SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
1
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ
หลัง Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย 75 bps
และนัยต่อตลาดการเงินไทย
สรุปผลการประชุม FOMC เดือนมิถุนายน 2022
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
3
ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ปรับขึ้นดอกเบี้ย 0.75% สู่ระดับ 1.5-1.75% ในเดือนมิ.ย. จากเงินเฟ้อที่ยังร้อนแรงกว่าที่คาด
พร้อมส่งสัญญาณว่าจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีก 50-75 bps ในการประชุมครั้งต่อไป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Federal Reserve
คาดการณ์ตัวเลขเศรษฐกิจโดยคณะกรรมการ Fed ณ เดือนมิ.ย. 2022
( ) = คาดการณ์ครั้งก่อนในเดือนมี.ค. 2022
การคาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของคณะกรรมการ Fed ณ เดือนมิ.ย. 2022
Unit: % (Median) 2022 2023 2024 Longer run
Real GDP 1.7 (2.8) 1.7 (2.2) 1.9 (2) 1.8 (1.8)
Unemployment rate 3.7 (3.5) 3.9 (3.5) 4.1 (3.6) 4.0 (4.0)
PCE Inflation 5.2 (4.3) 2.6 (2.7) 2.2 (2.3) 2.0 (2.0)
Core PCE Inflation 4.3 (4.1) 2.7 (2.6) 2.3 (2.3) -
Policy rate 3.4 (1.9) 3.8 (2.8) 3.4 (2.8) 2.5 (2.4)
3.0
2.0
2.5
3.5
4.0
4.5
2022
Median 3.4%
2023
Median 3.8%
2024
Median 3.4%
Longer run
Median 2.5%
• Fed ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 75 bps สู่ระดับ 1.5-1.75% ในการประชุมวันที่ 15 มิ.ย. 2022 ซึ่งถือเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ปี 1994 เนื่องจากตัวเลขดัชนีราคา
ผู้บริโภค CPI ในเดือนพ.ค. ยังเร่งตัวต่อเนื่อง (8.6%) และไม่มีสัญญาณว่าจะชะลอลง ประกอบกับการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อระยะยาวของภาคครัวเรือนเริ่มปรับสูงขึ้นเป็น 3.3% ในเดือนมิ.ย. จากเดิมที่
3% ในเดือนก.พ. ถึง พ.ค.
• ประธาน Fed กล่าวว่า การประชุมครั้งถัดไปอาจปรับขึ้นดอกเบี้ย 50-75 bps ขึ้นกับตัวเลขทางเศรษฐกิจในเวลานั้น ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยครั้งละ 75 bps ไม่ใช่เรื่องปกติที่จะเกิดขึ้นเป็นประจา นอกจากนี้
ประธาน Fed ยังกล่าวว่า โอกาสที่ Fed จะทาให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ สามารถ soft landing ได้เริ่มแคบลงและยากขึ้นมาก เนื่องจากมีปัจจัยที่ Fed ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น สงครามรัสเซียยูเครน
การปิดเมืองของจีน รวมถึงราคาน้ามันและราคาอาหารที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของ Fed โดย Fed มีเป้าหมายที่จะลดความตึงตัวในตลาดแรงงานลง
แม้อัตราการว่างงานอาจปรับสูงขึ้นเป็น 4.1% ในปี 2024 แต่ยังถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ามากเมื่อเทียบกับระดับปกติของสหรัฐฯ ซึ่ง Fed จะพยายามเลี่ยงไม่ให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ เกิด recession
• คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Median dot plot) ของ Fed แสดงการปรับขึ้นดอกเบี้ยอีก 1.75% ในปีนี้ โดยคาดว่าอัตราดอกเบี้ยจะปรับตัวขึ้นสู่ระดับ 3.4% ในสิ้นปีนี้ และ 3.8% ในสิ้นปีหน้า
และจะปรับลดลงสู่ 3.4% ในปี 2024 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยระยะยาวคาดว่าจะอยู่ที่ 2.5%
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
4
หลังการประชุม Fed ดัชนีเงินดอลลาร์ปรับอ่อนค่าลงหลังจากที่แข็งค่านาไปมากในช่วงก่อนประชุม ขณะที่ US bond yield 2 ปี
และ 10 ปี ลดลงราว 25 bps ด้านตลาดหุ้นสหรัฐฯ ปรับลดลงในวันถัดมาจากความกังวลต่อ Recession ส่วนเงินบาทอ่อนค่าลง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg
การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบต่อดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย. 2022)
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี และ 10 ปี ของไทยและสหรัฐฯ
หน่วย : %
-0.3% -2.7%
-0.9%
-2.2%
1.2%
-7.9% -7.5% -7.0% -6.0% -5.7% -5.3% -5.0% -4.7% -3.9% -1.7%
9.2%
-14%
-4%
6%
Japan
Korea
Europe
Taiwan
Thailand
Philippines
Malaysia
China
India
Indonesia
Vietnam
Dollar
index
After US CPI published (10June) YTD
0.5
1.5
2.5
3.5
Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22
TH10 US10 TH2 US2
ดัชนีตลาดหุ้นไทยและสหรัฐฯ
หน่วย : ดัชนี
3,500
4,000
4,500
1,550
1,650
1,750
Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22
SET Index S&P500 (แกนขวา)
Market response ก่อนการประชุม Fed (14 มิ.ย.) จนถึงปัจจุบัน (20 มิ.ย.)
Dollar index ปรับอ่อนค่าลง 1%
ค่าเงินบาทปรับอ่อนค่าลง 0.8% มาอยู่ที่ 35.3
2Y U.S. bond yield ลดลงราว 25 bps
10Y U.S. bond yield ลดลงราว 25 bps
ตลาดหุ้น US ทั้ง Nasdaq, S&P500 และ Dow Jones ปรับลดลงราว 4.5%, 2%
และ 2% ตามความกังวลต่อการเกิดภาวะ recession
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ ในระยะต่อไป
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
6
EIC คาดว่า Fed จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 75 bps ในเดือนก.ค. ซึ่งเป็นการขึ้นที่แรงกว่าในอดีต เนื่องจากเงินเฟ้อยังเร่งตัวสูงขึ้น
ต่อเนื่องและยังไม่มีสัญญาณชะลอลง ประกอบกับการคาดการณ์เงินเฟ้อระยะยาวเริ่มปรับสูงขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC, U.S. Bureau of Economic Analysis และ the Federal Reserve Bank of St. Louis
ดัชนีเกี่ยวกับระดับราคาและเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ในช่วง tightening cycle แต่ละรอบ
หน่วย : %YOY, %YOY, %YOY, %
2004 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Dec-03 Jan-04 Feb-04 Mar-04 Apr-04 May-04 Jun-04 Jul-04 Aug-04 Sep-04 Oct-04 Nov-04 Dec-04
Headline CPI %YOY 1.9 1.9 1.7 1.7 2.3 3.1 3.3 3.0 2.7 2.5 3.2 3.5 3.3
Core CPI %YOY 1.1 1.1 1.2 1.6 1.8 1.7 1.9 1.8 1.7 2.0 2.0 2.2 2.2
PPI %YOY 5.0 4.5 3.3 1.3 5.8 7.4 6.7 7.0 7.2 6.6 7.7 9.0 7.7
5-year inflation expectation % 2.8 2.8 2.9 2.9 2.7 2.8 2.9 2.8 2.7 2.8 2.8 2.7 2.8
