SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
SCB EIC
Monthly
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปีขยายตัว 2.7%
เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อน โดยมีภาคการท่องเที่ยว
และการบริโภคภาคเอกชนเป็นแรงสนับสนุนสาคัญ
SCB EIC คาดเศรษฐกิจไทยจะกลับไปสู่ระดับก่อนวิกฤติโควิด
ในช่วงกลางปีจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวดีต่อเนื่อง
Issue : MAY 2023
2
Executive summary
SCB EIC ประเมินเศรษฐกิจโลกปี 2023 จะไม่เข้าสู่ภาวะถดถอย แต่มีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น ปัญหาเสถียรภาพระบบการเงินและความไม่แน่นอนในการปรับ
เพดานหนี้ของรัฐบาลสหรัฐฯ กระทบต่อความเชื่อมั่นในตลาดการเงินโลก เศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวชะลอลงในช่วงต้นไตรมาส 2 เศรษฐกิจยุโรปที่ยังอ่อนแอแม้จะหลีกเลี่ยง Recession ได้
เงินเฟ้อโลกมีแนวโน้มปรับลดลงต่อเนื่อง จากราคาพลังงานโลกที่ลดลงและอุปทานคอขวดที่ปรับดีขึ้นใกล้ระดับ Pre-COVID ขณะที่เงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มปรับลดลงได้ช้า
ทั้งนี้คาดว่า Fed จะยุติการขึ้นดอกเบี้ยและคงอัตราดอกเบี้ยไว้ตลอดปี 2023 ขณะที่ ECB และ BOE จะปรับขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง ครั้งละ 25 BPS สู่ระดับ 3.75% และ 5%
ตามลาดับ เนื่องจากภูมิภาคยุโรปเผชิญแรงกดดันเงินเฟ้อรุนแรงกว่า สาหรับ BOJ มีแนวโน้มปรับนโยบายการเงินให้ผ่อนคลายน้อยลงในปีนี้ จากแรงกดดันเงินเฟ้อที่สูงขึ้น โดยคาดว่า
จะปรับนโยบาย YCC ในเดือน ก.ค.
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปีขยายตัว 2.7% เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อน โดยมีภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนเป็นแรงสนับสนุนสาคัญ SCB EIC คาดเศรษฐกิจไทยจะกลับ
ไปสู่ระดับก่อนวิกฤติโควิดในช่วงกลางปีจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวดีต่อเนื่อง จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเร่งตัวตามการกลับมาของนักท่องเที่ยวจีน ขณะที่นักท่องเที่ยวไทยมีแนวโน้ม
ชะลอตัวเล็กน้อยเนื่องจากเข้าสู่ช่วง Low season นอกจากนี้ การลงทุนและภาคการผลิตมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องในไตรมาสที่ 2 อย่างไรก็ดี SCB EIC ยังคงมุมมองมูลค่าการ
ส่งออกปีนี้ขยายตัว 1.2% โดยมีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้นจากเศรษฐกิจโลก โดยคาดว่าการส่งออกในไตรมาส 2 จะยังหดตัวจากปัจจัยฐาน แต่ในครึ่งหลังของปีจะเริ่มขยายตัวตามอุปสงค์
จีนที่ปรับดีขึ้น ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มเกินดุลในปีนี้ สาหรับเงินเฟ้อทั่วไปคาดว่าจะขยายตัวลดลงอย่างชัดเจนในเดือน พ.ค. จากราคาพลังงานที่ยังชะลอตัวและผลจาก
ปัจจัยฐาน แต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงในระยะต่อไป ทั้งนี้ความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงในประเทศที่ต้องติดตาม แม้ความน่าจะเป็นที่ฝ่ายเสรีนิยมจะได้จัดตั้งรัฐบาลสูง
ขึ้นมากหลังทราบผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ แต่ยังมีความไม่แน่นอนสูง
SCB EIC คาดนโยบายการเงินไทยจะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 ตามแนวโน้มเศรษฐกิจไทยที่ขยายตัวต่อเนื่องและแรงกดดันเงินเฟ้อ
ที่ยังมี แม้จะกลับมาอยู่ในกรอบได้แล้ว โดยเงินเฟ้อยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากการส่งผ่านต้นทุนและแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ สาหรับเงินบาทคาดว่าจะกลับมาแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง
จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่จะปรับดีขึ้น และเงินดอลลาร์สหรัฐที่คาดว่าจะกลับมาอ่อนค่าลงโดยคาดว่าเงินบาทจะแข็งค่าอยู่ที่ 32-33 ณ สิ้นปีนี้
3
เศรษฐกิจญี่ปุ่น
มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากแรงหนุนในภาค
บริการหลังยกเลิกมาตรการโควิดเพิ่มเติม
เงินเฟ้อมีแนวโน้มสูงตามตลาดแรงงานที่ตึงตัว
ขณะที่ BOJ เริ่มส่งสัญญาณแรงกดดันเงินเฟ้อ
เพิ่มขึ้น
SCB EIC คาดว่า BOJ จะปรับนโยบาย YCC
ในเดือน ก.ค.
เศรษฐกิจยูโรโซน
ยังมีแนวโน้มหลีกเลี่ยง Recession ได้ แต่การเติบโต
อ่อนแอมาก หลังเห็นผลส่งผ่านจากการขึ้นดอกเบี้ย
ต่อเศรษฐกิจจริงมากขึ้น
เงินเฟ้อยุโรปยังทรงตัวสูง SCB EIC จึงคาดว่า ECB
และ BOE จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง (ครั้งละ 25 BPS) สู่
3.75% และ 5% ตามลาดับ และคงไว้ตลอดปี
เศรษฐกิจโลกปี 2023 จะไม่เข้าสู่ภาวะถดถอย
แต่เผชิญความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้น
เศรษฐกิจสหรัฐฯ
ปัจจัยกดดันเพิ่มขึ้นจากภาวะสินเชื่อตึงตัว
สภาพคล่องลดลง และความไม่แน่นอนของ
Debt-ceiling
เงินเฟ้อสหรัฐฯ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง
SCB EIC จึงคาดว่า Fed จะหยุดขึ้นอัตรา
ดอกเบี้ยและคงไว้ตลอดปี
เศรษฐกิจจีน
เศรษฐกิจจีนส่งสัญญาณขยายตัวชะลอลงในเดือน
เม.ย. ตามอานิสงส์จากการผ่อนคลายนโยบาย
Zero-COVID ที่เริ่มหมดไป
SCB EICคาดว่าเศรษฐกิจจีนจะเติบโตแข็งแกร่งในปีนี้
จากปัจจัยฐานต่าและการฟื้นตัวของภาคบริการ
แต่การฟื้นตัวในแต่ละภาคเศรษฐกิจไม่เท่าเทียมกัน
4
-6
-4
-2
0
2
Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23
FCI Global FCI US FCI EU
เศรษฐกิจโลกทยอยปรับดีขึ้นในไตรมาส 2 แต่ตัวเลขยังต่ากว่าคาด การฟื้นตัวของภาคการผลิตและบริการแตกต่างกัน
มากขึ้น ดัชนีความทุกข์ยากยังอยู่สูงกว่าก่อนโควิดมาก ทั้งนี้ปัจจัยเสี่ยงเริ่มคลี่คลายลงบ้าง เช่น ภาวะการเงินตึงตัว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, S&P Global และ Bloomberg
ภาวะการเงินตึงตัวน้อยลง
EU เผชิญแรงกดดันจากการ
ขึ้นดอกเบี้ยที่สูงขึ้น
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ของโลก
หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
ดัชนีภาวะการเงิน (Financial Condition Index)
หน่วย : ดัชนี
ดัชนีความทุกข์ยาก (Misery Index)
หน่วย : %, ผลรวมของอัตราเงินเฟ้อ (%YOY) และอัตราการว่างงาน
Economic Surprise Index (ESI) จัดทาโดย Citi Group
หน่วย : ดัชนี, < 0 หมายถึงว่าตัวเลขเศรษฐกิจที่ออกมาจริงแย่กว่าตัวเลขคาดการณ์
45
50
55
60
Apr-20 Jan-21 Oct-21 Jul-22 Apr-23
Composite PMI Mfg PMI Services PMI
0
5
10
15
20
Mar-17 Jan-18 Nov-18 Sep-19 Jul-20 May-21 Mar-22 Jan-23
US EA Japan UK
-80
-40
0
40
80
120
160
-50
-25
0
25
50
75
100
Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23
Eurozone US Global EMs Japan China (RHS)
5
เงินเฟ้อหลายประเทศเริ่มชะลอลงกลับเข้าใกล้กรอบ และข้อมูลความถี่สูงชี้ว่าเงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอลงต่อ
ช่วยลดแรงกดดันที่ธนาคารกลางต้องเร่งขึ้นดอกเบี้ยขนาดใหญ่ได้
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, S&P Global, CEIC และ Bloomberg
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป : ในหลายประเทศลดลงเข้าใกล้กรอบของธนาคารกลางมากขึ้นแล้ว ส่งผลให้
แรงกดดันที่ธนาคารกลางทั่วโลกต้องเร่งขึ้นดอกเบี้ยมีน้อยลง
หน่วย : %YOY
Shanghai Containerized Freight Index : ต้นทุนค่าระวางเรือปรับลดลงใกล้ระดับ Pre Covid
สะท้อนแรงกดดันเงินเฟ้อที่น้อยลงในระยะต่อไป
หน่วย : ดัชนี, คานวนจากอัตราค่าระวาง 15 เส้นทาง
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ : ระยะเวลาส่งมอบสินค้า ปรับลดลงต่อเนื่อง สะท้อนอุปทานคอขวดปรับดีขึ้น
หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น
30
40
50
60
2008 2011 2014 2017 2020 2023
ระยะเวลาขนส่งสินค้าปรับดีขึ้น
0
5000
10000
Jan feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2015-2019 avg 2021 2022 2023
0
2
4
6
8
10
12
14
UK
EU
Italy
Germany
Philippines
Mexico
France
US
India
Canada
Indonesia
Brazil
Spain
S.
Korea
Japan
Vietnam
Thailand
China
Latest (Mar-Apr) Post-Covid Peak Official Target
เผชิญปัจจัยกดดันมากขึ้น จากภาวะสินเชื่อที่ตึงตัวและสภาพคล่องที่ลดลง และความไม่แน่นอนเรื่อง Debt-ceiling
เงินเฟ้อสหรัฐฯ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง SCB EIC จึงคาดว่า Fed จะหยุดขึ้นอัตราดอกเบี้ยและคงไว้ตลอดปี
เศรษฐกิจสหรัฐฯ
7
เศรษฐกิจสหรัฐฯ เผชิญปัจจัยกดดันมากขึ้นจากภาวะสินเชื่อตึงตัวและสภาพคล่องลดลง ส่งผลต่อกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ ความไม่แน่นอนของ Debt ceiling เป็นปัจจัยเสี่ยงกระทบความเชื่อมั่นในตลาดการเงิน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ FRED, Bloomberg และ U.S. Council of Economic Advisers
สัดส่วนสถาบันการเงินที่เพิ่มความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อให้แก่ภาคธุรกิจปรับเพิ่มขึ้น
หน่วย : %
ยอดคงค้างสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ (Commercial Real Estate Loans : CRE)
หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน
หน่วย : %
ผลกระทบทางเศรษฐกิจหากสหรัฐฯ ผิดนัดชาระหนี้
ประมาณการโดย U.S. Council of Economic Advisers
• ภาวะสินเชื่อตึงตัวจะมีผลทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและเงินเฟ้อสหรัฐฯ ปรับชะลอลง เนื่องจากภาคธุรกิจ
และครัวเรือนจะเข้าถึงสินเชื่อได้ยากขึ้น ทั้งนี้ SCB EIC คาดว่า เศรษฐกิจ US จะ Soft landing ได้
• สภาพคล่องในธนาคารขนาดเล็กลดลง ทาให้ธุรกิจ CRE เสี่ยงผิดนัดชาระหนี้มากขึ้น โดยธุรกิจ CRE มีแนวโน้ม
Refinance ยากขึ้น ขณะที่อุปสงค์การเช่าพื้นที่ลดลงจะกระทบรายได้ของ CRE อีกด้วย
• ความกังวล Debt-ceiling ส่งผลให้ Bond yield ระยะสั้น (โดยเฉพาะที่จะครบกาหนดในช่วง X-date)
และ CDS ปรับสูงขึ้น หากสหรัฐฯ ผิดนัดชาระหนี้จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจมาก ทั้งนี้ SCB EIC คาดว่าสหรัฐฯ
จะบรรลุข้อตกลงได้ก่อน Treasury จะผิดนัดชาระหนี้
ผลกระทบ Short default Protracted
Real GDP -0.6% -6.1%
Employment -0.5 millions -8.3 millions
Unemployment +0.3% +5%
-2
0
2
4
6
Jan-20
Jul-20
Jan-21
Jul-21
Jan-22
Jul-22
Jan-23
83.6
70.0
46.7
-40
0
40
80
Jan-06
Oct-06
Jul-07
Apr-08
Jan-09
Oct-09
Jul-10
Apr-11
Jan-12
Oct-12
Jul-13
Apr-14
Jan-15
Oct-15
Jul-16
Apr-17
Jan-18
Oct-18
Jul-19
Apr-20
Jan-21
Oct-21
Jul-22
Apr-23
สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดกลาง
สินเชื่อธุรกิจขนาดเล็ก
0
1000
2000
3000
Jan-06
Oct-06
Jul-07
Apr-08
Jan-09
Oct-09
Jul-10
Apr-11
Jan-12
Oct-12
Jul-13
Apr-14
Jan-15
Oct-15
Jul-16
Apr-17
Jan-18
Oct-18
Jul-19
Apr-20
Jan-21
Oct-21
Jul-22
Apr-23
Small banks Large-middle banks
67%
33%
เกือบ 70% ของ CRE loans
ปล่อยโดยธนาคารขนาดเล็ก
1-month Treasury bill
yield has spiked since
the start of May
8
เงินเฟ้อสหรัฐฯ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะเงินเฟ้อพื้นฐานภาคบริการ (ไม่รวมที่อยู่อาศัย)
SCB EIC จึงคาดว่า Fed มีแนวโน้มจะคงอัตราดอกเบี้ยไว้ตลอดปี
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg
Contribution ในอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯ (Consumer price index : CPI)
หน่วย : %YOY
ดัชนีภาวะการเงินสหรัฐฯ (Chicago Fed National Financial condition index)
หน่วย : ดัชนี (บวกคือตึงตัวเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในอดีต)
4.9
-1
2
5
8
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
Core CPI CPI: Energy CPI: Food Headline CPI
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานภาคบริการ (ไม่รวมที่อยู่อาศัย)
หน่วย : %YOY หน่วย : %MOM
0.1
5.5
5.8
5.1
0
0.3
0.6
0.9
3
4
5
6
7
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
CPI Core service ex-housing (RHS) Core CPI CPI Core service ex-housing
• เงินเฟ้อทั่วไปมีทิศทางชะลอลงต่อเนื่อง ราคาพลังงานยังเป็นปัจจัยหลักที่กดเงินเฟ้อ
• เงินเฟ้อพื้นฐานภาคบริการ (ไม่รวมที่อยู่อาศัย) ซึ่ง Fed ให้ความสาคัญเริ่มชะลอลงชัดเจน สะท้อน
อุปสงค์ที่ลดความร้อนแรงลง ขณะที่ Credit condition ตึงตัวต่อเนื่องส่งผลให้ Fed มีแนวโน้มหยุด
ขึ้นดอกเบี้ยในเดือน มิ.ย.
• อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อพื้นฐานยังลดลงได้ช้า โดยเฉพาะเงินเฟ้อในกลุ่ม Labor-sensitive services ที่ยัง
ขยายตัวตามตลาดแรงงาน ทาให้เงินเฟ้อจะยังอยู่สูงกว่าเป้าหมายที่ 2% ของ Fed ในปีนี้ ส่งผลให้
Fed มีแนวโน้มคงดอกเบี้ยไว้ตลอดปี
-1
-0.5
0
0.5
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Credit condition Risk condition FCI
มีแนวโน้มหลีกเลี่ยง Recession ได้ แต่การเติบโตจะอ่อนแอมาก จากผลของการขึ้นดอกเบี้ยที่ส่งผ่านไปยังเศรษฐกิจมากขึ้น เงินเฟ้อจะยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง
โดยเฉพาะเงินเฟ้อพื้นฐาน SCB EIC คาดว่า ECB และ BOE จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง (ครั้งละ 25 BPS) สู่ 3.75% และ 5% ตามลาดับ และคงไว้ตลอดปี
เศรษฐกิจยุโรป
10
เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโน้มหลีกเลี่ยง Recession ได้ แต่การเติบโตจะอ่อนแอมากจากผลของการขึ้นดอกเบี้ย
ที่ส่งผ่านไปยังภาคเศรษฐกิจจริงมากขึ้น และเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, S&P Global, CEIC และ Bloomberg
ECB Bank Lending Survey : Loan Demand (Enterprises) : ในระยะต่อไปคาดว่าผลของการ
ขึ้นดอกเบี้ยจะส่งผ่านไปยังภาคเศรษฐกิจจริงมากขึ้น สะท้อนจากคาดการณ์ความต้องการกู้ยืมของภาค
ธุรกิจที่มีแนวโน้มชะลอลงต่อ คาดว่าจะกระทบการลงทุนและกิจกรรมภาคธุรกิจในระยะต่อไป
หน่วย : Net percentages of banks reporting an increase in demand
การเติบโตของเศรษฐกิจ EU27 และ EA19
หน่วย : %QOQ, Seasonally and calendar adjusted
-0.5
0.5
1.5
2.5
1Q2021 2Q2021 3Q2021 4Q2021 1Q2022 2Q2022 3Q2022 4Q2022 1Q2023
EU27 EA19
-50
-25
0
25
50
75
1Q2019 4Q2019 3Q2020 2Q2021 1Q2022 4Q2022 3Q2023
Demand
Expected Demand
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของยูโรโซน : สะท้อนการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง แม้ภาค
การผลิตจะยังหดตัวตามภาวะเศรษฐกิจและอุปสงค์โลก โดยเฉพาะภาคสินค้าคงทนที่ชะลอลง
หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
Decreasing in loan demand
40
45
50
55
60
65
Jul-20 Jun-21 May-22 Apr-23
Composite
Service
Manufacturing
No technical recession
11
เงินเฟ้อในยุโรปจะยังทรงตัวในระดับสูง นโยบายการเงินจึงตึงตัวต่อเนื่อง โดย SCB EIC คาดว่า ECB และ BOE
จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง (ครั้งละ 25 BPS) สู่ระดับ 3.75% และ 5% ตามลาดับ และคงไว้ตลอดปี
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก Euro Stat, ECB และ BOE
อัตราเงินเฟ้อของยูโรโซนและสหราชอาณาจักร
หน่วย : % YOY
ECB Consumer Expectations Survey: Inflation expectation (May-23)
หน่วย : % Change
UK MPC Forecasts of Annual CPI Inflation
หน่วย : %YOY
2
4
6
8
10
12
Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23
EA20 Headline CPI UK Headline CPI
EA20 Core CPI UK Core CPI
0
5
10
Mar-20 Sep-20 Mar-21 Sep-21 Mar-22 Sep-22 Mar-23
3 years ahead
over the next 12 months
0
5
10
1Q2023
2Q2023
3Q2023
4Q2023
1Q2024
2Q2024
3Q2024
4Q2024
1Q2025
2Q2025
3Q2025
4Q2025
1Q2026
2Q2026
Feb Forecast
May Forecast
inflation target
มีสัญญาณขยายตัวชะลอลงในเดือน เม.ย. หลังอานิสงส์จากการผ่อนคลายนโยบาย Zero-COVID ทยอยหมดไป และปัจจัยความเปราะบางต่าง ๆ ที่ยังมีอยู่
อย่างไรก็ดี SCB EIC ยังคาดว่าเศรษฐกิจจีนจะเติบโตแข็งแกร่งในปีนี้ จากปัจจัยฐานต่าและการฟื้นตัวของภาคบริการ
เศรษฐกิจจีน
13
10.6
18.4
-15
-10
-5
0
5
10
15
20
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
July-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Mar-23
Apr-23
เศรษฐกิจจีนส่งสัญญาณขยายตัวชะลอลงในเดือน เม.ย. หลังอานิสงส์จากการเปิดประเทศทยอยหมดไป
อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจในภาพรวมมีแนวโน้มแข็งแกร่งกว่าปีที่แล้ว โดยเฉพาะการใช้จ่ายภาคบริการ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, S&P Global, National Bureau of Statistics และ General Administration of Customs
อัตราการขยายตัวของยอดค้าปลีก
หน่วย : %YOY
อัตราการขยายตัวของการค้าจีน (รูปดอลลาร์สหรัฐ)
หน่วย : %YOY
ดัชนี Caixin PMI
หน่วย : ดัชนี (>50 สะท้อนการขยายตัว)
35
40
45
50
55
60
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
Composite Manufacturing Services
-25
-20
-15
-10
-5
0
5
10
15
20
25
Feb-22
Apr-22
Jun-22
Aug-22
Oct-22
Dec-22
Feb-23
Apr-23
Exports Imports
เศรษฐกิจจีนในภาพรวมยังมีความแข็งแกร่งเทียบกับปี 2022 สะท้อนจากดัชนี Composite PMI ที่ขยายตัวสูง ซึ่งมาจากการขยายตัวในภาคบริการเป็นหลัก ขณะที่ยอดค้าปลีกพลิกกลับมาขยายตัวสูงสุดตั้งแต่ต้นปี 2021
และการส่งออกเริ่มฟื้นตัว อย่างไรก็ดี มีสัญญาณการชะลอตัวในเดือน เม.ย. ซึ่งเป็นผลจากอานิสงส์การผ่อนคลายนโยบาย Zero-COVID ที่เริ่มหมดไป ประกอบกับความเสี่ยงต่าง ๆ ในเศรษฐกิจส่งผลให้การฟื้นตัวไม่เท่าเทียมกัน
2023
ดัชนี PMI ชะลอตัว แต่ยังคง
ขยายตัว ยกเว้นภาคการผลิต
ยอดค้าปลีกพลิกกลับมา
ขยายตัวแข็งแกร่ง
การส่งออกเริ่มฟื้นตัว
แม้จะชะลอลง
14
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนมีความแตกต่างกันในแต่ละภาคเศรษฐกิจ สะท้อนการฟื้นตัวยังค่อยเป็นค่อยไป
และมีความเปราะบาง นโยบายการเงินการคลังจึงมีแนวโน้มที่จะอยู่ในระดับผ่อนคลายต่อไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, National Bureau of Statistics และ Ministry of Culture and Tourism
1. ภาคอุตสาหกรรมฟื้นตัวช้า กาไรบริษัทอุตสาหกรรมจีนยังต่า ขณะที่ภาคบริการฟื้นตัวเร็วกว่า โดยเฉพาะการท่องเที่ยวภายในประเทศ จากปัจจัยฐานต่าและ Pent-up demand
กาไรของบริษัทอุตสาหกรรมจีน
หน่วย : พันล้านหยวน หน่วย : %YOY
จานวนและรายได้จากนักท่องเที่ยวภายในประเทศ
หน่วย : คน-ครั้ง, ล้านหยวน
-100
-50
0
50
0
500
1000
1500
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Industrial Profits %Change (RHS)
0
1,000,000
2,000,000
Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23
Domestic tourists Domestic tourism revenue
2. อัตราการว่างงานของกลุ่มอายุน้อยพุ่งสูงขึ้นแม้อัตราโดยรวมลดลง 3. ภาคอสังหาฯ ยังหดตัว แม้จะเริ่มปรับดีขึ้นบ้าง
อัตราการว่างงานตามในเขตเมืองตามกลุ่มอายุ
หน่วย : %
ตัวชี้วัดภาคอสังหาฯ จีน
หน่วย : %YOY
5.2
20.4
0
5
10
15
20
25
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
Overall Age 16-24
-60
-40
-20
0
20
40
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
Real estate investment Floor space started Floor space sold
มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากแรงหนุนในภาคบริการหลังยกเลิกมาตรการโควิดเพิ่มเติม ภาคการผลิตมีแนวโน้มผ่านจุดต่าสุดแล้ว
และความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ในทิศทางฟื้นตัว เงินเฟ้อมีแนวโน้มสูงตามตลาดแรงงานที่ตึงตัว
อีกทั้ง BOJ เริ่มส่งสัญญาณถึงแรงกดดันเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นแล้ว SCB EIC คาดว่า BOJ จะปรับนโยบาย YCC ให้ผ่อนคลายน้อยลงในเดือน ก.ค.
เศรษฐกิจญี่ปุ่น
16
เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากแรงหนุนในภาคบริการที่จะเร่งตัวขึ้นอีกหลังยกเลิกมาตรการโควิด
เพิ่มเติม ภาคการผลิตมีแนวโน้มผ่านจุดต่าสุดแล้ว ขณะที่ความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังต่าแต่มีทิศทางฟื้นตัว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, BOJ Tankan, S&P Global และ CEIC
Japan visitor arrivals
หน่วย : ล้านคนต่อเดือน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค
หน่วย : ดัชนี, ปรับฤดูกาล
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของญี่ปุ่น
หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
Total Asia Ex. China US, Europe,
Aus, NZ
others Mainland
China
2019 avg Mar-23
55.4
30
35
40
45
50
55
60
Apr-20 Oct-20 Apr-21 Oct-21 Apr-22 Oct-22 Apr-23
Manufacturing
Service
Composite
15
20
25
30
35
40
45
50
55
Jan-15
Oct-15
Jul-16
Apr-17
Jan-18
Oct-18
Jul-19
Apr-20
Jan-21
Oct-21
Jul-22
Apr-23
Overall Index
Livelihood Index
Income Growth
Employment
Willingness to buy durables goods
70% ของ
2019 avg
ฟื้นตัวใกล้เคียงปี 2019 แล้ว
10% ของ
2019 avg
• ในระยะต่อไป จานวนผู้มาเยือนจะเร่งตัวขึ้น หลังญี่ปุ่นยกเลิก
มาตรการควบคุมโควิดข้ามพรมแดนเพิ่มเติมปลาย เม.ย. เช่น
แสดงหลักฐานการฉีดวัคซีนและผลตรวจโควิดก่อนเดินทาง
• จานวนผู้มาเยือนจากจีนมีแนวโน้มเร่งตัวตั้งแต่ไตรมาส 2 เช่นกัน
หลังญี่ปุ่นยกเลิกมาตรการสุ่มตรวจผู้มาเยือนจากจีนด้วย
• Service PMI ทาสถิติสูงสุดนับตั้งแต่เริ่มสารวจในปี 2007 ขยายตัว 55.4 ในเดือน เม.ย. จากการใช้จ่ายการเดินทาง การพักผ่อน
และการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ตามอุปสงค์ที่ฟื้นตัวหลังโควิด
• ภาคการผลิตปรับดีขึ้น แม้ภาคการผลิตและคาสั่งซื้อยังหดตัว แต่หดตัวช้าสุดในรอบ 9 เดือน Supply chain มีทิศทางฟื้นตัว โดยระยะเวลา
การรอคอยสินค้าปรับลดลง ต้นทุนปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราช้าสุดนับตั้งแต่ ส.ค. 2021
• ความเชื่อมั่นผู้บริโภคมีทิศทางฟื้นตัว จากความต้องการซื้อสินค้าคงทนและการจ้างงานที่ปรับดีขึ้น และค่าจ้างปีนี้ที่โตสูงกว่าปกติ
17
เงินเฟ้อญี่ปุ่นชะลอลงเล็กน้อย ในระยะต่อไปคาดว่าเงินเฟ้อจะยังอยู่ในระดับสูงจากตลาดแรงงานตึงตัว
BOJ เริ่มส่งสัญญาณแรงกดดันเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะปรับ YCC ให้ผ่อนคลายน้อยลงในเดือน ก.ค.
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, BOJ, Bloomberg และ Goldman Sachs
อัตราเงินเฟ้อและการเติบโตของค่าจ้าง
หน่วย : %YOY
ประมาณการอัตราเงินเฟ้อ โดย BOJ ณ เม.ย. 2023
หน่วย : %YOY
คาดการณ์เงินเฟ้อของผู้บริโภค 12 เดือนข้างหน้า
หน่วย : %ของผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด
เงื่อนไขการจ้างงาน (Employment condition) สารวจโดย BOJ
หน่วย : ดัชนี, < 0 บริษัทคิดว่าจานวนพนักงานมีไม่เพียงพอ
-6
-4
-2
0
2
4
6
8
10
Mar-19
Sep-19
Mar-20
Sep-20
Mar-21
Sep-21
Mar-22
Sep-22
Mar-23
CPI
Nominal wage: E >5
Nominal wage: E > 30
0
25
50
75
100
Jan-18 Oct-19 Jul-21 Apr-23
Go up < 2% Go up ≥ 2%
-50
-40
-30
-20
-10
0
Dec-14 Jan-17 Feb-19 Mar-21 Apr-23
large (F) Medium (F) Small (F)
บริษัทประเมินการขาดแคลนแรงงานรุนแรงขึ้น
Forecast
Periods
CPI
(ex. fresh food)
CPI
(ex. fresh food
& energy)
Fiscal
Year 2023 2024 2025 2023 2024 2025
April
(prev.
