • 36. 36 SCB EIC Industry insight : Seafood industry นอกจากโครงการช่วยเหลือระยะสั้นแล้ว ภาครัฐยังมีโครงการระยะยาวเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรเพื่อสนับสนุน การเติบโตของอุตสาหกรรมกุ้งอย่างยั่งยืนร่วมด้วย แนวทางการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในระยะยาว โครงการอาหารกุ้งทะเลธงเขียวเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเล สาหรับบริโภคภายในประเทศ โดยสนับสนุนเงินค่าอาหาร กุ้งทะเล กิโลกรัมละ 2 บาท ให้กับเกษตรกรที่จ้างผลิต โดยใช้เงินทุนของตนเอง การส่งเสริมการใช้จุลินทรีย์ทดแทนการใช้สารเคมี โดยให้บริการหัวเชื้อจุลินทรีย์แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่ และส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์จุลินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกรที่มี ความพร้อมในการดาเนินการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อแจกจ่ายให้แก่สมาชิกในสังกัด โครงการลดต้นทุนการผลิตกุ้งทะเลเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถการแข่งขันในอุตสาหกรรมกุ้งทะเลอย่างยั่งยืน โดยส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน (Solar cell) การใช้เครื่อง เติมอากาศอัจฉริยะ และการปรับปรุงบ่อเพื่อลดต้นทุน แฝงจากการเกิดโรค โครงการเสริมสภาพคล่องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเล โดยให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนปลอดดอกเบี้ย เพื่อนาไปซื้อปัจจัยการผลิต เช่น ลูกพันธุ์ อาหาร และอื่น ๆ ซึ่งเป็น การลดภาระค่าใช้จ่ายในส่วนดอกเบี้ยเงินกู้ที่เกิดขึ้น และเสริมสภาพคล่องในการประกอบอาชีพให้แก่เกษตรกร ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกรมประมง
  • 37. 37 SCB EIC Industry insight : Seafood industry แนวโน้มอุตสาหกรรมกุ้งในปี 2024 อุตสาหกรรมกุ้งของไทยในปี 2024 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกกุ้ง และผลิตภัณฑ์จะกลับมาขยายตัวเป็นบวกที่ 4%YOY หลังจากที่คาดว่าจะหดตัว -11.4%YOY ในปีนี้ สอดคล้องกับภาพรวมความต้องการบริโภคกุ้งจากประเทศคู่ค้าที่ทยอยปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวในปีหน้ายังคงมีแนวโน้มเปราะบางจากความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ที่รุมเร้า ทั้งประเด็น ความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitical risks) ที่อาจลุกลามขยายวงกว้างขึ้นและส่งผลกระทบ ต่อภาพรวมการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก รวมไปถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน (China slowdown) ซึ่งเป็นคู่ค้าหลักในสินค้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง ซึ่งจากความเสี่ยงต่าง ๆ เหล่านี้ ทาให้ SCB EIC คาดว่า มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ในปีหน้าจะยังคงอยู่ต่ากว่าช่วง Pre-COVID อย่างไรก็ดี แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปีหน้ายังคงเปราะบางท่ามกลางความเสี่ยง ด้านลบ (Downside risks) หลายด้าน โดย SCB EIC คาดว่าผู้บริโภคในตลาดส่วนใหญ่น่าจะยังมี ความต้องการสินค้ากุ้งที่มีราคาไม่สูงมากนัก ทาให้ผู้ค้าอาจจะสามารถปรับขึ้นราคาขายเพื่อส่งผ่าน ภาระต้นทุนที่สูงขึ้นได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งประเด็นดังกล่าวจะยังมีส่วนกดดันอัตรากาไร ของผู้ประกอบการในธุรกิจต่อเนื่องในปีหน้า
  • 38. 38 SCB EIC Industry insight : Seafood industry มูลค่าการส่งออกกุ้งในปี 2024 มีแนวโน้มกลับมาขยายตัวเป็นบวกเล็กน้อยที่ 4%YOY แต่คาดว่ามูลค่าการส่งออก จะยังไม่ฟื้นกลับไปอยู่ในช่วง Pre-COVID เพราะแนวโน้มการฟื้นตัวยังคงเปราะบางท่ามกลางความเสี่ยงหลายด้าน • มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยในปี 2024 มีแนวโน้ม กลับมาขยายตัวเป็นบวก หลังจากที่คาดว่าจะหดตัว -11.4%YOY ในปีนี้ อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวในปีหน้ายังคงมีแนวโน้มเปราะบาง จากความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ของเศรษฐกิจโลก โดยคาดว่ามูลค่าการ ส่งออกกุ้งในปีหน้าจะยังคงอยู่ในระดับต่ากว่าช่วง Pre-COVID (ปี 2019) ราว 10% • อย่างไรก็ดี ภายใต้สถานการณ์ที่แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โลกยังคงเปราะบางและมีความเสี่ยงสูง กอปรกับกาลังซื้อที่ยัง ไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ผู้บริโภคยังมีแนวโน้มต้องการกุ้งที่มีราคาไม่แพง มากนัก ส่งผลให้ผู้ขายอาจไม่สามารถปรับราคาให้สูงขึ้นได้มากนัก ประกอบกับการแข่งขันด้านราคาในตลาดโลกที่มีแนวโน้มรุนแรง มากขึ้นอีกด้วย • สาหรับในระยะ Medium-term การส่งออกกุ้งมีแนวโน้มเติบโต สูงขึ้นต่อเนื่องตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และความต้องการจากกลุ่ม Emerging markets เป็นหลัก ภาพรวมภาวะธุรกิจและแนวโน้มในระยะต่อไป มูลค่าการส่งออกกุ้งของไทย หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ 10% 42% 48% 2015 9% 51% 40% 2016 1,426 1,263 1,313 13% 2024F 25% 55% 2023E 27% 54% 20% 19% 2022 28% 49% 23% 2021 30% 48% 22% 2020 32% 47% 21% 2019 33% 50% 18% 2018 35% 49% 2017 36% 16% 50% 1,615 1,916 1,964 1,571 1,456 1,329 1,419 -9.8% -2.6% -11.4% 4.0% กุ้งกระป๋อง กุ้งสด กุ้งแปรรูป ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ (MOC)