2015 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Jun-15 Jul-15 Aug-15 Sep-15 Oct-15 Nov-15 Dec-15 Jan-16 Feb-16 Mar-16 Apr-16 May-16 Jun-16
Headline CPI %YOY 0.1 0.2 0.2 0.0 0.2 0.5 0.7 1.4 1.0 0.9 1.1 1.0 1.0
Core CPI %YOY 1.8 1.8 1.8 1.9 1.9 2.0 2.1 2.2 2.3 2.2 2.1 2.2 2.2
PPI %YOY -6.5 -6.8 -7.3 -8.4 -7.8 -7.6 -6.9 -4.9 -5.1 -4.9 -4.0 -4.2 -3.7
5-year inflation expectation % 2.6 2.8 2.7 2.7 2.5 2.6 2.6 2.7 2.5 2.7 2.5 2.5 2.6
2022 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22
Headline CPI %YOY 5.4 6.2 6.8 7.0 7.5 7.9 8.5 8.3 8.6
Core CPI %YOY 4.0 4.6 4.9 5.5 6.0 6.4 6.5 6.2 6.0
PPI %YOY 20.6 22.4 22.7 20.4 20.3 19.9 20.6 21.5
5-year inflation expectation % 3.0 2.9 3.0 2.9 3.1 3.0 3.0 3.0 3.0 3.3
= Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย
EIC คาดว่า Fed จะปรับขึ้นดอกเบี้ยเร็ว
และแรงกว่าในอดีต เนื่องจาก
• แรงกดดันเงินเฟ้อในปัจจุบันยังอยู่ในระดับสูง โดยหาก
เปรียบเทียบกับ hiking cycle ในปี 2004 และ 2015 อัตรา
เงินเฟ้ออยู่ที่ราว 3% และ 0.5% ตามลาดับ Fed ได้ปรับ
ขึ้นดอกเบี้ยครั้งละ 25 bps ขณะที่เงินเฟ้อในปัจจุบันอยู่ที่
8.6% ซึ่งสูงกว่าในอดีตมาก ทาให้ Fed มีความจาเป็นต้อง
ปรับขึ้นดอกเบี้ยในครั้งเดียวถึง 50-75 bps
• คาดการณ์เงินเฟ้อระยะยาวของผู้บริโภคเริ่มปรับสูงขึ้น
เป็น 3.3% ในเดือนมิ.ย. จาก 3% ในเดือนก.พ. ถึง พ.ค.
ขณะที่คาดการณ์เงินเฟ้อในอีก 1 ปีข้างหน้าเพิ่มขึ้นสู่
5.4% สะท้อนถึงมุมมองของผู้บริโภคที่เชื่อว่าเงินเฟ้อ
จะยังไม่ลดลงสู่กรอบเป้าหมายได้ในระยะเวลาอันใกล้
ซึ่งแตกต่างจาก hiking cycle ในอดีตที่คาดการณ์เงินเฟ้อ
อยู่ในระดับต่ากว่า 3%
EIC คาดว่า Fed จะขึ้นดอกเบี้ย 75 และ 50 bps ในเดือน
ก.ค. และ ก.ย. และขึ้นอีก 25 bps ในเดือนพ.ย. และ ธ.ค.
ส่งผลให้ Fed funds rate จะอยู่ที่ระดับ 3.25-3.5% ณ สิ้น
ปี 2022
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
7
2004 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Dec-03 Jan-04 Feb-04 Mar-04 Apr-04 May-04 Jun-04 Jul-04 Aug-04 Sep-04 Oct-04 Nov-04 Dec-04
Unemployment rate % 5.7 5.7 5.6 5.8 5.6 5.6 5.6 5.5 5.4 5.4 5.5 5.4 5.4
Job openings rates % 2.5 2.6 2.6 2.6 2.6 2.7 2.5 2.8 2.6 2.8 2.9 2.6 3.0
Average Hourly Earnings: Total Private %YOY N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
Nonfarm Private Payroll Employment %YOY 0.4 0.5 0.6 0.9 1.0 1.3 1.4 1.5 1.4 1.4 1.6 1.8 1.9
2015 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Jun-15 Jul-15 Aug-15 Sep-15 Oct-15 Nov-15 Dec-15 Jan-16 Feb-16 Mar-16 Apr-16 May-16 Jun-16
Unemployment rate % 5.3 5.2 5.1 5.0 5.0 5.1 5.0 4.8 4.9 5.0 5.1 4.8 4.9
Job openings rates % 3.6 4.1 3.7 3.7 3.9 3.8 3.9 4.0 3.9 4.1 3.9 3.9 3.8
Average Hourly Earnings: Total Private %YOY 2.2 2.2 2.2 2.2 2.5 2.4 2.5 2.5 2.5 2.5 2.6 2.4 2.6
Nonfarm Private Payroll Employment %YOY 2.4 2.4 2.3 2.2 2.2 2.1 2.1 2.0 2.1 2.1 2.0 1.8 2.0
2022 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22
Unemployment rate % 4.7 4.6 4.2 3.9 4.0 3.8 3.6 3.6 3.6
Job openings rate % 6.8 7.0 6.8 7.1 7.0 7.0 7.3 7.0
Average Hourly Earnings: Total Private %YOY 4.8 5.4 5.3 4.9 5.4 5.2 5.6 5.5 5.2
Nonfarm Private Payroll Employment %YOY 5.6 5.4 5.3 5.7 5.7 5.8 5.2 4.8 4.2
นอกจากนี้ ตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ในปัจจุบันฟื้นตัวได้อย่างแข็งแกร่งและอยู่ในภาวะที่ตึงตัวกว่า hiking cycle*
ในอดีตมาก อีกทั้ง อัตราการเปิดรับสมัครงานยังคงอยู่ในระดับสูง กดดันให้ค่าจ้างปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
หมายเหตุ : *วัฏจักรการขึ้นดอกเบี้ย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC, U.S. Bureau of Economic Analysis และ the Federal Reserve Bank of St. Louis
ดัชนีเกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจจริงของสหรัฐฯ ในช่วง tightening cycle แต่ละรอบ
หน่วย : %YOY, %YOY, %YOY, Index
= Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย
• อัตราการว่างงานของสหรัฐฯ ในเดือน
พ.ค. 2022 อยู่ที่ 3.6% ซึ่งเป็นระดับ
เดียวกับช่วงก่อน COVID-19 แล้ว
(ธ.ค. 2019) และยังต่ากว่าระดับอัตราการ
ว่างงานที่ไม่ทาให้เงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น
(The Non-Accelerating Inflation Rate
of Unemployment หรือ NAIRU)
ที่ 4.5% สะท้อนตลาดแรงงานสหรัฐฯ
ที่ตึงตัวมาก โดยอัตราการว่างงานใน
ปัจจุบันอยู่ในระดับที่ต่ากว่าใน hiking cycle
รอบก่อนที่ Fed เริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
ดังนั้น นโยบายการเงินของสหรัฐฯ ใน
ปัจจุบันยังถือว่าอยู่ในระดับที่ผ่อนคลาย
เมื่อเทียบกับการฟื้นตัวของตลาดแรงงาน
• อัตราการเปิดรับสมัครงาน (job
openings) ยังคงอยู่ในระดับสูง กดดันให้
ค่าจ้างปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้
อัตราเงินเฟ้อในปัจจุบันมีแนวโน้มปรับ
สูงขึ้นเร็วเมื่อเทียบกับในอดีตที่ไม่มีปัจจัย
ด้านค่าแรงร่วมกดดัน
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
8
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปัจจุบันอยู่ในภาวะแข็งแกร่งมากเมื่อเทียบกับ hiking cycle ในอดีต โดยทั้งการบริโภค
ภาคเอกชนและกิจกรรมในภาคการผลิตยังคงฟื้นตัวได้ดีต่อเนื่อง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC, U.S. Bureau of Economic Analysis และ the Federal Reserve Bank of St. Louis
ดัชนีเกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจจริงของสหรัฐฯ ในช่วง tightening cycle แต่ละรอบ
หน่วย : %YOY, %YOY, %YOY, Index
= Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย
• การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอยู่ในภาวะ
แข็งแกร่ง โดยการบริโภคและการผลิตใน
ปัจจุบันขยายตัวสูงกว่าใน hiking cycle
รอบก่อนหน้า สะท้อนว่าเศรษฐกิจมีความ
แข็งแกร่งมากกว่าช่วง hiking cycle
ในอดีต และจะสามารถรองรับการดาเนิน
นโยบายการเงินที่ตึงตัวเร็วได้ดีกว่า