Jan)
1.8
(1.6)
2.0
(1.8)
1.6 2.5
(1.8)
1.7
(1.6)
1.8
• เงินเฟ้อทั่วไปเดือน มี.ค. ชะลอลง จากการอุดหนุนราคา
พลังงานของรัฐ ในระยะต่อไปเงินเฟ้อจะสูงอยู่จากตลาดแรงงาน
ตึงตัว และการเติบโตของค่าจ้างที่สูงกว่าปกติในปีนี้
• BOJ ปรับเพิ่มประมาณการเงินเฟ้อในปีนี้และปีหน้า
และประเมิน Upside risks ของเงินเฟ้อมีมากขึ้น แต่ยัง
ประเมินว่าเงินเฟ้อในระยะปานกลางไม่ยั่งยืนที่ 2% สะท้อน
จากประมาณการเงินเฟ้อปี 2025 ที่ต่าลงเหลือ 1.6%
• ความเห็นแนวโน้มเงินเฟ้อของ MPC แตกต่างกันมากขึ้น
โดย5 จาก8 เสียงกังวลว่าเงินเฟ้อมี Upsideriskมากขึ้น เทียบกับ
การประชุมในเดือน มี.ค. ที่มีสัดส่วนนี้เพียง 2 จาก 8 เสียง
• SCB EIC ประเมินว่า BOJ มีแนวโน้มปรับนโยบาย YCC
ให้ผ่อนคลายน้อยลงในการประชุมเดือน ก.ค. (เดิมคาด มิ.ย.)
พร้อมออกประมาณการเศรษฐกิจรอบใหม่
เศรษฐกิจไทย
19
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2023 ขยายตัว 2.7% โดยมีภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชน
เป็นแรงสนับสนุนสาคัญ
แหล่งที่มาของการขยายตัวของ Real GDP (Contribution to Contraction) Q1/2023
หน่วย : Percentage point
ด้านการผลิต
ด้านการใช้จ่าย
ส่งออกบริการสุทธิ บริโภคเอกชน ลงทุนเอกชน ลงทุนภาครัฐ คลาดเคลื่อนสถิติ บริโภคภาครัฐ ส่งออกสินค้าสุทธิ เปลี่ยนแปลง
สินค้าคงเหลือ
Real GDP
โรงแรมร้านอาหาร เกษตร สาขาการขนส่ง อื่น ๆ การขายส่งขายปลีก การเงิน สาขาการก่อสร้าง สาธารณูปโภค อุตสาหกรรม Real GDP
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
20
SCB EIC คาดเศรษฐกิจไทยจะกลับไปสู่ระดับก่อนวิกฤติโควิดในช่วงกลางปี โดยภาพรวมเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวมาอยู่
ในระดับต่ากว่าวิกฤติโควิดราว -1.5% แล้ว ขณะที่ภาคบริการยังอยู่ต่ากว่าระดับก่อนวิกฤติเกือบ -40%
เปรียบเทียบ GDP ไทยในปัจจุบันกับก่อนวิกฤติโควิด
หน่วย : %เปรียบเทียบกับระดับก่อนวิกฤติโควิด (2019), คานวณด้วยวิธีการรวม GDP ในไตรมาสปัจจุบันกับ 3 ไตรมาสก่อนหน้า (Rolling 4 Quarters)
-1.5
8.2
7.5
4.7
3.7
0.1
-39.8
3.1
-0.9
-3.6
-50 -40 -30 -20 -10 0 10 20
GDP
Exports of Goods
Private Consumption
Public Investment
Public Consumption
Private Investment
Exports of Services
Agriculture
Services
Industrial
Expenditure
Approach
Production
Approach
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
21
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวได้ดีต่อเนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เร่งตัวตามการกลับมาของนักท่องเที่ยวจีน
ขณะที่นักท่องเที่ยวไทยเที่ยวไทยมีแนวโน้มชะลอตัวเล็กน้อยเนื่องจากเข้าสู่ช่วง Low season
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทย
หน่วย : ล้านคน
จานวนผู้เยี่ยมเยือนไทย
หน่วย : ล้านคน-ครั้ง
Q3 Q3
2.9
Q1 Q3
3.1
5.5
Q2
2.5
6.5
Q1
6.8
2.5
3.6
Q2
7.9
Q3
Q4
5.4 1.6
Q1
6.7
Q2
1.5
9.0
Q4 Q2
6.0
Q4 Q1
3.5
5.3
7.0
7.7
Q1
6.1
Q2 F
10.8
Q4
10.4
0.3 0.5
6.5
9.7
2023
2021
2019 2020 2022
นักท่องเที่ยวจีน นักท่องเที่ยวต่างชาติอื่น
Q3
5.1
Q2 Q4
Q3
63.4
Q1 Q2 Q4 Q1 Q2 Q3
54.7
Q4 Q1 Q2
55.4
Q1 Q4 Q1 Q2 F
45.2
57.9
51.2
64.0
40.4
32.5
26.4
9.6
4.0
31.8
46.1 48.2 50.2
58.4
Q3
2019 2020 2021 2022 2023
ผู้เยี่ยมเยือนไทย
นักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงฟื้นตัวได้ดีตามการประมาณการจากการเร่งตัวของนักท่องเที่ยวจีนเป็นหลัก
โดยนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้าไทยแล้วกว่า 9 แสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 7 พ.ค. 2023)
คนไทยเดินทางท่องเที่ยวในประเทศมีแนวโน้มชะลอตัวเล็กน้อย ด้วยสถานการณ์ในประเทศ
กลับเข้าสู่ภาวะปกติและเข้าฤดูฝน ซึ่งเป็นช่วง Low season
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
22
SCB EIC คงคาดการณ์มูลค่าการส่งออกปีนี้ที่ 1.2% แต่ประเมินเศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าไตรมาส 2
ส่งออกจะยังหดตัวจากปัจจัยฐาน แต่ครึ่งหลังของปีจะขยายตัวได้ตามอุปสงค์จีนที่ปรับดีขึ้น ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มเกินดุล
มูลค่าการส่งออกไทย รายสินค้าและรายตลาดปรับดีขึ้น มูลค่าการค้าของจีน : การส่งออกจีนในเดือน มี.ค. ขยายตัวเป็นเดือนที่ 2 ที่ 8%YOY แต่การนาเข้า
หดตัวแรง -7.8%YOY ทั้งนี้การนาเข้าจากไทยพลิกขยายตัวได้ 8.2% ครั้งแรกในรอบ 10 เดือน
หน่วย : %YOY
หน่วย : %YOY, (สัดส่วนในปี 2022) 2022 2022Q4 2023Q1 Jan-23 Feb-23 Mar-23
รวมทั้งหมด (100%) 5.5% -8.5% -4.5% -4.5% -4.7% -4.2%
ไม่รวมทองคา (97.5%) 4.4% -8.3% -2.3% -4.4% -2.5% -0.4%
เกษตรกรรม (9.3%) 2.2% -7.0% 0.2% -2.2% 1.5% 1.2%
อุตสาหกรรมการเกษตร (7.9%) 17.8% -4.0% 3.7% -3.3% 5.6% 7.1%
สินค้าอุตสาหกรรม (78.6%) 4.4% -8.4% -5.8% -5.4% -6.2% -5.9%
สินค้าแร่และเชื้อเพลิง (4.1%) 15.5% -22.0% -1.7% 6.8% -10.0% 0.1%
สหรัฐฯ (16.6%) 13.4% -1.3% -3.9% -4.7% -9.5% 1.7%
จีน (12%) -7.7% -13.4% -7.4% -11.4% -7.9% -3.8%
อาเซียน5 (14.2%) 9.5% -17.6% -2.2% 2.3% -6.4% -2.1%
CLMV (10.9%) 11.5% -0.9% -6.3% -11.1% -4.9% -3.5%
ญี่ปุ่น (8.6%) -1.3% -7.1% -0.2% -9.2% -2.5% 10.2%
สหภาพยุโรป28 (9.3%) 6.6% -1.8% -1.4% 2.7% -0.5% -5.3%
• มูลค่าการส่งออกสินค้าไตรมาส 1 หดตัวน้อยกว่าคาดและมีแนวโน้มทยอยฟื้นตัว โดยสินค้าส่งออกสาคัญ
เช่น คอมฯ และอุปกรณ์หดตัวเร็ว อย่างไรก็ดี มีสัญญาณบวกจากอุปสงค์สินค้าของจีนทิ่เริ่มขยายตัว
• 3 ตลาดศักยภาพใหม่ที่เป็นโอกาสในปีนี้ ได้แก่ ตะวันออกกลาง (การฟื้นฟูความสัมพันธ์ไทย-ซาอุฯ)
CLMV (รัฐบาลสนับสนุน) และลาตินอเมริกา (ตลาดเป้าหมายใหม่ของ พณ.)
• คาดว่าส่งออกปีนี้จะโตต่าที่ 1.2% และยังเปราะบางตามเศรษฐกิจโลกที่มีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, ธนาคารแห่งประเทศไทย, ศุลกากรจีน, JP Morgan, S&P Global และ CEIC
ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยจะกลับมาเกินดุลในปีนี้ จากทั้งดุลการค้าและดุลบริการ
หน่วย : ล้านบาท
8.0
-7.8
8.2
-40
-20
0
20
Export Import Import: Thailand
07/2022 เม.ย.-23
การนาเข้าจากไทย
มีทิศทางฟื้นตัว
(ม.ค.-ก.พ. ผันผวน
ส่วนหนึ่งจากผล
ตรุษจีน)
Q1 +0.5%YOY
-200,000
-100,000
0
100,000
200,000
Mar-21 Sep-21 Mar-22 Sep-22 Mar-23
ดุลการค้า ดุลบริการฯ ดุลบัญชีเดินสะพัด CA/GDP (%)
2022 2023F
-3.5% 1.3%
23
ข้อมูลความเชื่อมั่นสะท้อนแนวโน้มที่ดี ทั้งการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และภาคการผลิต
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (BSI) และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (Manufacturing PMI)
หน่วย : %เปรียบเทียบกับระดับก่อนวิกฤติโควิด (2019), คานวณด้วยวิธีการรวม GDP ในไตรมาสปัจจุบันกับ 3 ไตรมาสก่อนหน้า (Rolling 4 Quarters)
46.1
53.4
47.8
51.9
51.6
47.9
55.2
49.4
53.3
51.1
49.7
56.9
48.4
55
52.5
51.7
59.2
49.8
56.5
54.5
52.6
60.2
50.6
56.2
54.8
53.8
61.4
52.9
54.2
53.1
55
62.5
50.1
56
60.4
0
25
50
75
CCI CCI: future BSI BSI: Expectation Manufacturing PMI
10/2022 11/2022 12/2022 01/2023 02/2023 03/2023 04/2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ S&P Global
24
การกลับมาของการลงทุนเป็นหนึ่งในปัจจัยสนับสนุนการฟื้นตัวของธุรกิจ สะท้อนจากสถิติการลงทุนจาก BOI
โดยธุรกิจที่ได้รับความสนใจค่อนข้างมากอยู่ในกลุ่ม Data center, รถยนต์ EV, Electronics และเคมีภัณฑ์
หมายเหตุ : *AWS มีแผนการลงทุนต่อเนื่องไปอีกเป็นระยะเวลา 15 ปี โดยมีมูลค่าการลงทุนทั้งสิ้นที่ราว 1.9 แสนล้านบาท
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ BOI และสานักข่าวต่าง ๆ
สถิติการขอรับการส่งเสริมฯ และการได้รับบัตรส่งเสริม (BOI Applications & Certification)
หน่วย : แสนล้านบาท
ตัวอย่างโครงการขนาดใหญ่ในปี 2022 – Q1/2023
BOI Applications BOI Certification
3%
58%
12%
3%
2019
20%
11%
2022
7%
10%
48%
12%
13%
11%
7%
6%
2020
4.0 8%
9%
18%
22%
2021
26%
16%
5%
12%
20%
30%
4.8
6.9 6.6
+39%
4.0 8%
2019
9%
2020
5%
20%
14%
13%
21%
9%
25%
10%
34% 40%
11% 15%
15%
2021
11%
12%
3%
10%
19%
14%
28%
2022
4.9
21%
17%
3.6
4.3
+21%
Agriculture and Agricultural Products
Metal Products, Machinery and
Transport Equipment
Mineral, Ceramics and Basic Metals
Light Industries/Textiles
Electric and Electronic Products
Chemicals, Paper and Plastics
Service and Public Utilities
Technology and Innovation development
Chemicals.
Paper, and
Plastics
Services and
public utilities
Metal products,
Machinery, Transport
Equipment
Electric &
Electronic products
โครงการส่วนใหญ่อยู่ในหมวด Data Center นอกจากนั้น เป็นการผลิตพลังงาน
ไฟฟ้า การผลิตน้าประปา, และการขนส่งทางเรือกับทางอากาศ
โครงการส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มการผลิต Hard disk , Semiconductor, เครื่องใช้ไฟฟ้า
โครงการส่วนใหญ่เป็นการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ และชิ้นส่วน โดยทั้ง
Horizon และ BYD กาลังก่อสร้างโรงงานผลิตรถ EV และคาดว่าจะเริ่มผลิตปี 2024
โครงการขนาดใหญ่ เช่น โรงแยกก๊าซธรรมชาติ การผลิตเส้นใย/ผ้าคุณสมบัติพิเศษ
การผลิต Carbon black
True internet datacenter
มูลค่าราว 2,500 ล้านบาท
มูลค่า 3,000 ล้านบาท
Amazon web services
มูลค่า 24,810 ล้านบาท*
มูลค่า 21,784 ล้านบาท
(PTT+Foxconn)
มูลค่า 36,100 ล้านบาท
หลายบริษัทรถกาลังเตรียมยื่นขอ BOI ในปีนี้ เช่น
Changan Automobile ลงทุน 9,800 ล้านบาท
และ GAC AION ลงทุน 6,400 ล้านบาท
ผลิตชิ้นส่วน HDD
โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
มูลค่า 18,000 ล้านบาท
ไทยโตไกคารบอนโปรดักท์
ลงทุนผลิตCarbonBlack(ใช้ผลิตยาง)
มูลค่า 9,490 ล้านบาท
คิงบอร์ด โฮลดิ้งส์
ลงทุนผลิตเสนใย/ผาคุณสมบัติพิเศษ
มูลค่า 8,230 ล้านบาท
ผลิตชิป IC ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและกาลังลงทุน
ผลิตเซ็นเซอร์รูปภาพ 2,575 ล้านบาท
25
ราคาพลังงานโลกในไตรมาส 2 เริ่มชะลอลงจากความกังวลภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่มีมากขึ้น แต่ราคายังคงอยู่ใน
ระดับสูงเทียบกับค่าเฉลี่ยย้อนหลัง เนื่องจากภาวะอุปทานตึงตัว
หมายเหตุ : 5-year period = 2015-2019; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน เม.ย. 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, TradingView, Goldman Sachs, US EIA, JP Morgan และสานักข่าวต่าง ๆ
ราคาน้ามันดิบ Brent
หน่วย : USD/Barrel
ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) Aramco
หน่วย : USD/Ton
ราคาก๊าซธรรมชาติ Henry Hub
หน่วย : USD/MMBtu
0
20
40
60
80
100
120
140
2018 2019 2020 2021 2022 2023
0
2
4
6
8
10
2018 2019 2020 2021 2022 2023
0
200
400
600
800
1000
1200
2018 2019 2020 2021 2022 2023
5-yr avg 2021 2022 2023YTD
2.8 3.7 6.6 2.6
5-yr avg 2021 2022 2023F
57.1 70.5 100.9 78
5-yr avg 2021 2022 2023YTD
429.7 645.5 713.5 549
• ราคาน้ามันเริ่มชะลอตัวลง หลังผ่านระดับสูงสุดในช่วงปี 2022
การกดดันรัสเซียด้วยการคว่าบาตรการนาเข้าน้ามันดิบ
ประกอบกับความกังวลในภาวะเศรษฐกิจถดถอยยังมีอยู่
• ปัจจัยสนับสนุนให้ราคาน้ามันยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ย 5 ปีในอดีต
การเปิดประเทศของจีนส่งเสริมการใช้น้ามัน ภาวะ Supply ที่มี
ความไม่แน่นอนสูง และกลุ่ม OPEC+ ที่ประกาศลดกาลังการผลิต
แบบสมัครใจ 3.66 ล้านบาร์เรลต่อวัน
• ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) เริ่มชะลอตัว เนื่องจากความ
ต้องการสินค้าสาเร็จรูปที่ต้องใช้ Propane เป็น Feedstock
เริ่มมีความชะลอตัวของ Demand
• อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของโรง PDH ที่ต้องใช้ Propane
เป็นวัตถุดิบ มีแผนที่จะเพิ่มกาลังการผลิตอย่างมากในปีนี้ จึงเป็น
ความเสี่ยงที่ทาให้ราคา Propane จะปรับตัวลงได้ยาก
• ราคาก๊าซฯ ยังอยู่ในระดับต่าเนื่องจากเป็นช่วง Shoulder
season และอุปสงค์ในยุโรปลดลงจากความพยายามลดการใช้
ก๊าซฯ อย่างไรกีดี ในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ คาดว่าราคาก๊าซฯ จะดีด
กลับสูงขึ้นอีกครั้ง จากการฟื้นตัวของภาคผลิตในจีน ความต้องการ
ใช้ไฟฟ้าที่มากขึ้นในช่วงหน้าร้อน และความต้องการใช้ก๊าซฯ
เพื่อ Heating ในช่วงหน้าหนาว ขณะที่อุปทานก๊าซฯ ยังไม่สามารถ
ขยายตัวตามได้ทัน ทาให้ภาวะอุปทานตึงตัวในตลาดก๊าซฯ โลก
จะยังมีอยู่
26
อัตราเงินเฟ้อไทยขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะราคาสินค้าพลังงานที่ชะลอตัวลงมากจากราคาพลังงาน
โลกและมาตรการรัฐ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์
แหล่งที่มาการขยายตัวของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : ดัชนี (2019 = 100)
ระดับราคาเพิ่มขึ้น 0.2% ในเดือน เม.ย. เทียบเดือน มี.ค. 2023
-2%
0%
2%
4%
6%
8%
Jan-21
Feb-21
Mar-21
Apr-21
May-21
Jun-21
Jul-21
Aug-21
Sep-21
Oct-21
Nov-21
Dec-21
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
2022f
Core contribution
Energy contribution
Raw food contribution
Headline
Core
คาดปัจจัยฐานที่เพิ่มขึ้นมาก
ตั้งแต่เดือนพ.ค.จะทาให้เงินเฟ้อ
ขยายตัวชะลอลงชัดเจน 205
รายการ
97
รายการ
128
รายการ
เช่น น้ามันเชื้อเพลิง (ยกเว้นดีเซล) ผักชี ต้นหอม
ผักคะน้า ไข่ไก่ ส้มเขียวหวาน มังคุด เงาะ ถั่วฝักยาว
กาแฟผงสาเร็จรูป ปลาทู
เช่น เนื้อสุกร ผักบุ้ง กระเทียม มะเขือเทศ แตงกวา
ผักกาดขาว น้ามันพืช น้ายาระงับกลิ่นกาย
ค่าธรรมเนียมผ่านทางพิเศษ
เช่น รองเท้าผ้าใบบุรุษ รถจักรยานยนต์ นิตยสารรายเดือน
ค่าใบอนุญาตขับขี่ ค่าบริการล้างรถยนต์ ค่าบริการจอดรถ
ค่าโดยสารรถไฟ ก๊าซหุงต้ม
%YOY Share 2022 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 YTD
รวมทุกรายการ 100% 6.1% 5.0% 3.8% 2.8% 2.7% 3.6%
อาหารสด 20.6% 6.8% 7.3% 7.1% 6.7% 5.5% 6.7%
พลังงาน 12.4% 24.5% 11.1% 7.8% 2.4% 3.3% 6.0%
ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 67.1% 2.5% 3.0% 1.9% 1.7% 1.7% 2.1%
กกต. มีมติ (15 พ.ค. 2023) เห็นชอบให้กระทรวงพลังงานใช้งบกลางเพื่อให้ส่วนลดจากการ
เพิ่มขึ้นของอัตราค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft) เดือน พ.ค.-ส.ค. 2023 ภายในกรอบวงเงิน
รวม 10,464 ล้านบาท ตามที่คณะรัฐมนตรีเสนอ
27
เศรษฐกิจไทยในระยะสั้นจะต้องเผชิญความไม่แน่นอนจากรูปแบบของการจัดตั้งรัฐบาล
สาหรับในระยะปานกลางความยั่งยืนทางการคลังเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญ เพราะนโยบายหาเสียง
ส่วนใหญ่ใช้เงินมาก แต่ที่มาของเงินและผลบวกต่อเศรษฐกิจในระยะยาวยังไม่ชัดเจน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, พรรคเพื่อไทย, พรรคก้าวไกล, พรรคพลังประชารัฐ, พรรครวมไทยสร้างชาติ, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย และ BBC ประเทศไทย
พรรคหลัก ตัวอย่างนโยบายหาเสียง (ล้านบาท) ความเสี่ยงทางการคลัง แหล่งที่มาของเงิน
1. ก้าวไกล
รวม 1,288,610
ปานกลาง
• แหล่งที่มาของเงินชัดเจนและละเอียดที่สุด
ไม่ใช้เงินนอกงบประมาณ
• เสี่ยงถูกต่อต้าน เช่น ตัดงบกองทัพ เก็บภาษีบางชนิด
สวัสดิการก้าวหน้า (ต่อปี) 650,000
จังหวัดจัดการตนเอง (ต่อปี) 200,000
2. เพื่อไทย รวม 1,770,870
สูง
• แหล่งที่มาของเงินชัดเจนพอควร ใช้งบสูงสุด
• คานวณบนข้อสมมติตัวคูณการคลังและการเติบโตของ
เศรษฐกิจที่สูงไป
กระเป๋าเงินดิจิทัล 560,000
บริหารจัดการน้า 500,000
3. ภูมิใจไทย
รวม 1,867,622
ปานกลาง - สูง
• เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ใช้เงินจาก PPP เป็นหลัก
• อาจใช้เงินนอกงบประมาณหรือกู้เงินเพิ่มเติม โดยเฉพาะ
โครงการเงินกู้ฉุกเฉิน 50,000 บาท โครงการพักหนี้ 3 ปี
เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ 1,700,000
ประกันชีวิตผู้สูงอายุ (ปีละ) 37,098
4. พลังประชารัฐ
รวม 996,266
สูง
• แหล่งที่มาของเงินไม่ชัดเจน
• การยกเว้นเก็บภาษีน้ามันและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะทาให้
รัฐสูญรายได้มาก และต้องกู้เงินเพื่อชดเชย
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (ต่อปี) 495,658
กองทุนประชารัฐ 300,000
28
SCB EIC คาดว่า กนง. จะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 จากแนวโน้ม
เศรษฐกิจไทยที่เติบโตต่อเนื่อง และแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังมีอยู่
หมายเหตุ : Terminal rate ประเมินจากการจาลองสถานการณ์การปรับดอกเบี้ยนโยบายรูปแบบต่าง ๆ และเลือกรูปแบบที่ให้ Loss Function ของธนาคารกลางต่าสุด โดย Loss Function คานวนจากการถ่วงน้าหนักระหว่างการควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในกรอบเป้าหมาย
(Inflation gap) และอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับการเติบโตในระดับศักยภาพ (Output gap)
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย และ Bloomberg
คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย โดย SCB EIC
หน่วย : %
อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงของไทย (Real policy rate)
หน่วย : %
1.75
2
2.5 2.5 2.5 2.5 2.5 2.5
0
0.5
1
1.5
2
2.5
Q1/2023 Q2/2023 Q3/2023 Q4/2023 Q1/2024 Q2/2024 Q3/2024 Q4/2024
SCB EIC New baseline Old baseline
1.75
2.5
-1.1
-8
-6
-4
-2
0
2
4
Jan-19
May-19
Sep-19
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
Sep-23
Policy rate
Real policy rate
SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในการ
ประชุมเดือน ก.ย. ซึ่งเป็นระดับที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับศักยภาพและอัตราเงินเฟ้อเป็นไป
ตามกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของ ธปท. โดยจะคงไว้ในระดับดังกล่าวให้เกิดกลไกการส่งผ่านไปสู่ระบบ
เศรษฐกิจต่อไป
อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริง (Real policy rate) ของไทยในปัจจุบันยังคงติดลบ การที่อัตราดอกเบี้ย
ที่แท้จริงอยู่ในระดับต่าเกินไปจะก่อให้เกิดความไม่สมดุลในระบบเศรษฐกิจ และสะสมความเสี่ยงด้าน
เสถียรภาพระบบการเงินในระยะยาว SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปสู่ระดับที่ทาให้
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกลับมาเป็นบวก
29
เงินบาทแข็งค่าเร็วในเดือนที่ผ่านมาจากตัวเลขเศรษฐกิจไทยออกมาดีกว่าคาด การเลือกตั้งไทยที่ผ่านไปด้วยดี
และเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า ในไตรมาส 2 คาดว่าเงินบาทจะเคลื่อนไหว Sideway up ในกรอบ 33.20-34.80
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB FX จากข้อมูลของ Bloomberg ThaiBMA และ SET
การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พ.ค. 2023)
Credit Default Swap ของสหรัฐฯ อายุ 1 ปี
หน่วย : ดัชนี (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พ.ค. 23)
-0.9%
0.0%
0.9% 1.4%
-10%
-5%
0%
5%
10%
Korea
Japan
Malaysia
China
Philippines
Taiwan
India
Vietnam
Dollar
index
Thailand
Europe
Indonesia
MTD
YTD
เงินบาทผันผวนสูงเดือน พ.ค. โดยช่วงครึ่งเดือน
แรกแข็งค่าขึ้น ก่อนปรับอ่อนค่าลงหลังเลือกตั้ง CDS ของสหรัฐฯ ปรับ
สูงขึ้นเร็ว และสูงกว่า
ช่วงที่เกิดความวิตก
เรื่อง Debt ceiling
ครั้งก่อนในปี 2011
และ 2013 ทาให้เงิน
ดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า
เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนที่ผ่านมาแข็งค่าเร็วกว่าที่เคยประเมินไว้ เนื่องจาก
• ตัวเลขเศรษฐกิจไทยไตรมาส 1 ออกมาดีกว่าคาด ทั้งการส่งออก ดุลบัญชีเดินสะพัด และ GDP
• เงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า จากประเด็น Debt ceiling และ Banking turmoil ในสหรัฐฯ
• หลังการเลือกตั้งยังไม่มีความชัดเจนในการจัดตั้งรัฐบาล เงินทุนเคลื่อนย้ายยังไหลออกจากตลาดหุ้นไทย
ส่งผลให้เงินบาทอ่อนค่า
ในไตรมาส 2 คาดว่าเงินบาทจะเคลื่อนไหว Sideway up ในกรอบ 33.20-34.80 เนื่องจาก Fed จะไม่ลดดอกเบี้ย
ตามที่ตลาด Price-in ซึ่งจะกดดันให้เงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่า อย่างไรก็ดี ดุลบัญชีเดินสะพัดไทยที่กลับมาเกินดุล
เร็วกว่าจะกดดันให้บาทแข็งค่าและทรงตัว Sideway
ณ สิ้นปีคาดว่าเงินบาทจะอยู่ที่ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย
ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่จะปรับดีขึ้น และเงินดอลลาร์สหรัฐที่คาดว่าจะกลับมาอ่อนค่าลง
เงินทุนเคลื่อนย้ายสู่ตลาดการเงินไทย
หน่วย : พันล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พ.ค. 2023)
-130
-80
-30
20
70
120
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Equity market Bond market
Bn THB YTD
Equity -71.6
Bond +5.9
30
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CEIC
ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน่วย 2021 2022
2023F
ณ พ.ค.