• การบริโภคภาคเอกชน (68% of GDP)
ขยายตัวกว่า 2-digit ในช่วงที่ผ่านมา
แม้ชะลอลงในเดือนล่าสุด (พ.ค.)
จากภาวะการเงินที่ตึงตัวขึ้น เช่นเดียวกันกับ
ยอดสั่งซื้อสินค้าใหม่ ที่สะท้อนอุปสงค์
อนาคต ขยายตัวในระดับสูงสุดที่ 14%
ในเดือนเม.ย. นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่น
ของผู้บริโภคก็อยู่ในระดับสูงกว่า hiking
cycle รอบก่อนหน้า
• กิจกรรมในภาคการผลิตฟื้นตัวได้ดี
สะท้อนจากดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม
(industrial production) ที่ขยายตัวดี
และอยู่ในระดับสูงกว่าช่วงเวลา hiking
cycle รอบก่อนหน้า
2004 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Dec-03 Jan-04 Feb-04 Mar-04 Apr-04 May-04 Jun-04 Jul-04 Aug-04 Sep-04 Oct-04 Nov-04 Dec-04
Retail Sales_sa %YOY 4.4 4.4 6.7 6.9 5.9 7.8 5.1 5.1 3.6 6.0 7.4 6.4 8.0
Manufacturing Industries: sa: New Orders %YOY 7.4 4.7 3.3 7.2 8.7 8.3 7.9 8.2 7.7 7.4 6.6 10.0 9.7
Industrial Production Index %YOY 2.1 1.1 2.0 1.6 2.6 3.5 2.7 3.9 3.0 2.0 3.2 2.6 3.6
Consumer Confidence Index (CCI): sa Index 94.8 97.7 88.5 88.5 93.0 93.1 102.8 105.7 98.7 96.7 92.9 92.6 102.7
2015 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Jun-15 Jul-15 Aug-15 Sep-15 Oct-15 Nov-15 Dec-15 Jan-16 Feb-16 Mar-16 Apr-16 May-16 Jun-16
Retail Sales: sa %YOY 1.8 2.5 1.7 1.7 1.0 1.2 2.3 2.3 3.4 1.5 1.7 1.4 2.5
Manufacturing Industries: sa: New Orders %YOY -6.8 -17.9 -9.1 -10.1 -7.0 -6.3 -6.5 -3.3 -4.9 -5.7 -2.6 -2.0 -7.4
Industrial Production Index %YOY -1.8 -1.3 -1.4 -2.8 -2.7 -4.2 -4.7 -3.2 -3.4 -4.3 -2.5 -2.8 -1.8
Consumer Confidence Index (CCI): sa Index 99.8 91.0 101.3 102.6 99.1 92.6 96.3 97.8 94.0 96.1 94.7 92.4 97.4
2022 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike
Indicator Unit Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22
Retail Sales: sa %YOY 12.2 14.6 16.2 13.9 12.2 15.5 5.6 6.7
Manufacturing Industries: sa: New Orders %YOY 11.4 12.2 13.2 11.9 11.7 12.1 12.9 14.0
Industrial Production Index %YOY 4.4 4.7 5.3 3.4 3.7 7.5 5.6 5.5
Consumer Confidence Index (CCI): sa Index 109.8 111.6 111.9 115.2 111.1 105.7 107.6 108.6 106.4
ผลกระทบของนโยบายการเงินสหรัฐฯ ที่ตึงตัวขึ้นต่อภาวะการเงินโลก
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
10 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ Goldman Sachs
EIC คาดว่า การดาเนินนโยบายการเงินของสหรัฐฯ จะส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินโลกผ่าน 3 ช่องทาง ได้แก่ 1) อัตรา
ดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลที่ปรับสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนทางการเงินปรับสูงขึ้น
การตอบสนองของ 10Y Bond Yield ต่อการเพิ่มขึ้น 1 pp ใน Yield ของกลุ่ม G3*
หน่วย : percentage point
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของสหรัฐฯ และไทย
หน่วย : % (ข้อมูล ณ 17 มิ.ย. 2022)
• การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายและการลดขนาดงบดุล (QT) ของ Fed ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งกระทบต่อต้นทุนการกู้ยืมของทั้งภาคธุรกิจ
และผู้บริโภค รวมถึงอัตราดอกเบี้ยกู้ซื้อบ้าน (mortgage rates) ในตลาดอสังหาฯ โดยต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้นส่งผลให้ภาวะการเงินปรับตึงตัวขึ้น ทาให้อุปสงค์และกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มปรับลดลง
• การปรับเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ 10 ปี (UST 10Y yield) ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ รวมถึงไทยปรับเพิ่มขึ้นตาม กระทบกับต้นทุน
ของภาคธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจที่รายได้ยังคงเปราะบางจากเศรษฐกิจในประเทศที่อาจยังอ่อนแอ
• ทั้งนี้คาดว่าโอกาสที่จะเกิด market meltdown อย่างรุนแรงในอนาคตมีจากัด เนื่องจากธนาคารกลางต่าง ๆ มีการสื่อสารอย่างชัดเจนถึงแผนการทา QT รวมถึงได้ลดขนาดงบดุลผ่านการปล่อยให้
สินทรัพย์ครบกาหนดอายุมากกว่าที่จะขายสินทรัพย์ออก นอกจากนี้ ธนาคารกลางอีกหลายประเทศยังคงระดับสินทรัพย์ในระดับเดิม เช่น ยุโรป สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ่น
ก็ยังคงทา QE
1.25
0.8
0.6
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
1.4
Korea
Chile
Poland
Brazil
Indonesia
Thailand
Mexico
China
Taiwan
India
Malaysia
South
Africa
* G3 ประกอบด้วย สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
Jan-21
Feb-21
Mar-21
Apr-21
May-21
Jun-21
Jul-21
Aug-21
Sep-21
Oct-21
Nov-21
Dec-21
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
US 2Y TH 2Y US 10Y TH 10Y
3.3
1.86
3.2
3
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
11
y = -1.4038x - 4.9563
R² = 0.3427
-16
-14
-12
-10
-8
-6
-4
-2
0
-3 -2 -1 0 1 2 3 4
2) เงินทุนเคลื่อนย้ายมีแนวโน้มไหลกลับสู่สหรัฐฯ ตามทิศทางดอกเบี้ยสหรัฐฯ ที่จะปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์
สหรัฐ มีแนวโน้มแข็งค่าเทียบกับสกุลเงินเศรษฐกิจกาลังพัฒนาส่วนใหญ่ในปีนี้
คาดการณ์ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยกับสหรัฐฯ และการเปลี่ยนแปลงของค่าเงิน
หน่วย : %, อัปเดตล่าสุด : 16 มิ.ย. 2022
อัตราผลตอบแทนที่แท้จริงของสหรัฐฯ และดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : % (ข้อมูล ณ 17 มิ.ย. 2022)
• อัตราดอกเบี้ยในสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลให้เงินทุนเคลื่อนย้ายมีแนวโน้มไหลเข้าสหรัฐฯ ตามผลตอบแทนจากการถือเงินดอลลาร์สหรัฐที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐปรับ
แข็งค่าเทียบกับค่าเงินของประเทศอื่น
• ค่าเงินของประเทศอื่นโดยเฉพาะกลุ่มที่ยังดาเนินนโยบายแบบผ่อนคลาย จะมีส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยกับสหรัฐฯ (Interest rate differential) มาก ทาให้ค่าเงินมีแนวโน้มปรับอ่อนค่าลง
มากจากเงินทุนไหลออก เนื่องจากการถือเงินสกุลดังกล่าวจะให้ผลตอบแทนที่น้อยลงเมื่อเทียบกับสินทรัพย์สกุลดอลลาร์สหรัฐ
• เงินทุนเคลื่อนย้ายอาจไหลออกจากเศรษฐกิจกาลังพัฒนา (emerging markets: EM) มากขึ้นเมื่อเทียบกับในปี 2021 โดยมีแนวโน้มไหลเข้าสหรัฐฯ หรือ กลุ่มเศรษฐกิจพัฒนาแล้ว
(advanced economies: AE) ที่อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (หักอัตราเงินเฟ้อ) ดังนั้น สินทรัพย์เสี่ยงใน EM มีแนวโน้มเผชิญแรงกดดัน ทั้งในตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้น ส่งผลให้ค่าเงินในกลุ่ม
EM ปรับอ่อนค่าลงได้
หน่วย : ดัชนี
ค่าเงินของประเทศที่คาดว่าอัตราดอกเบี้ย ณ สิ้นปี
จะอยู่ต่ากว่าสหรัฐฯ มาก (มีส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย
กับสหรัฐฯ สูง) มีแนวโน้มปรับอ่อนค่าลง
ค่าเงินประเทศภูมิภาคอ่อนค่า
เทียบดอลลาร์สหรัฐ
Fed funds rate อยู่สูงกว่า
ดอกเบี้ยของประเทศนั้น ๆ
การเปลี
่
ย
นแปลงของค่
า
เงิ
น
(YTD)
ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยระหว่าง US และประเทศต่าง ๆ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ BIS
JPY
IND
IDR
CAD
PHP
AUD
THB
EUR
TWD
GBP
KRW
MYR
NZD
70
80
90
100
110
-1.5
-1
-0.5
0
0.5
1
1.5
Jan-15
Jul-15
Jan-16
Jul-16
Jan-17
Jul-17
Jan-18
Jul-18
Jan-19
Jul-19
Jan-20
Jul-20
Jan-21
Jul-21
Jan-22
U.S. 10Y Real yield DXY (แกนขวา)
0.66
104
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
12
3) สภาพคล่องในระบบที่ปรับลดลงตามการทา QT ของ Fed ส่งผลให้การลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกมีแนวโน้มปรับ
ลดลง ในระยะต่อไป ผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มเศรษฐกิจเกิดใหม่มีแนวโน้มลดลง
ดัชนีตลาดหลักทรัพย์สหรัฐฯ และไทยใน Tightening cycle ปี 2018
หน่วย : ดัชนี, 31/12/2016 = 100
ความสัมพันธ์ระหว่างงบดุลของธนาคารกลางสหรัฐฯ และดัชนีตลาดหุ้น EM
หน่วย : % change
• การดาเนินนโยบายการเงินที่ตึงตัวขึ้นของสหรัฐฯ จะส่งผลให้สภาพคล่องในระบบการเงินโลกลดลง โดยในปี 2020-2021 ที่ Fed ทา QE พบว่าราคาสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกปรับสูงขึ้น
ในทิศทางเดียวกับสภาพคล่องที่เพิ่มขึ้น ส่วนในช่วงที่ Fed ทา quantitative tightening (QT) สภาพคล่องลดลง ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์เสี่ยงปรับลดลง ในระยะต่อไป คาดว่าราคา
สินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกรวมถึงไทย มีแนวโน้มผันผวนและอาจปรับลดลงตามสภาพคล่องที่ลดลงอีก ซึ่งอาจกระทบต่อความมั่งคั่ง (wealth effect) ของทั้งภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน
• ทั้งนี้ในปี 2018-2019 การทา QT ของ Fed ส่งผลให้เกิดการขาดสภาพคล่องอย่างรุนแรง (liquidity crunch) ใน overnight-borrowing market ประกอบกับดัชนี S&P500 ปรับตัวลดลง
(-7% ในปี 2018) อย่างไรก็ดี EIC คาดว่าโอกาสเกิด liquidity crunch ในปัจจุบันมีจากัด เนื่องจาก Fed มี overnight-lending facility แต่อาจมีโอกาสที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกจะปรับ
ลดลงบ้าง
หน่วย : %
105%
-15%
106%
4%
104%
-4%
26%
-10%
-20%
10%
40%
70%
100%
Fed balance sheet
MSCI EM
0.75
1.25
1.75
2.25
2.75
90
110
130
150
170
Jan-17
Mar-17
May-17
Jul-17
Sep-17
Nov-17
Jan-18
Mar-18
May-18
Jul-18
Sep-18
Nov-18
SET Index
S&P500
MSCI EM
Fed funds rate (แกนขวา)
Rate hike + QT
2018
S&P500 -7%
SET -11%
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ BIS
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
13
Current
account
balance1
Gross public
debt1
Foreign
exchange
reserve1
Consumer
Prices2
External
debt3
Vulnerability
Index Score
Brazil -1.7 80.3 20.6 12.1 75.4 17
Turkey -1.7 42 8 70 54.3 16
Argentina 1.4 76.1 7.4 58 35.3 15
South Africa 3.7 69.1 10.3 5.9 55.9 14
Mexico -0.4 50.8 14 7.7 47.4 13
Chile -6.4 32.4 14.9 10.5 34.7 12
Philippines -1.8 60.4 24.1 4.9 27 11
Thailand -2.1 52.8 44.4 4.7 38.2 10
India 0.9 58.7 17 7.8 21.2 9
Indonesia 0.3 40.7 11.1 3.5 35 8
Malaysia 3.5 63.5 28.8 2.3 69.3 7
Vietnam -1.1 40.2 29.6 2.6 47.9 6
South Korea 4.9 45.6 24.4 4.8 35 5
Russia 6.9 16 26.3 17.8 27 4
Saudi Arabia 5.3 30 51.5 2.3 38.5 3
China 1.8 20.3 18.2 2.1 15.5 2
Taiwan 15 32.6 70.6 3.4 27.6 1
การดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของเศรษฐกิจหลัก โดยเฉพาะสหรัฐฯ มีแนวโน้มกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ในกลุ่มประเทศ EMs โดยประเทศที่มีความเปราะบางทางการเงินจะได้รับผลกระทบที่รุนแรงกว่า
ความอ่อนไหวต่อนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (Vulnerability Index)*
• นโยบายการเงินที่ตึงตัวขึ้นของสหรัฐฯ จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ EMs ต่างกัน โดยประเทศที่ขาดดุล
บัญชีเดินสะพัดสูง หนี้สาธารณะสูง เงินทุนสารองน้อย หนี้ต่างประเทศมาก เงินเฟ้อสูง (เสถียรภาพด้าน
ราคาต่า ทาให้ค่าเงินอ่อนจะยิ่งทาให้ปัญหาเงินเฟ้อในประเทศยิ่งรุนแรง) จะมีความเสี่ยงมาก
o โดยกลุ่มประเทศ LATAM มีความเสี่ยงมากที่สุด เนื่องจากทั้งเสถียรภาพด้านต่างประเทศ
และด้านราคาอ่อนแอ ส่วนไทยนั้นเสถียรภาพอ่อนแอลงจากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
และเงินเฟ้อที่เร่งตัว แต่คาดว่าจะปรับดีขึ้นได้ในช่วงปลายปีนี้ ตามการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว
• นอกจากนี้ การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจากการที่จีนล็อกดาวน์ในหลายพื้นที่มีแนวโน้มกระทบต่อ
ประเทศที่ส่งออกสินค้าไปยังจีนมาก
Argentina
Brazil
Chile
India
Indonesia
Malaysia
Mexico
Philippines
Russia
Saudi Arabia
South Africa
South Korea
Taiwan
Thailand
Turkey
Vietnam
0
2
4
6
8
10
12
14
16
0 2 4 6 8 10 12 14 16
ความอ่
อ
นไหวต่
อ
การเปลี
่
ย
นแปลงนโยบายของจี
น
(หน่
ว
ย
:
ดั
ช
นี
)
ความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (หน่วย : ดัชนี)
ดัชนีความอ่อนไหวของเศรษฐกิจต่อนโยบายการเงินสหรัฐฯ และการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน
หน่วย : 1As % of GDP, 2%YOY (เดือนเม.ย. 2022), 3As % of reserves ข้อมูล ณ สิ้นปี 2021
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC และ The Economist
นัยต่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย และค่าเงินบาท
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
15
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของไทยปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามทิศทางของอัตราผลตอบแทน US โดยคาดว่า
มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยในช่วงปลายปี
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ ThaiBMA
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยและสหรัฐฯ
หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 16 มิ.ย. 2022)
ปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลไทย
หน่วย : พันล้านบาท
ปัจจัยสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะยาว
EIC คาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี จะปรับเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 3-3.1% ณ สิ้นปี
2022 จาก
1. การเร่งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยและการลดขนาดงบดุลของ Fed ส่งผลให้ yield สหรัฐฯ
มีแนวโน้มปรับสูงขึ้นได้อีก โดย EIC คาดว่า yield อายุ 10 ปีของสหรัฐฯ จะปรับเพิ่มขึ้นอีก
เล็กน้อยในช่วงปลายปี นอกจากนี้ ความตึงเครียดจากสงครามรัสเซียยูเครนจะทาให้แรงกดดัน
เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น อาจกดดันให้ yield ปรับสูงขึ้นได้อีกในระยะสั้น
2. ทิศทางของอัตราผลตอบแทนในตลาดเงินโลกและไทยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นตามการปรับขึ้น
ดอกเบี้ยของธนาคารกลางต่าง ๆ โดยเฉพาะในสหรัฐฯ โดยการเปลี่ยนแปลงของ yield ไทย
อายุ 10 ปี มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของ yield สหรัฐฯ ถึง 80%
3. แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งปีหลัง ที่คาดว่าจะปรับดีขึ้นจากการฟื้นตัว
ของอุปสงค์ในประเทศ และจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่ทาให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยจะไม่ปรับสูงขึ้นเร็วนัก
• เงินเฟ้อของสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับลดลง และเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่จะชะลอลง ทาให้อัตรา
ผลตอบแทนฯ สหรัฐฯ จะไม่เพิ่มขึ้นเร็วนัก
• อุปทานพันธบัตรรัฐบาลไทยที่คาดว่าจะปรับลดลง ตามแผนระดมทุนในปีงบประมาณ 2023 ที่มี
แนวโน้มลดลงจากปีก่อนหน้า
0
100
200
300
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
พันธบัตรระยะสั้น (อายุน้อยกว่าเท่ากับ 1 ปี)
พันธบัตรระยะยาว (อายุมากกว่า 1 ปี)
Avg 5y TH = 2.1
Avg 5y US = 2.0
1.068
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Thailand (10y) US (10y) Thailand (1y) US (1y) 3.35
3
2.89
มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย
16
-40%
-20%
0%
20%
40%
60%
80%
1
ในระยะต่อไป แม้ค่าเงินบาทอาจมีแรงกดดันด้านอ่อนค่าจากการเร่งขึ้นดอกเบี้ยของ US แต่คาดว่าเงินบาทจะกลับมาแข็งค่าขึ้น
ในไตรมาส 4 ปี 2022 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยซึ่งมีแนวโน้มกระตุ้นเงินทุนไหลเข้า และดุลบัญชีเดินสะพัดที่จะกลับมาเกินดุล
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg
มุมมองค่าเงินบาทของ EIC ในระยะต่อไป
ในระยะสั้น เงินบาทอาจยังเผชิญแรงกดดันด้านอ่อนค่าเช่นเดียวกับสกุลเงินอื่นในภูมิภาค โดยคาดว่า
ค่าเงินบาทจะอยู่ในช่วง 34.5-35.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจาก
• การเร่งดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของ Fed ส่งผลให้ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย (Rate
differential) ระหว่าง US และประเทศต่าง ๆ ปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง
• ความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอย และความตึงเครียดจากสงครามรัสเซียยูเครน ส่งผลให้
นักลงทุนปิดรับความเสี่ยงและเข้าถือสินทรัพย์ปลอดภัยมากขึ้น
• ดุลบัญชีเดินสะพัดไทยยังขาดดุลสูงในช่วงครึ่งแรกของปี 2022 จากราคาพลังงานที่สูง ส่งผลให้
มูลค่าการนาเข้าปรับสูงขึ้น นอกจากนี้ เงินเฟ้อที่ปรับสูงขึ้นขณะที่เศรษฐกิจไทยยังไม่ฟื้นตัวมากนัก
ถือเป็นอีกปัจจัยที่กดดันค่าเงินบาท
ทั้งนี้ค่าเงินบาทในช่วงไตรมาส 4 มีแนวโน้มกลับมาแข็งค่าขึ้นในกรอบ 33.5-34.5 ต่อดอลลาร์สหรัฐ จาก
• เศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งปีหลังมีแนวโน้มปรับดีขึ้น ซึ่งจะช่วยกระตุ้น Portfolio flow จากนักลงทุน
ต่างชาติ
• ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มกลับมาเกินดุล จากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะเพิ่มขึ้น ประกอบกับ
ราคาน้ามันและค่าระวางเรือที่มีแนวโน้มลดลง
การศึกษาจากธนาคารแห่งประเทศไทยพบว่า ผลกระทบของเงินบาทที่อ่อนค่าต่อราคาสินค้าและบริการ
ในประเทศ (exchange rate passthrough) ยังต่า เนื่องจากส่วนประกอบที่นาเข้า (import content)
ในตะกร้าเงินเฟ้อของไทยมีสัดส่วนเพียง 17% จึงทาให้เงินเฟ้อไทยอ่อนไหวต่อราคาสินค้านาเข้าต่า
ปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อค่าเงินบาทในระยะต่อไป
หน่วย : %, บวกคือเงินบาทอ่อน
2022Q3 2022Q4
ปั
จ
จั
ย
ด้
า
นอ่
อ
นค่
า
ปั
จ
จั
ย
ด้
า
นแข็
ง
ค่
า
Relative Productivity US-TH
Relative Inflation US-TH
SET Index
TH Gov bond yield (10Y)
TH Current account
Interest rate differential US-TH
อ่อนค่า 2.98%QOQ แข็งค่า 3.98%QOQ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท
-90%
-40%
10%
1
EIC คาดว่า การที่ Fed ขึ้นดอกเบี้ยอีก 175 bps ในปีนี้
ขณะที่ไทยจะขึ้นเพียง 25 bps จะทาให้เงินบาทอ่อนค่าราว 5%
Relative productivity ระหว่างไทย และ US ดุลบัญชีเดินสะพัดไทย
ส่วนต่างอัตราผลตอบแทนระหว่างไทย และ US
Relative inflation ระหว่างไทย และ US
ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทย
อัตราผลตอบแทน
พันธบัตรรัฐบาลไทย
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf

More Related Content

Similar to EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf

เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...SCBEICSCB
 
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfEIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้านSCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้านSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
K bank multi asset strategies dec 2010  thai_K bank multi asset strategies dec 2010  thai_
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_KBank Fx Dealing Room
 
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุขสูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุขMarueyLibrary
 
K bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thaiK bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thaiKBank Fx Dealing Room
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
อัตราดอกเบี้ย mar 31
อัตราดอกเบี้ย mar 31อัตราดอกเบี้ย mar 31
อัตราดอกเบี้ย mar 31KBank Fx Dealing Room
 
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
KBank multi asset strategies   sept 2011 thaiKBank multi asset strategies   sept 2011 thai
KBank multi asset strategies sept 2011 thaiKBank Fx Dealing Room
 

Similar to EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf (20)

เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
 
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfEIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้านSCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
K bank multi asset strategies dec 2010  thai_K bank multi asset strategies dec 2010  thai_
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
 
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุขสูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
 
K bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thaiK bank multi asset strategies apr 2011 thai
K bank multi asset strategies apr 2011 thai
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
อัตราดอกเบี้ย mar 31
อัตราดอกเบี้ย mar 31อัตราดอกเบี้ย mar 31
อัตราดอกเบี้ย mar 31
 
sept 2011 thai
   sept 2011 thai   sept 2011 thai
sept 2011 thai
 
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
KBank multi asset strategies   sept 2011 thaiKBank multi asset strategies   sept 2011 thai
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
 