GDP %YOY 1.6 2.6 3.9
การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.6 6.3 3.9
การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.7 0.0 -1.5
การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.0 5.1 3.0
การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.4 -4.9 2.2
มูลค่าส่งออกสินค้า (USD BOP basis) %YOY 19.2 5.5 1.2
มูลค่านาเข้าสินค้า (USD BOP basis) %YOY 27.7 15.3 0.9
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ล้านคน 0.4 11.2 30.0
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป %YOY 1.2 6.1 2.7
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.4
ราคาน้ามันดิบ Brent USD/Brl. 70.5 100.9 78.0
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นปี) % 0.5 1.25 2.5
เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (สิ้นปี) THB/USD 33.2 34.6 32-33
• การฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนเร็วและแรงกว่าคาด
• เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวดีกว่าคาด
• การฟื้นตัวต่อเนื่องของการบริโภค
• นโยบายควบคุม/จากัดการส่งออกสินค้าของประเทศคู่แข่ง
ปัจจัยสนับสนุน
• ปัญหา Geopolitics รุนแรงขึ้น
กระทบ Global supply chain และการส่งออก
• ปัญหาวิกฤตเสถียรภาพระบบการเงินโลกที่อาจลุกลาม
• นโยบายการเงินโลกตึงตัวแรงขึ้น จากเงินเฟ้อโลกลดลงช้า
• หนี้ครัวเรือนกลับมาเร่งตัวกดดันการบริโภค
• เงินเฟ้อสูง กระทบค่าครองชีพและต้นทุนธุรกิจ
• การเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ กระทบการใช้จ่ายภาครัฐ
• การเกิดภัยแล้งจากปรากฏการณ์เอลนีโญ กระทบต่อผลผลิตภาคเกษตร
ปัจจัยเสี่ยง
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจับตา
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจับตา

More Related Content

Similar to เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจับตา

EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621SCBEICSCB
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfOutlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfSCBEICSCB
 
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfSETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfanyarat3
 
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...SCBEICSCB
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdfFINNOMENAMarketing
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 221
FINNOMENA Weekly Market Insight 221FINNOMENA Weekly Market Insight 221
FINNOMENA Weekly Market Insight 221Tanh855114
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdfFINNOMENAMarketing
 

Similar to เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจับตา (20)

EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfOutlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
 
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfSETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
 
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 221
FINNOMENA Weekly Market Insight 221FINNOMENA Weekly Market Insight 221
FINNOMENA Weekly Market Insight 221
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
 

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfSCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
 

เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจับตา

  • 1. SCB EIC Monthly เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปีขยายตัว 2.7% เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อน โดยมีภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชนเป็นแรงสนับสนุนสาคัญ SCB EIC คาดเศรษฐกิจไทยจะกลับไปสู่ระดับก่อนวิกฤติโควิด ในช่วงกลางปีจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวดีต่อเนื่อง Issue : MAY 2023
  • 2. 2 Executive summary SCB EIC ประเมินเศรษฐกิจโลกปี 2023 จะไม่เข้าสู่ภาวะถดถอย แต่มีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น ปัญหาเสถียรภาพระบบการเงินและความไม่แน่นอนในการปรับ เพดานหนี้ของรัฐบาลสหรัฐฯ กระทบต่อความเชื่อมั่นในตลาดการเงินโลก เศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวชะลอลงในช่วงต้นไตรมาส 2 เศรษฐกิจยุโรปที่ยังอ่อนแอแม้จะหลีกเลี่ยง Recession ได้ เงินเฟ้อโลกมีแนวโน้มปรับลดลงต่อเนื่อง จากราคาพลังงานโลกที่ลดลงและอุปทานคอขวดที่ปรับดีขึ้นใกล้ระดับ Pre-COVID ขณะที่เงินเฟ้อพื้นฐานยังมีแนวโน้มปรับลดลงได้ช้า ทั้งนี้คาดว่า Fed จะยุติการขึ้นดอกเบี้ยและคงอัตราดอกเบี้ยไว้ตลอดปี 2023 ขณะที่ ECB และ BOE จะปรับขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง ครั้งละ 25 BPS สู่ระดับ 3.75% และ 5% ตามลาดับ เนื่องจากภูมิภาคยุโรปเผชิญแรงกดดันเงินเฟ้อรุนแรงกว่า สาหรับ BOJ มีแนวโน้มปรับนโยบายการเงินให้ผ่อนคลายน้อยลงในปีนี้ จากแรงกดดันเงินเฟ้อที่สูงขึ้น โดยคาดว่า จะปรับนโยบาย YCC ในเดือน ก.ค. เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปีขยายตัว 2.7% เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อน โดยมีภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนเป็นแรงสนับสนุนสาคัญ SCB EIC คาดเศรษฐกิจไทยจะกลับ ไปสู่ระดับก่อนวิกฤติโควิดในช่วงกลางปีจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวดีต่อเนื่อง จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเร่งตัวตามการกลับมาของนักท่องเที่ยวจีน ขณะที่นักท่องเที่ยวไทยมีแนวโน้ม ชะลอตัวเล็กน้อยเนื่องจากเข้าสู่ช่วง Low season นอกจากนี้ การลงทุนและภาคการผลิตมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องในไตรมาสที่ 2 อย่างไรก็ดี SCB EIC ยังคงมุมมองมูลค่าการ ส่งออกปีนี้ขยายตัว 1.2% โดยมีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้นจากเศรษฐกิจโลก โดยคาดว่าการส่งออกในไตรมาส 2 จะยังหดตัวจากปัจจัยฐาน แต่ในครึ่งหลังของปีจะเริ่มขยายตัวตามอุปสงค์ จีนที่ปรับดีขึ้น ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มเกินดุลในปีนี้ สาหรับเงินเฟ้อทั่วไปคาดว่าจะขยายตัวลดลงอย่างชัดเจนในเดือน พ.ค. จากราคาพลังงานที่ยังชะลอตัวและผลจาก ปัจจัยฐาน แต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงในระยะต่อไป ทั้งนี้ความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงในประเทศที่ต้องติดตาม แม้ความน่าจะเป็นที่ฝ่ายเสรีนิยมจะได้จัดตั้งรัฐบาลสูง ขึ้นมากหลังทราบผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ แต่ยังมีความไม่แน่นอนสูง SCB EIC คาดนโยบายการเงินไทยจะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 ตามแนวโน้มเศรษฐกิจไทยที่ขยายตัวต่อเนื่องและแรงกดดันเงินเฟ้อ ที่ยังมี แม้จะกลับมาอยู่ในกรอบได้แล้ว โดยเงินเฟ้อยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากการส่งผ่านต้นทุนและแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ สาหรับเงินบาทคาดว่าจะกลับมาแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่จะปรับดีขึ้น และเงินดอลลาร์สหรัฐที่คาดว่าจะกลับมาอ่อนค่าลงโดยคาดว่าเงินบาทจะแข็งค่าอยู่ที่ 32-33 ณ สิ้นปีนี้
  • 3. 3 เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากแรงหนุนในภาค บริการหลังยกเลิกมาตรการโควิดเพิ่มเติม เงินเฟ้อมีแนวโน้มสูงตามตลาดแรงงานที่ตึงตัว ขณะที่ BOJ เริ่มส่งสัญญาณแรงกดดันเงินเฟ้อ เพิ่มขึ้น SCB EIC คาดว่า BOJ จะปรับนโยบาย YCC ในเดือน ก.ค. เศรษฐกิจยูโรโซน ยังมีแนวโน้มหลีกเลี่ยง Recession ได้ แต่การเติบโต อ่อนแอมาก หลังเห็นผลส่งผ่านจากการขึ้นดอกเบี้ย ต่อเศรษฐกิจจริงมากขึ้น เงินเฟ้อยุโรปยังทรงตัวสูง SCB EIC จึงคาดว่า ECB และ BOE จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง (ครั้งละ 25 BPS) สู่ 3.75% และ 5% ตามลาดับ และคงไว้ตลอดปี เศรษฐกิจโลกปี 2023 จะไม่เข้าสู่ภาวะถดถอย แต่เผชิญความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจสหรัฐฯ ปัจจัยกดดันเพิ่มขึ้นจากภาวะสินเชื่อตึงตัว สภาพคล่องลดลง และความไม่แน่นอนของ Debt-ceiling เงินเฟ้อสหรัฐฯ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง SCB EIC จึงคาดว่า Fed จะหยุดขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยและคงไว้ตลอดปี เศรษฐกิจจีน เศรษฐกิจจีนส่งสัญญาณขยายตัวชะลอลงในเดือน เม.ย. ตามอานิสงส์จากการผ่อนคลายนโยบาย Zero-COVID ที่เริ่มหมดไป SCB EICคาดว่าเศรษฐกิจจีนจะเติบโตแข็งแกร่งในปีนี้ จากปัจจัยฐานต่าและการฟื้นตัวของภาคบริการ แต่การฟื้นตัวในแต่ละภาคเศรษฐกิจไม่เท่าเทียมกัน
  • 4. 4 -6 -4 -2 0 2 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 FCI Global FCI US FCI EU เศรษฐกิจโลกทยอยปรับดีขึ้นในไตรมาส 2 แต่ตัวเลขยังต่ากว่าคาด การฟื้นตัวของภาคการผลิตและบริการแตกต่างกัน มากขึ้น ดัชนีความทุกข์ยากยังอยู่สูงกว่าก่อนโควิดมาก ทั้งนี้ปัจจัยเสี่ยงเริ่มคลี่คลายลงบ้าง เช่น ภาวะการเงินตึงตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, S&P Global และ Bloomberg ภาวะการเงินตึงตัวน้อยลง EU เผชิญแรงกดดันจากการ ขึ้นดอกเบี้ยที่สูงขึ้น ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ของโลก หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น, ปรับฤดูกาล ดัชนีภาวะการเงิน (Financial Condition Index) หน่วย : ดัชนี ดัชนีความทุกข์ยาก (Misery Index) หน่วย : %, ผลรวมของอัตราเงินเฟ้อ (%YOY) และอัตราการว่างงาน Economic Surprise Index (ESI) จัดทาโดย Citi Group หน่วย : ดัชนี, < 0 หมายถึงว่าตัวเลขเศรษฐกิจที่ออกมาจริงแย่กว่าตัวเลขคาดการณ์ 45 50 55 60 Apr-20 Jan-21 Oct-21 Jul-22 Apr-23 Composite PMI Mfg PMI Services PMI 0 5 10 15 20 Mar-17 Jan-18 Nov-18 Sep-19 Jul-20 May-21 Mar-22 Jan-23 US EA Japan UK -80 -40 0 40 80 120 160 -50 -25 0 25 50 75 100 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Eurozone US Global EMs Japan China (RHS)
  • 5. 5 เงินเฟ้อหลายประเทศเริ่มชะลอลงกลับเข้าใกล้กรอบ และข้อมูลความถี่สูงชี้ว่าเงินเฟ้อมีแนวโน้มชะลอลงต่อ ช่วยลดแรงกดดันที่ธนาคารกลางต้องเร่งขึ้นดอกเบี้ยขนาดใหญ่ได้ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, S&P Global, CEIC และ Bloomberg อัตราเงินเฟ้อทั่วไป : ในหลายประเทศลดลงเข้าใกล้กรอบของธนาคารกลางมากขึ้นแล้ว ส่งผลให้ แรงกดดันที่ธนาคารกลางทั่วโลกต้องเร่งขึ้นดอกเบี้ยมีน้อยลง หน่วย : %YOY Shanghai Containerized Freight Index : ต้นทุนค่าระวางเรือปรับลดลงใกล้ระดับ Pre Covid สะท้อนแรงกดดันเงินเฟ้อที่น้อยลงในระยะต่อไป หน่วย : ดัชนี, คานวนจากอัตราค่าระวาง 15 เส้นทาง ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ : ระยะเวลาส่งมอบสินค้า ปรับลดลงต่อเนื่อง สะท้อนอุปทานคอขวดปรับดีขึ้น หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น 30 40 50 60 2008 2011 2014 2017 2020 2023 ระยะเวลาขนส่งสินค้าปรับดีขึ้น 0 5000 10000 Jan feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2015-2019 avg 2021 2022 2023 0 2 4 6 8 10 12 14 UK EU Italy Germany Philippines Mexico France US India Canada Indonesia Brazil Spain S. Korea Japan Vietnam Thailand China Latest (Mar-Apr) Post-Covid Peak Official Target
  • 6. เผชิญปัจจัยกดดันมากขึ้น จากภาวะสินเชื่อที่ตึงตัวและสภาพคล่องที่ลดลง และความไม่แน่นอนเรื่อง Debt-ceiling เงินเฟ้อสหรัฐฯ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง SCB EIC จึงคาดว่า Fed จะหยุดขึ้นอัตราดอกเบี้ยและคงไว้ตลอดปี เศรษฐกิจสหรัฐฯ