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 

EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf

  • 3. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 3 ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ปรับขึ้นดอกเบี้ย 0.75% สู่ระดับ 1.5-1.75% ในเดือนมิ.ย. จากเงินเฟ้อที่ยังร้อนแรงกว่าที่คาด พร้อมส่งสัญญาณว่าจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีก 50-75 bps ในการประชุมครั้งต่อไป ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Federal Reserve คาดการณ์ตัวเลขเศรษฐกิจโดยคณะกรรมการ Fed ณ เดือนมิ.ย. 2022 ( ) = คาดการณ์ครั้งก่อนในเดือนมี.ค. 2022 การคาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของคณะกรรมการ Fed ณ เดือนมิ.ย. 2022 Unit: % (Median) 2022 2023 2024 Longer run Real GDP 1.7 (2.8) 1.7 (2.2) 1.9 (2) 1.8 (1.8) Unemployment rate 3.7 (3.5) 3.9 (3.5) 4.1 (3.6) 4.0 (4.0) PCE Inflation 5.2 (4.3) 2.6 (2.7) 2.2 (2.3) 2.0 (2.0) Core PCE Inflation 4.3 (4.1) 2.7 (2.6) 2.3 (2.3) - Policy rate 3.4 (1.9) 3.8 (2.8) 3.4 (2.8) 2.5 (2.4) 3.0 2.0 2.5 3.5 4.0 4.5 2022 Median 3.4% 2023 Median 3.8% 2024 Median 3.4% Longer run Median 2.5% • Fed ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 75 bps สู่ระดับ 1.5-1.75% ในการประชุมวันที่ 15 มิ.ย. 2022 ซึ่งถือเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ปี 1994 เนื่องจากตัวเลขดัชนีราคา ผู้บริโภค CPI ในเดือนพ.ค. ยังเร่งตัวต่อเนื่อง (8.6%) และไม่มีสัญญาณว่าจะชะลอลง ประกอบกับการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อระยะยาวของภาคครัวเรือนเริ่มปรับสูงขึ้นเป็น 3.3% ในเดือนมิ.ย. จากเดิมที่ 3% ในเดือนก.พ. ถึง พ.ค. • ประธาน Fed กล่าวว่า การประชุมครั้งถัดไปอาจปรับขึ้นดอกเบี้ย 50-75 bps ขึ้นกับตัวเลขทางเศรษฐกิจในเวลานั้น ซึ่งการขึ้นดอกเบี้ยครั้งละ 75 bps ไม่ใช่เรื่องปกติที่จะเกิดขึ้นเป็นประจา นอกจากนี้ ประธาน Fed ยังกล่าวว่า โอกาสที่ Fed จะทาให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ สามารถ soft landing ได้เริ่มแคบลงและยากขึ้นมาก เนื่องจากมีปัจจัยที่ Fed ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น สงครามรัสเซียยูเครน การปิดเมืองของจีน รวมถึงราคาน้ามันและราคาอาหารที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของ Fed โดย Fed มีเป้าหมายที่จะลดความตึงตัวในตลาดแรงงานลง แม้อัตราการว่างงานอาจปรับสูงขึ้นเป็น 4.1% ในปี 2024 แต่ยังถือว่าอยู่ในระดับที่ต่ามากเมื่อเทียบกับระดับปกติของสหรัฐฯ ซึ่ง Fed จะพยายามเลี่ยงไม่ให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ เกิด recession • คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Median dot plot) ของ Fed แสดงการปรับขึ้นดอกเบี้ยอีก 1.75% ในปีนี้ โดยคาดว่าอัตราดอกเบี้ยจะปรับตัวขึ้นสู่ระดับ 3.4% ในสิ้นปีนี้ และ 3.8% ในสิ้นปีหน้า และจะปรับลดลงสู่ 3.4% ในปี 2024 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยระยะยาวคาดว่าจะอยู่ที่ 2.5%
  • 4. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 4 หลังการประชุม Fed ดัชนีเงินดอลลาร์ปรับอ่อนค่าลงหลังจากที่แข็งค่านาไปมากในช่วงก่อนประชุม ขณะที่ US bond yield 2 ปี และ 10 ปี ลดลงราว 25 bps ด้านตลาดหุ้นสหรัฐฯ ปรับลดลงในวันถัดมาจากความกังวลต่อ Recession ส่วนเงินบาทอ่อนค่าลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบต่อดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิ.ย. 2022) อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ปี และ 10 ปี ของไทยและสหรัฐฯ หน่วย : % -0.3% -2.7% -0.9% -2.2% 1.2% -7.9% -7.5% -7.0% -6.0% -5.7% -5.3% -5.0% -4.7% -3.9% -1.7% 9.2% -14% -4% 6% Japan Korea Europe Taiwan Thailand Philippines Malaysia China India Indonesia Vietnam Dollar index After US CPI published (10June) YTD 0.5 1.5 2.5 3.5 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 TH10 US10 TH2 US2 ดัชนีตลาดหุ้นไทยและสหรัฐฯ หน่วย : ดัชนี 3,500 4,000 4,500 1,550 1,650 1,750 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 SET Index S&P500 (แกนขวา) Market response ก่อนการประชุม Fed (14 มิ.ย.) จนถึงปัจจุบัน (20 มิ.ย.) Dollar index ปรับอ่อนค่าลง 1% ค่าเงินบาทปรับอ่อนค่าลง 0.8% มาอยู่ที่ 35.3 2Y U.S. bond yield ลดลงราว 25 bps 10Y U.S. bond yield ลดลงราว 25 bps ตลาดหุ้น US ทั้ง Nasdaq, S&P500 และ Dow Jones ปรับลดลงราว 4.5%, 2% และ 2% ตามความกังวลต่อการเกิดภาวะ recession
  • 6. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 6 EIC คาดว่า Fed จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 75 bps ในเดือนก.ค. ซึ่งเป็นการขึ้นที่แรงกว่าในอดีต เนื่องจากเงินเฟ้อยังเร่งตัวสูงขึ้น ต่อเนื่องและยังไม่มีสัญญาณชะลอลง ประกอบกับการคาดการณ์เงินเฟ้อระยะยาวเริ่มปรับสูงขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC, U.S. Bureau of Economic Analysis และ the Federal Reserve Bank of St. Louis ดัชนีเกี่ยวกับระดับราคาและเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ในช่วง tightening cycle แต่ละรอบ หน่วย : %YOY, %YOY, %YOY, % 2004 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Dec-03 Jan-04 Feb-04 Mar-04 Apr-04 May-04 Jun-04 Jul-04 Aug-04 Sep-04 Oct-04 Nov-04 Dec-04 Headline CPI %YOY 1.9 1.9 1.7 1.7 2.3 3.1 3.3 3.0 2.7 2.5 3.2 3.5 3.3 Core CPI %YOY 1.1 1.1 1.2 1.6 1.8 1.7 1.9 1.8 1.7 2.0 2.0 2.2 2.2 PPI %YOY 5.0 4.5 3.3 1.3 5.8 7.4 6.7 7.0 7.2 6.6 7.7 9.0 7.7 5-year inflation expectation % 2.8 2.8 2.9 2.9 2.7 2.8 2.9 2.8 2.7 2.8 2.8 2.7 2.8 2015 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Jun-15 Jul-15 Aug-15 Sep-15 Oct-15 Nov-15 Dec-15 Jan-16 Feb-16 Mar-16 Apr-16 May-16 Jun-16 Headline CPI %YOY 0.1 0.2 0.2 0.0 0.2 0.5 0.7 1.4 1.0 0.9 1.1 1.0 1.0 Core CPI %YOY 1.8 1.8 1.8 1.9 1.9 2.0 2.1 2.2 2.3 2.2 2.1 2.2 2.2 PPI %YOY -6.5 -6.8 -7.3 -8.4 -7.8 -7.6 -6.9 -4.9 -5.1 -4.9 -4.0 -4.2 -3.7 5-year inflation expectation % 2.6 2.8 2.7 2.7 2.5 2.6 2.6 2.7 2.5 2.7 2.5 2.5 2.6 2022 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Headline CPI %YOY 5.4 6.2 6.8 7.0 7.5 7.9 8.5 8.3 8.6 Core CPI %YOY 4.0 4.6 4.9 5.5 6.0 6.4 6.5 6.2 6.0 PPI %YOY 20.6 22.4 22.7 20.4 20.3 19.9 20.6 21.5 5-year inflation expectation % 3.0 2.9 3.0 2.9 3.1 3.0 3.0 3.0 3.0 3.3 = Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย EIC คาดว่า Fed จะปรับขึ้นดอกเบี้ยเร็ว และแรงกว่าในอดีต เนื่องจาก • แรงกดดันเงินเฟ้อในปัจจุบันยังอยู่ในระดับสูง โดยหาก เปรียบเทียบกับ hiking cycle ในปี 2004 และ 2015 อัตรา เงินเฟ้ออยู่ที่ราว 3% และ 0.5% ตามลาดับ Fed ได้ปรับ ขึ้นดอกเบี้ยครั้งละ 25 bps ขณะที่เงินเฟ้อในปัจจุบันอยู่ที่ 8.6% ซึ่งสูงกว่าในอดีตมาก ทาให้ Fed มีความจาเป็นต้อง ปรับขึ้นดอกเบี้ยในครั้งเดียวถึง 50-75 bps • คาดการณ์เงินเฟ้อระยะยาวของผู้บริโภคเริ่มปรับสูงขึ้น เป็น 3.3% ในเดือนมิ.ย. จาก 3% ในเดือนก.พ. ถึง พ.ค. ขณะที่คาดการณ์เงินเฟ้อในอีก 1 ปีข้างหน้าเพิ่มขึ้นสู่ 5.4% สะท้อนถึงมุมมองของผู้บริโภคที่เชื่อว่าเงินเฟ้อ จะยังไม่ลดลงสู่กรอบเป้าหมายได้ในระยะเวลาอันใกล้ ซึ่งแตกต่างจาก hiking cycle ในอดีตที่คาดการณ์เงินเฟ้อ อยู่ในระดับต่ากว่า 3% EIC คาดว่า Fed จะขึ้นดอกเบี้ย 75 และ 50 bps ในเดือน ก.ค. และ ก.ย. และขึ้นอีก 25 bps ในเดือนพ.ย. และ ธ.ค. ส่งผลให้ Fed funds rate จะอยู่ที่ระดับ 3.25-3.5% ณ สิ้น ปี 2022