  • 7. 7 เศรษฐกิจสหรัฐฯ เผชิญปัจจัยกดดันมากขึ้นจากภาวะสินเชื่อตึงตัวและสภาพคล่องลดลง ส่งผลต่อกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ความไม่แน่นอนของ Debt ceiling เป็นปัจจัยเสี่ยงกระทบความเชื่อมั่นในตลาดการเงิน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ FRED, Bloomberg และ U.S. Council of Economic Advisers สัดส่วนสถาบันการเงินที่เพิ่มความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อให้แก่ภาคธุรกิจปรับเพิ่มขึ้น หน่วย : % ยอดคงค้างสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ (Commercial Real Estate Loans : CRE) หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน หน่วย : % ผลกระทบทางเศรษฐกิจหากสหรัฐฯ ผิดนัดชาระหนี้ ประมาณการโดย U.S. Council of Economic Advisers • ภาวะสินเชื่อตึงตัวจะมีผลทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและเงินเฟ้อสหรัฐฯ ปรับชะลอลง เนื่องจากภาคธุรกิจ และครัวเรือนจะเข้าถึงสินเชื่อได้ยากขึ้น ทั้งนี้ SCB EIC คาดว่า เศรษฐกิจ US จะ Soft landing ได้ • สภาพคล่องในธนาคารขนาดเล็กลดลง ทาให้ธุรกิจ CRE เสี่ยงผิดนัดชาระหนี้มากขึ้น โดยธุรกิจ CRE มีแนวโน้ม Refinance ยากขึ้น ขณะที่อุปสงค์การเช่าพื้นที่ลดลงจะกระทบรายได้ของ CRE อีกด้วย • ความกังวล Debt-ceiling ส่งผลให้ Bond yield ระยะสั้น (โดยเฉพาะที่จะครบกาหนดในช่วง X-date) และ CDS ปรับสูงขึ้น หากสหรัฐฯ ผิดนัดชาระหนี้จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจมาก ทั้งนี้ SCB EIC คาดว่าสหรัฐฯ จะบรรลุข้อตกลงได้ก่อน Treasury จะผิดนัดชาระหนี้ ผลกระทบ Short default Protracted Real GDP -0.6% -6.1% Employment -0.5 millions -8.3 millions Unemployment +0.3% +5% -2 0 2 4 6 Jan-20 Jul-20 Jan-21 Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 83.6 70.0 46.7 -40 0 40 80 Jan-06 Oct-06 Jul-07 Apr-08 Jan-09 Oct-09 Jul-10 Apr-11 Jan-12 Oct-12 Jul-13 Apr-14 Jan-15 Oct-15 Jul-16 Apr-17 Jan-18 Oct-18 Jul-19 Apr-20 Jan-21 Oct-21 Jul-22 Apr-23 สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดกลาง สินเชื่อธุรกิจขนาดเล็ก 0 1000 2000 3000 Jan-06 Oct-06 Jul-07 Apr-08 Jan-09 Oct-09 Jul-10 Apr-11 Jan-12 Oct-12 Jul-13 Apr-14 Jan-15 Oct-15 Jul-16 Apr-17 Jan-18 Oct-18 Jul-19 Apr-20 Jan-21 Oct-21 Jul-22 Apr-23 Small banks Large-middle banks 67% 33% เกือบ 70% ของ CRE loans ปล่อยโดยธนาคารขนาดเล็ก 1-month Treasury bill yield has spiked since the start of May
  • 8. 8 เงินเฟ้อสหรัฐฯ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะเงินเฟ้อพื้นฐานภาคบริการ (ไม่รวมที่อยู่อาศัย) SCB EIC จึงคาดว่า Fed มีแนวโน้มจะคงอัตราดอกเบี้ยไว้ตลอดปี ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg Contribution ในอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯ (Consumer price index : CPI) หน่วย : %YOY ดัชนีภาวะการเงินสหรัฐฯ (Chicago Fed National Financial condition index) หน่วย : ดัชนี (บวกคือตึงตัวเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในอดีต) 4.9 -1 2 5 8 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 Core CPI CPI: Energy CPI: Food Headline CPI อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานภาคบริการ (ไม่รวมที่อยู่อาศัย) หน่วย : %YOY หน่วย : %MOM 0.1 5.5 5.8 5.1 0 0.3 0.6 0.9 3 4 5 6 7 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 CPI Core service ex-housing (RHS) Core CPI CPI Core service ex-housing • เงินเฟ้อทั่วไปมีทิศทางชะลอลงต่อเนื่อง ราคาพลังงานยังเป็นปัจจัยหลักที่กดเงินเฟ้อ • เงินเฟ้อพื้นฐานภาคบริการ (ไม่รวมที่อยู่อาศัย) ซึ่ง Fed ให้ความสาคัญเริ่มชะลอลงชัดเจน สะท้อน อุปสงค์ที่ลดความร้อนแรงลง ขณะที่ Credit condition ตึงตัวต่อเนื่องส่งผลให้ Fed มีแนวโน้มหยุด ขึ้นดอกเบี้ยในเดือน มิ.ย. • อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อพื้นฐานยังลดลงได้ช้า โดยเฉพาะเงินเฟ้อในกลุ่ม Labor-sensitive services ที่ยัง ขยายตัวตามตลาดแรงงาน ทาให้เงินเฟ้อจะยังอยู่สูงกว่าเป้าหมายที่ 2% ของ Fed ในปีนี้ ส่งผลให้ Fed มีแนวโน้มคงดอกเบี้ยไว้ตลอดปี -1 -0.5 0 0.5 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Credit condition Risk condition FCI
  • 9. มีแนวโน้มหลีกเลี่ยง Recession ได้ แต่การเติบโตจะอ่อนแอมาก จากผลของการขึ้นดอกเบี้ยที่ส่งผ่านไปยังเศรษฐกิจมากขึ้น เงินเฟ้อจะยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะเงินเฟ้อพื้นฐาน SCB EIC คาดว่า ECB และ BOE จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง (ครั้งละ 25 BPS) สู่ 3.75% และ 5% ตามลาดับ และคงไว้ตลอดปี เศรษฐกิจยุโรป
  • 10. 10 เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโน้มหลีกเลี่ยง Recession ได้ แต่การเติบโตจะอ่อนแอมากจากผลของการขึ้นดอกเบี้ย ที่ส่งผ่านไปยังภาคเศรษฐกิจจริงมากขึ้น และเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มขยายตัวชะลอลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, S&P Global, CEIC และ Bloomberg ECB Bank Lending Survey : Loan Demand (Enterprises) : ในระยะต่อไปคาดว่าผลของการ ขึ้นดอกเบี้ยจะส่งผ่านไปยังภาคเศรษฐกิจจริงมากขึ้น สะท้อนจากคาดการณ์ความต้องการกู้ยืมของภาค ธุรกิจที่มีแนวโน้มชะลอลงต่อ คาดว่าจะกระทบการลงทุนและกิจกรรมภาคธุรกิจในระยะต่อไป หน่วย : Net percentages of banks reporting an increase in demand การเติบโตของเศรษฐกิจ EU27 และ EA19 หน่วย : %QOQ, Seasonally and calendar adjusted -0.5 0.5 1.5 2.5 1Q2021 2Q2021 3Q2021 4Q2021 1Q2022 2Q2022 3Q2022 4Q2022 1Q2023 EU27 EA19 -50 -25 0 25 50 75 1Q2019 4Q2019 3Q2020 2Q2021 1Q2022 4Q2022 3Q2023 Demand Expected Demand ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของยูโรโซน : สะท้อนการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง แม้ภาค การผลิตจะยังหดตัวตามภาวะเศรษฐกิจและอุปสงค์โลก โดยเฉพาะภาคสินค้าคงทนที่ชะลอลง หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น, ปรับฤดูกาล Decreasing in loan demand 40 45 50 55 60 65 Jul-20 Jun-21 May-22 Apr-23 Composite Service Manufacturing No technical recession
  • 11. 11 เงินเฟ้อในยุโรปจะยังทรงตัวในระดับสูง นโยบายการเงินจึงตึงตัวต่อเนื่อง โดย SCB EIC คาดว่า ECB และ BOE จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 2 ครั้ง (ครั้งละ 25 BPS) สู่ระดับ 3.75% และ 5% ตามลาดับ และคงไว้ตลอดปี ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก Euro Stat, ECB และ BOE อัตราเงินเฟ้อของยูโรโซนและสหราชอาณาจักร หน่วย : % YOY ECB Consumer Expectations Survey: Inflation expectation (May-23) หน่วย : % Change UK MPC Forecasts of Annual CPI Inflation หน่วย : %YOY 2 4 6 8 10 12 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 EA20 Headline CPI UK Headline CPI EA20 Core CPI UK Core CPI 0 5 10 Mar-20 Sep-20 Mar-21 Sep-21 Mar-22 Sep-22 Mar-23 3 years ahead over the next 12 months 0 5 10 1Q2023 2Q2023 3Q2023 4Q2023 1Q2024 2Q2024 3Q2024 4Q2024 1Q2025 2Q2025 3Q2025 4Q2025 1Q2026 2Q2026 Feb Forecast May Forecast inflation target
  • 12. มีสัญญาณขยายตัวชะลอลงในเดือน เม.ย. หลังอานิสงส์จากการผ่อนคลายนโยบาย Zero-COVID ทยอยหมดไป และปัจจัยความเปราะบางต่าง ๆ ที่ยังมีอยู่ อย่างไรก็ดี SCB EIC ยังคาดว่าเศรษฐกิจจีนจะเติบโตแข็งแกร่งในปีนี้ จากปัจจัยฐานต่าและการฟื้นตัวของภาคบริการ เศรษฐกิจจีน
  • 13. 13 10.6 18.4 -15 -10 -5 0 5 10 15 20 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 July-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Mar-23 Apr-23 เศรษฐกิจจีนส่งสัญญาณขยายตัวชะลอลงในเดือน เม.ย. หลังอานิสงส์จากการเปิดประเทศทยอยหมดไป อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจในภาพรวมมีแนวโน้มแข็งแกร่งกว่าปีที่แล้ว โดยเฉพาะการใช้จ่ายภาคบริการ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, S&P Global, National Bureau of Statistics และ General Administration of Customs อัตราการขยายตัวของยอดค้าปลีก หน่วย : %YOY อัตราการขยายตัวของการค้าจีน (รูปดอลลาร์สหรัฐ) หน่วย : %YOY ดัชนี Caixin PMI หน่วย : ดัชนี (>50 สะท้อนการขยายตัว) 35 40 45 50 55 60 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 Composite Manufacturing Services -25 -20 -15 -10 -5 0 5 10 15 20 25 Feb-22 Apr-22 Jun-22 Aug-22 Oct-22 Dec-22 Feb-23 Apr-23 Exports Imports เศรษฐกิจจีนในภาพรวมยังมีความแข็งแกร่งเทียบกับปี 2022 สะท้อนจากดัชนี Composite PMI ที่ขยายตัวสูง ซึ่งมาจากการขยายตัวในภาคบริการเป็นหลัก ขณะที่ยอดค้าปลีกพลิกกลับมาขยายตัวสูงสุดตั้งแต่ต้นปี 2021 และการส่งออกเริ่มฟื้นตัว อย่างไรก็ดี มีสัญญาณการชะลอตัวในเดือน เม.ย. ซึ่งเป็นผลจากอานิสงส์การผ่อนคลายนโยบาย Zero-COVID ที่เริ่มหมดไป ประกอบกับความเสี่ยงต่าง ๆ ในเศรษฐกิจส่งผลให้การฟื้นตัวไม่เท่าเทียมกัน 2023 ดัชนี PMI ชะลอตัว แต่ยังคง ขยายตัว ยกเว้นภาคการผลิต ยอดค้าปลีกพลิกกลับมา ขยายตัวแข็งแกร่ง การส่งออกเริ่มฟื้นตัว แม้จะชะลอลง
  • 14. 14 การฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนมีความแตกต่างกันในแต่ละภาคเศรษฐกิจ สะท้อนการฟื้นตัวยังค่อยเป็นค่อยไป และมีความเปราะบาง นโยบายการเงินการคลังจึงมีแนวโน้มที่จะอยู่ในระดับผ่อนคลายต่อไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, National Bureau of Statistics และ Ministry of Culture and Tourism 1. ภาคอุตสาหกรรมฟื้นตัวช้า กาไรบริษัทอุตสาหกรรมจีนยังต่า ขณะที่ภาคบริการฟื้นตัวเร็วกว่า โดยเฉพาะการท่องเที่ยวภายในประเทศ จากปัจจัยฐานต่าและ Pent-up demand กาไรของบริษัทอุตสาหกรรมจีน หน่วย : พันล้านหยวน หน่วย : %YOY จานวนและรายได้จากนักท่องเที่ยวภายในประเทศ หน่วย : คน-ครั้ง, ล้านหยวน -100 -50 0 50 0 500 1000 1500 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Industrial Profits %Change (RHS) 0 1,000,000 2,000,000 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 Domestic tourists Domestic tourism revenue 2. อัตราการว่างงานของกลุ่มอายุน้อยพุ่งสูงขึ้นแม้อัตราโดยรวมลดลง 3. ภาคอสังหาฯ ยังหดตัว แม้จะเริ่มปรับดีขึ้นบ้าง อัตราการว่างงานตามในเขตเมืองตามกลุ่มอายุ หน่วย : % ตัวชี้วัดภาคอสังหาฯ จีน หน่วย : %YOY 5.2 20.4 0 5 10 15 20 25 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 Overall Age 16-24 -60 -40 -20 0 20 40 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 Real estate investment Floor space started Floor space sold
  • 15. มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากแรงหนุนในภาคบริการหลังยกเลิกมาตรการโควิดเพิ่มเติม ภาคการผลิตมีแนวโน้มผ่านจุดต่าสุดแล้ว และความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ในทิศทางฟื้นตัว เงินเฟ้อมีแนวโน้มสูงตามตลาดแรงงานที่ตึงตัว อีกทั้ง BOJ เริ่มส่งสัญญาณถึงแรงกดดันเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นแล้ว SCB EIC คาดว่า BOJ จะปรับนโยบาย YCC ให้ผ่อนคลายน้อยลงในเดือน ก.ค. เศรษฐกิจญี่ปุ่น
  • 16. 16 เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง จากแรงหนุนในภาคบริการที่จะเร่งตัวขึ้นอีกหลังยกเลิกมาตรการโควิด เพิ่มเติม ภาคการผลิตมีแนวโน้มผ่านจุดต่าสุดแล้ว ขณะที่ความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังต่าแต่มีทิศทางฟื้นตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จาก JP Morgan, BOJ Tankan, S&P Global และ CEIC Japan visitor arrivals หน่วย : ล้านคนต่อเดือน ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค หน่วย : ดัชนี, ปรับฤดูกาล ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของญี่ปุ่น หน่วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณ์ดีขึ้น, ปรับฤดูกาล 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 Total Asia Ex. China US, Europe, Aus, NZ others Mainland China 2019 avg Mar-23 55.4 30 35 40 45 50 55 60 Apr-20 Oct-20 Apr-21 Oct-21 Apr-22 Oct-22 Apr-23 Manufacturing Service Composite 15 20 25 30 35 40 45 50 55 Jan-15 Oct-15 Jul-16 Apr-17 Jan-18 Oct-18 Jul-19 Apr-20 Jan-21 Oct-21 Jul-22 Apr-23 Overall Index Livelihood Index Income Growth Employment Willingness to buy durables goods 70% ของ 2019 avg ฟื้นตัวใกล้เคียงปี 2019 แล้ว 10% ของ 2019 avg • ในระยะต่อไป จานวนผู้มาเยือนจะเร่งตัวขึ้น หลังญี่ปุ่นยกเลิก มาตรการควบคุมโควิดข้ามพรมแดนเพิ่มเติมปลาย เม.ย. เช่น แสดงหลักฐานการฉีดวัคซีนและผลตรวจโควิดก่อนเดินทาง • จานวนผู้มาเยือนจากจีนมีแนวโน้มเร่งตัวตั้งแต่ไตรมาส 2 เช่นกัน หลังญี่ปุ่นยกเลิกมาตรการสุ่มตรวจผู้มาเยือนจากจีนด้วย • Service PMI ทาสถิติสูงสุดนับตั้งแต่เริ่มสารวจในปี 2007 ขยายตัว 55.4 ในเดือน เม.ย. จากการใช้จ่ายการเดินทาง การพักผ่อน และการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ตามอุปสงค์ที่ฟื้นตัวหลังโควิด • ภาคการผลิตปรับดีขึ้น แม้ภาคการผลิตและคาสั่งซื้อยังหดตัว แต่หดตัวช้าสุดในรอบ 9 เดือน Supply chain มีทิศทางฟื้นตัว โดยระยะเวลา การรอคอยสินค้าปรับลดลง ต้นทุนปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราช้าสุดนับตั้งแต่ ส.ค. 2021 • ความเชื่อมั่นผู้บริโภคมีทิศทางฟื้นตัว จากความต้องการซื้อสินค้าคงทนและการจ้างงานที่ปรับดีขึ้น และค่าจ้างปีนี้ที่โตสูงกว่าปกติ
  • 17. 17 เงินเฟ้อญี่ปุ่นชะลอลงเล็กน้อย ในระยะต่อไปคาดว่าเงินเฟ้อจะยังอยู่ในระดับสูงจากตลาดแรงงานตึงตัว BOJ เริ่มส่งสัญญาณแรงกดดันเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะปรับ YCC ให้ผ่อนคลายน้อยลงในเดือน ก.ค. ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, BOJ, Bloomberg และ Goldman Sachs อัตราเงินเฟ้อและการเติบโตของค่าจ้าง หน่วย : %YOY ประมาณการอัตราเงินเฟ้อ โดย BOJ ณ เม.ย. 2023 หน่วย : %YOY คาดการณ์เงินเฟ้อของผู้บริโภค 12 เดือนข้างหน้า หน่วย : %ของผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด เงื่อนไขการจ้างงาน (Employment condition) สารวจโดย BOJ หน่วย : ดัชนี, < 0 บริษัทคิดว่าจานวนพนักงานมีไม่เพียงพอ -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 Mar-19 Sep-19 Mar-20 Sep-20 Mar-21 Sep-21 Mar-22 Sep-22 Mar-23 CPI Nominal wage: E >5 Nominal wage: E > 30 0 25 50 75 100 Jan-18 Oct-19 Jul-21 Apr-23 Go up < 2% Go up ≥ 2% -50 -40 -30 -20 -10 0 Dec-14 Jan-17 Feb-19 Mar-21 Apr-23 large (F) Medium (F) Small (F) บริษัทประเมินการขาดแคลนแรงงานรุนแรงขึ้น Forecast Periods CPI (ex. fresh food) CPI (ex. fresh food & energy) Fiscal Year 2023 2024 2025 2023 2024 2025 April (prev. Jan) 1.8 (1.6) 2.0 (1.8) 1.6 2.5 (1.8) 1.7 (1.6) 1.8 • เงินเฟ้อทั่วไปเดือน มี.ค. ชะลอลง จากการอุดหนุนราคา พลังงานของรัฐ ในระยะต่อไปเงินเฟ้อจะสูงอยู่จากตลาดแรงงาน ตึงตัว และการเติบโตของค่าจ้างที่สูงกว่าปกติในปีนี้ • BOJ ปรับเพิ่มประมาณการเงินเฟ้อในปีนี้และปีหน้า และประเมิน Upside risks ของเงินเฟ้อมีมากขึ้น แต่ยัง ประเมินว่าเงินเฟ้อในระยะปานกลางไม่ยั่งยืนที่ 2% สะท้อน จากประมาณการเงินเฟ้อปี 2025 ที่ต่าลงเหลือ 1.6% • ความเห็นแนวโน้มเงินเฟ้อของ MPC แตกต่างกันมากขึ้น โดย5 จาก8 เสียงกังวลว่าเงินเฟ้อมี Upsideriskมากขึ้น เทียบกับ การประชุมในเดือน มี.ค. ที่มีสัดส่วนนี้เพียง 2 จาก 8 เสียง • SCB EIC ประเมินว่า BOJ มีแนวโน้มปรับนโยบาย YCC ให้ผ่อนคลายน้อยลงในการประชุมเดือน ก.ค. (เดิมคาด มิ.ย.) พร้อมออกประมาณการเศรษฐกิจรอบใหม่
  • 19. 19 เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2023 ขยายตัว 2.7% โดยมีภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชน เป็นแรงสนับสนุนสาคัญ แหล่งที่มาของการขยายตัวของ Real GDP (Contribution to Contraction) Q1/2023 หน่วย : Percentage point ด้านการผลิต ด้านการใช้จ่าย ส่งออกบริการสุทธิ บริโภคเอกชน ลงทุนเอกชน ลงทุนภาครัฐ คลาดเคลื่อนสถิติ บริโภคภาครัฐ ส่งออกสินค้าสุทธิ เปลี่ยนแปลง สินค้าคงเหลือ Real GDP โรงแรมร้านอาหาร เกษตร สาขาการขนส่ง อื่น ๆ การขายส่งขายปลีก การเงิน สาขาการก่อสร้าง สาธารณูปโภค อุตสาหกรรม Real GDP ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 20. 20 SCB EIC คาดเศรษฐกิจไทยจะกลับไปสู่ระดับก่อนวิกฤติโควิดในช่วงกลางปี โดยภาพรวมเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวมาอยู่ ในระดับต่ากว่าวิกฤติโควิดราว -1.5% แล้ว ขณะที่ภาคบริการยังอยู่ต่ากว่าระดับก่อนวิกฤติเกือบ -40% เปรียบเทียบ GDP ไทยในปัจจุบันกับก่อนวิกฤติโควิด หน่วย : %เปรียบเทียบกับระดับก่อนวิกฤติโควิด (2019), คานวณด้วยวิธีการรวม GDP ในไตรมาสปัจจุบันกับ 3 ไตรมาสก่อนหน้า (Rolling 4 Quarters) -1.5 8.2 7.5 4.7 3.7 0.1 -39.8 3.1 -0.9 -3.6 -50 -40 -30 -20 -10 0 10 20 GDP Exports of Goods Private Consumption Public Investment Public Consumption Private Investment Exports of Services Agriculture Services Industrial Expenditure Approach Production Approach ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 21. 21 ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวได้ดีต่อเนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เร่งตัวตามการกลับมาของนักท่องเที่ยวจีน ขณะที่นักท่องเที่ยวไทยเที่ยวไทยมีแนวโน้มชะลอตัวเล็กน้อยเนื่องจากเข้าสู่ช่วง Low season นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทย หน่วย : ล้านคน จานวนผู้เยี่ยมเยือนไทย หน่วย : ล้านคน-ครั้ง Q3 Q3 2.9 Q1 Q3 3.1 5.5 Q2 2.5 6.5 Q1 6.8 2.5 3.6 Q2 7.9 Q3 Q4 5.4 1.6 Q1 6.7 Q2 1.5 9.0 Q4 Q2 6.0 Q4 Q1 3.5 5.3 7.0 7.7 Q1 6.1 Q2 F 10.8 Q4 10.4 0.3 0.5 6.5 9.7 2023 2021 2019 2020 2022 นักท่องเที่ยวจีน นักท่องเที่ยวต่างชาติอื่น Q3 5.1 Q2 Q4 Q3 63.4 Q1 Q2 Q4 Q1 Q2 Q3 54.7 Q4 Q1 Q2 55.4 Q1 Q4 Q1 Q2 F 45.2 57.9 51.2 64.0 40.4 32.5 26.4 9.6 4.0 31.8 46.1 48.2 50.2 58.4 Q3 2019 2020 2021 2022 2023 ผู้เยี่ยมเยือนไทย นักท่องเที่ยวต่างชาติยังคงฟื้นตัวได้ดีตามการประมาณการจากการเร่งตัวของนักท่องเที่ยวจีนเป็นหลัก โดยนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้าไทยแล้วกว่า 9 แสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 7 พ.ค. 2023) คนไทยเดินทางท่องเที่ยวในประเทศมีแนวโน้มชะลอตัวเล็กน้อย ด้วยสถานการณ์ในประเทศ กลับเข้าสู่ภาวะปกติและเข้าฤดูฝน ซึ่งเป็นช่วง Low season ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  • 22. 22 SCB EIC คงคาดการณ์มูลค่าการส่งออกปีนี้ที่ 1.2% แต่ประเมินเศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าไตรมาส 2 ส่งออกจะยังหดตัวจากปัจจัยฐาน แต่ครึ่งหลังของปีจะขยายตัวได้ตามอุปสงค์จีนที่ปรับดีขึ้น ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มเกินดุล มูลค่าการส่งออกไทย รายสินค้าและรายตลาดปรับดีขึ้น มูลค่าการค้าของจีน : การส่งออกจีนในเดือน มี.ค. ขยายตัวเป็นเดือนที่ 2 ที่ 8%YOY แต่การนาเข้า หดตัวแรง -7.8%YOY ทั้งนี้การนาเข้าจากไทยพลิกขยายตัวได้ 8.2% ครั้งแรกในรอบ 10 เดือน หน่วย : %YOY หน่วย : %YOY, (สัดส่วนในปี 2022) 2022 2022Q4 2023Q1 Jan-23 Feb-23 Mar-23 รวมทั้งหมด (100%) 5.5% -8.5% -4.5% -4.5% -4.7% -4.2% ไม่รวมทองคา (97.5%) 4.4% -8.3% -2.3% -4.4% -2.5% -0.4% เกษตรกรรม (9.3%) 2.2% -7.0% 0.2% -2.2% 1.5% 1.2% อุตสาหกรรมการเกษตร (7.9%) 17.8% -4.0% 3.7% -3.3% 5.6% 7.1% สินค้าอุตสาหกรรม (78.6%) 4.4% -8.4% -5.8% -5.4% -6.2% -5.9% สินค้าแร่และเชื้อเพลิง (4.1%) 15.5% -22.0% -1.7% 6.8% -10.0% 0.1% สหรัฐฯ (16.6%) 13.4% -1.3% -3.9% -4.7% -9.5% 1.7% จีน (12%) -7.7% -13.4% -7.4% -11.4% -7.9% -3.8% อาเซียน5 (14.2%) 9.5% -17.6% -2.2% 2.3% -6.4% -2.1% CLMV (10.9%) 11.5% -0.9% -6.3% -11.1% -4.9% -3.5% ญี่ปุ่น (8.6%) -1.3% -7.1% -0.2% -9.2% -2.5% 10.2% สหภาพยุโรป28 (9.3%) 6.6% -1.8% -1.4% 2.7% -0.5% -5.3% • มูลค่าการส่งออกสินค้าไตรมาส 1 หดตัวน้อยกว่าคาดและมีแนวโน้มทยอยฟื้นตัว โดยสินค้าส่งออกสาคัญ เช่น คอมฯ และอุปกรณ์หดตัวเร็ว อย่างไรก็ดี มีสัญญาณบวกจากอุปสงค์สินค้าของจีนทิ่เริ่มขยายตัว • 3 ตลาดศักยภาพใหม่ที่เป็นโอกาสในปีนี้ ได้แก่ ตะวันออกกลาง (การฟื้นฟูความสัมพันธ์ไทย-ซาอุฯ) CLMV (รัฐบาลสนับสนุน) และลาตินอเมริกา (ตลาดเป้าหมายใหม่ของ พณ.) • คาดว่าส่งออกปีนี้จะโตต่าที่ 1.2% และยังเปราะบางตามเศรษฐกิจโลกที่มีความเสี่ยงด้านต่าเพิ่มขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, ธนาคารแห่งประเทศไทย, ศุลกากรจีน, JP Morgan, S&P Global และ CEIC ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยจะกลับมาเกินดุลในปีนี้ จากทั้งดุลการค้าและดุลบริการ หน่วย : ล้านบาท 8.0 -7.8 8.2 -40 -20 0 20 Export Import Import: Thailand 07/2022 เม.ย.-23 การนาเข้าจากไทย มีทิศทางฟื้นตัว (ม.ค.-ก.พ. ผันผวน ส่วนหนึ่งจากผล ตรุษจีน) Q1 +0.5%YOY -200,000 -100,000 0 100,000 200,000 Mar-21 Sep-21 Mar-22 Sep-22 Mar-23 ดุลการค้า ดุลบริการฯ ดุลบัญชีเดินสะพัด CA/GDP (%) 2022 2023F -3.5% 1.3%
  • 23. 23 ข้อมูลความเชื่อมั่นสะท้อนแนวโน้มที่ดี ทั้งการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และภาคการผลิต ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (BSI) และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (Manufacturing PMI) หน่วย : %เปรียบเทียบกับระดับก่อนวิกฤติโควิด (2019), คานวณด้วยวิธีการรวม GDP ในไตรมาสปัจจุบันกับ 3 ไตรมาสก่อนหน้า (Rolling 4 Quarters) 46.1 53.4 47.8 51.9 51.6 47.9 55.2 49.4 53.3 51.1 49.7 56.9 48.4 55 52.5 51.7 59.2 49.8 56.5 54.5 52.6 60.2 50.6 56.2 54.8 53.8 61.4 52.9 54.2 53.1 55 62.5 50.1 56 60.4 0 25 50 75 CCI CCI: future BSI BSI: Expectation Manufacturing PMI 10/2022 11/2022 12/2022 01/2023 02/2023 03/2023 04/2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ S&P Global
  • 24. 24 การกลับมาของการลงทุนเป็นหนึ่งในปัจจัยสนับสนุนการฟื้นตัวของธุรกิจ สะท้อนจากสถิติการลงทุนจาก BOI โดยธุรกิจที่ได้รับความสนใจค่อนข้างมากอยู่ในกลุ่ม Data center, รถยนต์ EV, Electronics และเคมีภัณฑ์ หมายเหตุ : *AWS มีแผนการลงทุนต่อเนื่องไปอีกเป็นระยะเวลา 15 ปี โดยมีมูลค่าการลงทุนทั้งสิ้นที่ราว 1.9 แสนล้านบาท ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ BOI และสานักข่าวต่าง ๆ สถิติการขอรับการส่งเสริมฯ และการได้รับบัตรส่งเสริม (BOI Applications & Certification) หน่วย : แสนล้านบาท ตัวอย่างโครงการขนาดใหญ่ในปี 2022 – Q1/2023 BOI Applications BOI Certification 3% 58% 12% 3% 2019 20% 11% 2022 7% 10% 48% 12% 13% 11% 7% 6% 2020 4.0 8% 9% 18% 22% 2021 26% 16% 5% 12% 20% 30% 4.8 6.9 6.6 +39% 4.0 8% 2019 9% 2020 5% 20% 14% 13% 21% 9% 25% 10% 34% 40% 11% 15% 15% 2021 11% 12% 3% 10% 19% 14% 28% 2022 4.9 21% 17% 3.6 4.3 +21% Agriculture and Agricultural Products Metal Products, Machinery and Transport Equipment Mineral, Ceramics and Basic Metals Light Industries/Textiles Electric and Electronic Products Chemicals, Paper and Plastics Service and Public Utilities Technology and Innovation development Chemicals. Paper, and Plastics Services and public utilities Metal products, Machinery, Transport Equipment Electric & Electronic products โครงการส่วนใหญ่อยู่ในหมวด Data Center นอกจากนั้น เป็นการผลิตพลังงาน ไฟฟ้า การผลิตน้าประปา, และการขนส่งทางเรือกับทางอากาศ โครงการส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มการผลิต Hard disk , Semiconductor, เครื่องใช้ไฟฟ้า โครงการส่วนใหญ่เป็นการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ และชิ้นส่วน โดยทั้ง Horizon และ BYD กาลังก่อสร้างโรงงานผลิตรถ EV และคาดว่าจะเริ่มผลิตปี 2024 โครงการขนาดใหญ่ เช่น โรงแยกก๊าซธรรมชาติ การผลิตเส้นใย/ผ้าคุณสมบัติพิเศษ การผลิต Carbon black True internet datacenter มูลค่าราว 2,500 ล้านบาท มูลค่า 3,000 ล้านบาท Amazon web services มูลค่า 24,810 ล้านบาท* มูลค่า 21,784 ล้านบาท (PTT+Foxconn) มูลค่า 36,100 ล้านบาท หลายบริษัทรถกาลังเตรียมยื่นขอ BOI ในปีนี้ เช่น Changan Automobile ลงทุน 9,800 ล้านบาท และ GAC AION ลงทุน 6,400 ล้านบาท ผลิตชิ้นส่วน HDD โรงแยกก๊าซธรรมชาติ มูลค่า 18,000 ล้านบาท ไทยโตไกคารบอนโปรดักท์ ลงทุนผลิตCarbonBlack(ใช้ผลิตยาง) มูลค่า 9,490 ล้านบาท คิงบอร์ด โฮลดิ้งส์ ลงทุนผลิตเสนใย/ผาคุณสมบัติพิเศษ มูลค่า 8,230 ล้านบาท ผลิตชิป IC ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและกาลังลงทุน ผลิตเซ็นเซอร์รูปภาพ 2,575 ล้านบาท
  • 25. 25 ราคาพลังงานโลกในไตรมาส 2 เริ่มชะลอลงจากความกังวลภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่มีมากขึ้น แต่ราคายังคงอยู่ใน ระดับสูงเทียบกับค่าเฉลี่ยย้อนหลัง เนื่องจากภาวะอุปทานตึงตัว หมายเหตุ : 5-year period = 2015-2019; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน เม.ย. 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, TradingView, Goldman Sachs, US EIA, JP Morgan และสานักข่าวต่าง ๆ ราคาน้ามันดิบ Brent หน่วย : USD/Barrel ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) Aramco หน่วย : USD/Ton ราคาก๊าซธรรมชาติ Henry Hub หน่วย : USD/MMBtu 0 20 40 60 80 100 120 140 2018 2019 2020 2021 2022 2023 0 2 4 6 8 10 2018 2019 2020 2021 2022 2023 0 200 400 600 800 1000 1200 2018 2019 2020 2021 2022 2023 5-yr avg 2021 2022 2023YTD 2.8 3.7 6.6 2.6 5-yr avg 2021 2022 2023F 57.1 70.5 100.9 78 5-yr avg 2021 2022 2023YTD 429.7 645.5 713.5 549 • ราคาน้ามันเริ่มชะลอตัวลง หลังผ่านระดับสูงสุดในช่วงปี 2022 การกดดันรัสเซียด้วยการคว่าบาตรการนาเข้าน้ามันดิบ ประกอบกับความกังวลในภาวะเศรษฐกิจถดถอยยังมีอยู่ • ปัจจัยสนับสนุนให้ราคาน้ามันยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ย 5 ปีในอดีต การเปิดประเทศของจีนส่งเสริมการใช้น้ามัน ภาวะ Supply ที่มี ความไม่แน่นอนสูง และกลุ่ม OPEC+ ที่ประกาศลดกาลังการผลิต แบบสมัครใจ 3.66 ล้านบาร์เรลต่อวัน • ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) เริ่มชะลอตัว เนื่องจากความ ต้องการสินค้าสาเร็จรูปที่ต้องใช้ Propane เป็น Feedstock เริ่มมีความชะลอตัวของ Demand • อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของโรง PDH ที่ต้องใช้ Propane เป็นวัตถุดิบ มีแผนที่จะเพิ่มกาลังการผลิตอย่างมากในปีนี้ จึงเป็น ความเสี่ยงที่ทาให้ราคา Propane จะปรับตัวลงได้ยาก • ราคาก๊าซฯ ยังอยู่ในระดับต่าเนื่องจากเป็นช่วง Shoulder season และอุปสงค์ในยุโรปลดลงจากความพยายามลดการใช้ ก๊าซฯ อย่างไรกีดี ในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ คาดว่าราคาก๊าซฯ จะดีด กลับสูงขึ้นอีกครั้ง จากการฟื้นตัวของภาคผลิตในจีน ความต้องการ ใช้ไฟฟ้าที่มากขึ้นในช่วงหน้าร้อน และความต้องการใช้ก๊าซฯ เพื่อ Heating ในช่วงหน้าหนาว ขณะที่อุปทานก๊าซฯ ยังไม่สามารถ ขยายตัวตามได้ทัน ทาให้ภาวะอุปทานตึงตัวในตลาดก๊าซฯ โลก จะยังมีอยู่
  • 26. 26 อัตราเงินเฟ้อไทยขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะราคาสินค้าพลังงานที่ชะลอตัวลงมากจากราคาพลังงาน โลกและมาตรการรัฐ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ แหล่งที่มาการขยายตัวของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : ดัชนี (2019 = 100) ระดับราคาเพิ่มขึ้น 0.2% ในเดือน เม.ย. เทียบเดือน มี.ค. 2023 -2% 0% 2% 4% 6% 8% Jan-21 Feb-21 Mar-21 Apr-21 May-21 Jun-21 Jul-21 Aug-21 Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 2022f Core contribution Energy contribution Raw food contribution Headline Core คาดปัจจัยฐานที่เพิ่มขึ้นมาก ตั้งแต่เดือนพ.ค.จะทาให้เงินเฟ้อ ขยายตัวชะลอลงชัดเจน 205 รายการ 97 รายการ 128 รายการ เช่น น้ามันเชื้อเพลิง (ยกเว้นดีเซล) ผักชี ต้นหอม ผักคะน้า ไข่ไก่ ส้มเขียวหวาน มังคุด เงาะ ถั่วฝักยาว กาแฟผงสาเร็จรูป ปลาทู เช่น เนื้อสุกร ผักบุ้ง กระเทียม มะเขือเทศ แตงกวา ผักกาดขาว น้ามันพืช น้ายาระงับกลิ่นกาย ค่าธรรมเนียมผ่านทางพิเศษ เช่น รองเท้าผ้าใบบุรุษ รถจักรยานยนต์ นิตยสารรายเดือน ค่าใบอนุญาตขับขี่ ค่าบริการล้างรถยนต์ ค่าบริการจอดรถ ค่าโดยสารรถไฟ ก๊าซหุงต้ม %YOY Share 2022 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 YTD รวมทุกรายการ 100% 6.1% 5.0% 3.8% 2.8% 2.7% 3.6% อาหารสด 20.6% 6.8% 7.3% 7.1% 6.7% 5.5% 6.7% พลังงาน 12.4% 24.5% 11.1% 7.8% 2.4% 3.3% 6.0% ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 67.1% 2.5% 3.0% 1.9% 1.7% 1.7% 2.1% กกต. มีมติ (15 พ.ค. 2023) เห็นชอบให้กระทรวงพลังงานใช้งบกลางเพื่อให้ส่วนลดจากการ เพิ่มขึ้นของอัตราค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft) เดือน พ.ค.-ส.ค. 2023 ภายในกรอบวงเงิน รวม 10,464 ล้านบาท ตามที่คณะรัฐมนตรีเสนอ
  • 27. 27 เศรษฐกิจไทยในระยะสั้นจะต้องเผชิญความไม่แน่นอนจากรูปแบบของการจัดตั้งรัฐบาล สาหรับในระยะปานกลางความยั่งยืนทางการคลังเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญ เพราะนโยบายหาเสียง ส่วนใหญ่ใช้เงินมาก แต่ที่มาของเงินและผลบวกต่อเศรษฐกิจในระยะยาวยังไม่ชัดเจน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, พรรคเพื่อไทย, พรรคก้าวไกล, พรรคพลังประชารัฐ, พรรครวมไทยสร้างชาติ, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย และ BBC ประเทศไทย พรรคหลัก ตัวอย่างนโยบายหาเสียง (ล้านบาท) ความเสี่ยงทางการคลัง แหล่งที่มาของเงิน 1. ก้าวไกล รวม 1,288,610 ปานกลาง • แหล่งที่มาของเงินชัดเจนและละเอียดที่สุด ไม่ใช้เงินนอกงบประมาณ • เสี่ยงถูกต่อต้าน เช่น ตัดงบกองทัพ เก็บภาษีบางชนิด สวัสดิการก้าวหน้า (ต่อปี) 650,000 จังหวัดจัดการตนเอง (ต่อปี) 200,000 2. เพื่อไทย รวม 1,770,870 สูง • แหล่งที่มาของเงินชัดเจนพอควร ใช้งบสูงสุด • คานวณบนข้อสมมติตัวคูณการคลังและการเติบโตของ เศรษฐกิจที่สูงไป กระเป๋าเงินดิจิทัล 560,000 บริหารจัดการน้า 500,000 3. ภูมิใจไทย รวม 1,867,622 ปานกลาง - สูง • เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ใช้เงินจาก PPP เป็นหลัก • อาจใช้เงินนอกงบประมาณหรือกู้เงินเพิ่มเติม โดยเฉพาะ โครงการเงินกู้ฉุกเฉิน 50,000 บาท โครงการพักหนี้ 3 ปี เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ 1,700,000 ประกันชีวิตผู้สูงอายุ (ปีละ) 37,098 4. พลังประชารัฐ รวม 996,266 สูง • แหล่งที่มาของเงินไม่ชัดเจน • การยกเว้นเก็บภาษีน้ามันและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะทาให้ รัฐสูญรายได้มาก และต้องกู้เงินเพื่อชดเชย เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (ต่อปี) 495,658 กองทุนประชารัฐ 300,000
  • 28. 28 SCB EIC คาดว่า กนง. จะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 จากแนวโน้ม เศรษฐกิจไทยที่เติบโตต่อเนื่อง และแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังมีอยู่ หมายเหตุ : Terminal rate ประเมินจากการจาลองสถานการณ์การปรับดอกเบี้ยนโยบายรูปแบบต่าง ๆ และเลือกรูปแบบที่ให้ Loss Function ของธนาคารกลางต่าสุด โดย Loss Function คานวนจากการถ่วงน้าหนักระหว่างการควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในกรอบเป้าหมาย (Inflation gap) และอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับการเติบโตในระดับศักยภาพ (Output gap) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย และ Bloomberg คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย โดย SCB EIC หน่วย : % อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงของไทย (Real policy rate) หน่วย : % 1.75 2 2.5 2.5 2.5 2.5 2.5 2.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 Q1/2023 Q2/2023 Q3/2023 Q4/2023 Q1/2024 Q2/2024 Q3/2024 Q4/2024 SCB EIC New baseline Old baseline 1.75 2.5 -1.1 -8 -6 -4 -2 0 2 4 Jan-19 May-19 Sep-19 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 Sep-23 Policy rate Real policy rate SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในการ ประชุมเดือน ก.ย. ซึ่งเป็นระดับที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับศักยภาพและอัตราเงินเฟ้อเป็นไป ตามกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของ ธปท. โดยจะคงไว้ในระดับดังกล่าวให้เกิดกลไกการส่งผ่านไปสู่ระบบ เศรษฐกิจต่อไป อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริง (Real policy rate) ของไทยในปัจจุบันยังคงติดลบ การที่อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริงอยู่ในระดับต่าเกินไปจะก่อให้เกิดความไม่สมดุลในระบบเศรษฐกิจ และสะสมความเสี่ยงด้าน เสถียรภาพระบบการเงินในระยะยาว SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปสู่ระดับที่ทาให้ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกลับมาเป็นบวก
  • 29. 29 เงินบาทแข็งค่าเร็วในเดือนที่ผ่านมาจากตัวเลขเศรษฐกิจไทยออกมาดีกว่าคาด การเลือกตั้งไทยที่ผ่านไปด้วยดี และเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า ในไตรมาส 2 คาดว่าเงินบาทจะเคลื่อนไหว Sideway up ในกรอบ 33.20-34.80 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB FX จากข้อมูลของ Bloomberg ThaiBMA และ SET การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พ.ค. 2023) Credit Default Swap ของสหรัฐฯ อายุ 1 ปี หน่วย : ดัชนี (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พ.ค. 23) -0.9% 0.0% 0.9% 1.4% -10% -5% 0% 5% 10% Korea Japan Malaysia China Philippines Taiwan India Vietnam Dollar index Thailand Europe Indonesia MTD YTD เงินบาทผันผวนสูงเดือน พ.ค. โดยช่วงครึ่งเดือน แรกแข็งค่าขึ้น ก่อนปรับอ่อนค่าลงหลังเลือกตั้ง CDS ของสหรัฐฯ ปรับ สูงขึ้นเร็ว และสูงกว่า ช่วงที่เกิดความวิตก เรื่อง Debt ceiling ครั้งก่อนในปี 2011 และ 2013 ทาให้เงิน ดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนที่ผ่านมาแข็งค่าเร็วกว่าที่เคยประเมินไว้ เนื่องจาก • ตัวเลขเศรษฐกิจไทยไตรมาส 1 ออกมาดีกว่าคาด ทั้งการส่งออก ดุลบัญชีเดินสะพัด และ GDP • เงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า จากประเด็น Debt ceiling และ Banking turmoil ในสหรัฐฯ • หลังการเลือกตั้งยังไม่มีความชัดเจนในการจัดตั้งรัฐบาล เงินทุนเคลื่อนย้ายยังไหลออกจากตลาดหุ้นไทย ส่งผลให้เงินบาทอ่อนค่า ในไตรมาส 2 คาดว่าเงินบาทจะเคลื่อนไหว Sideway up ในกรอบ 33.20-34.80 เนื่องจาก Fed จะไม่ลดดอกเบี้ย ตามที่ตลาด Price-in ซึ่งจะกดดันให้เงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่า อย่างไรก็ดี ดุลบัญชีเดินสะพัดไทยที่กลับมาเกินดุล เร็วกว่าจะกดดันให้บาทแข็งค่าและทรงตัว Sideway ณ สิ้นปีคาดว่าเงินบาทจะอยู่ที่ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่จะปรับดีขึ้น และเงินดอลลาร์สหรัฐที่คาดว่าจะกลับมาอ่อนค่าลง เงินทุนเคลื่อนย้ายสู่ตลาดการเงินไทย หน่วย : พันล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พ.ค. 2023) -130 -80 -30 20 70 120 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Equity market Bond market Bn THB YTD Equity -71.6 Bond +5.9
  • 30. 30 ประมาณการเศรษฐกิจไทย คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ CEIC ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน่วย 2021 2022 2023F ณ พ.ค. GDP %YOY 1.6 2.6 3.9 การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.6 6.3 3.9 การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.7 0.0 -1.5 การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.0 5.1 3.0 การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.4 -4.9 2.2 มูลค่าส่งออกสินค้า (USD BOP basis) %YOY 19.2 5.5 1.2 มูลค่านาเข้าสินค้า (USD BOP basis) %YOY 27.7 15.3 0.9 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ล้านคน 0.4 11.2 30.0 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป %YOY 1.2 6.1 2.7 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.4 ราคาน้ามันดิบ Brent USD/Brl. 70.5 100.9 78.0 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นปี) % 0.5 1.25 2.5 เงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (สิ้นปี) THB/USD 33.2 34.6 32-33 • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนเร็วและแรงกว่าคาด • เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวดีกว่าคาด • การฟื้นตัวต่อเนื่องของการบริโภค • นโยบายควบคุม/จากัดการส่งออกสินค้าของประเทศคู่แข่ง ปัจจัยสนับสนุน • ปัญหา Geopolitics รุนแรงขึ้น กระทบ Global supply chain และการส่งออก • ปัญหาวิกฤตเสถียรภาพระบบการเงินโลกที่อาจลุกลาม • นโยบายการเงินโลกตึงตัวแรงขึ้น จากเงินเฟ้อโลกลดลงช้า • หนี้ครัวเรือนกลับมาเร่งตัวกดดันการบริโภค • เงินเฟ้อสูง กระทบค่าครองชีพและต้นทุนธุรกิจ • การเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ กระทบการใช้จ่ายภาครัฐ • การเกิดภัยแล้งจากปรากฏการณ์เอลนีโญ กระทบต่อผลผลิตภาคเกษตร ปัจจัยเสี่ยง