  • 7. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 7 2004 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Dec-03 Jan-04 Feb-04 Mar-04 Apr-04 May-04 Jun-04 Jul-04 Aug-04 Sep-04 Oct-04 Nov-04 Dec-04 Unemployment rate % 5.7 5.7 5.6 5.8 5.6 5.6 5.6 5.5 5.4 5.4 5.5 5.4 5.4 Job openings rates % 2.5 2.6 2.6 2.6 2.6 2.7 2.5 2.8 2.6 2.8 2.9 2.6 3.0 Average Hourly Earnings: Total Private %YOY N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A Nonfarm Private Payroll Employment %YOY 0.4 0.5 0.6 0.9 1.0 1.3 1.4 1.5 1.4 1.4 1.6 1.8 1.9 2015 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Jun-15 Jul-15 Aug-15 Sep-15 Oct-15 Nov-15 Dec-15 Jan-16 Feb-16 Mar-16 Apr-16 May-16 Jun-16 Unemployment rate % 5.3 5.2 5.1 5.0 5.0 5.1 5.0 4.8 4.9 5.0 5.1 4.8 4.9 Job openings rates % 3.6 4.1 3.7 3.7 3.9 3.8 3.9 4.0 3.9 4.1 3.9 3.9 3.8 Average Hourly Earnings: Total Private %YOY 2.2 2.2 2.2 2.2 2.5 2.4 2.5 2.5 2.5 2.5 2.6 2.4 2.6 Nonfarm Private Payroll Employment %YOY 2.4 2.4 2.3 2.2 2.2 2.1 2.1 2.0 2.1 2.1 2.0 1.8 2.0 2022 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Unemployment rate % 4.7 4.6 4.2 3.9 4.0 3.8 3.6 3.6 3.6 Job openings rate % 6.8 7.0 6.8 7.1 7.0 7.0 7.3 7.0 Average Hourly Earnings: Total Private %YOY 4.8 5.4 5.3 4.9 5.4 5.2 5.6 5.5 5.2 Nonfarm Private Payroll Employment %YOY 5.6 5.4 5.3 5.7 5.7 5.8 5.2 4.8 4.2 นอกจากนี้ ตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ในปัจจุบันฟื้นตัวได้อย่างแข็งแกร่งและอยู่ในภาวะที่ตึงตัวกว่า hiking cycle* ในอดีตมาก อีกทั้ง อัตราการเปิดรับสมัครงานยังคงอยู่ในระดับสูง กดดันให้ค่าจ้างปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หมายเหตุ : *วัฏจักรการขึ้นดอกเบี้ย ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC, U.S. Bureau of Economic Analysis และ the Federal Reserve Bank of St. Louis ดัชนีเกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจจริงของสหรัฐฯ ในช่วง tightening cycle แต่ละรอบ หน่วย : %YOY, %YOY, %YOY, Index = Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย • อัตราการว่างงานของสหรัฐฯ ในเดือน พ.ค. 2022 อยู่ที่ 3.6% ซึ่งเป็นระดับ เดียวกับช่วงก่อน COVID-19 แล้ว (ธ.ค. 2019) และยังต่ากว่าระดับอัตราการ ว่างงานที่ไม่ทาให้เงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น (The Non-Accelerating Inflation Rate of Unemployment หรือ NAIRU) ที่ 4.5% สะท้อนตลาดแรงงานสหรัฐฯ ที่ตึงตัวมาก โดยอัตราการว่างงานใน ปัจจุบันอยู่ในระดับที่ต่ากว่าใน hiking cycle รอบก่อนที่ Fed เริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ดังนั้น นโยบายการเงินของสหรัฐฯ ใน ปัจจุบันยังถือว่าอยู่ในระดับที่ผ่อนคลาย เมื่อเทียบกับการฟื้นตัวของตลาดแรงงาน • อัตราการเปิดรับสมัครงาน (job openings) ยังคงอยู่ในระดับสูง กดดันให้ ค่าจ้างปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้ อัตราเงินเฟ้อในปัจจุบันมีแนวโน้มปรับ สูงขึ้นเร็วเมื่อเทียบกับในอดีตที่ไม่มีปัจจัย ด้านค่าแรงร่วมกดดัน
  • 8. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 8 การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปัจจุบันอยู่ในภาวะแข็งแกร่งมากเมื่อเทียบกับ hiking cycle ในอดีต โดยทั้งการบริโภค ภาคเอกชนและกิจกรรมในภาคการผลิตยังคงฟื้นตัวได้ดีต่อเนื่อง ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC, U.S. Bureau of Economic Analysis และ the Federal Reserve Bank of St. Louis ดัชนีเกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจจริงของสหรัฐฯ ในช่วง tightening cycle แต่ละรอบ หน่วย : %YOY, %YOY, %YOY, Index = Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ย • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอยู่ในภาวะ แข็งแกร่ง โดยการบริโภคและการผลิตใน ปัจจุบันขยายตัวสูงกว่าใน hiking cycle รอบก่อนหน้า สะท้อนว่าเศรษฐกิจมีความ แข็งแกร่งมากกว่าช่วง hiking cycle ในอดีต และจะสามารถรองรับการดาเนิน นโยบายการเงินที่ตึงตัวเร็วได้ดีกว่า • การบริโภคภาคเอกชน (68% of GDP) ขยายตัวกว่า 2-digit ในช่วงที่ผ่านมา แม้ชะลอลงในเดือนล่าสุด (พ.ค.) จากภาวะการเงินที่ตึงตัวขึ้น เช่นเดียวกันกับ ยอดสั่งซื้อสินค้าใหม่ ที่สะท้อนอุปสงค์ อนาคต ขยายตัวในระดับสูงสุดที่ 14% ในเดือนเม.ย. นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่น ของผู้บริโภคก็อยู่ในระดับสูงกว่า hiking cycle รอบก่อนหน้า • กิจกรรมในภาคการผลิตฟื้นตัวได้ดี สะท้อนจากดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม (industrial production) ที่ขยายตัวดี และอยู่ในระดับสูงกว่าช่วงเวลา hiking cycle รอบก่อนหน้า 2004 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Dec-03 Jan-04 Feb-04 Mar-04 Apr-04 May-04 Jun-04 Jul-04 Aug-04 Sep-04 Oct-04 Nov-04 Dec-04 Retail Sales_sa %YOY 4.4 4.4 6.7 6.9 5.9 7.8 5.1 5.1 3.6 6.0 7.4 6.4 8.0 Manufacturing Industries: sa: New Orders %YOY 7.4 4.7 3.3 7.2 8.7 8.3 7.9 8.2 7.7 7.4 6.6 10.0 9.7 Industrial Production Index %YOY 2.1 1.1 2.0 1.6 2.6 3.5 2.7 3.9 3.0 2.0 3.2 2.6 3.6 Consumer Confidence Index (CCI): sa Index 94.8 97.7 88.5 88.5 93.0 93.1 102.8 105.7 98.7 96.7 92.9 92.6 102.7 2015 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Jun-15 Jul-15 Aug-15 Sep-15 Oct-15 Nov-15 Dec-15 Jan-16 Feb-16 Mar-16 Apr-16 May-16 Jun-16 Retail Sales: sa %YOY 1.8 2.5 1.7 1.7 1.0 1.2 2.3 2.3 3.4 1.5 1.7 1.4 2.5 Manufacturing Industries: sa: New Orders %YOY -6.8 -17.9 -9.1 -10.1 -7.0 -6.3 -6.5 -3.3 -4.9 -5.7 -2.6 -2.0 -7.4 Industrial Production Index %YOY -1.8 -1.3 -1.4 -2.8 -2.7 -4.2 -4.7 -3.2 -3.4 -4.3 -2.5 -2.8 -1.8 Consumer Confidence Index (CCI): sa Index 99.8 91.0 101.3 102.6 99.1 92.6 96.3 97.8 94.0 96.1 94.7 92.4 97.4 2022 tightening cycle 6 months after 1st hike 1st hike 6 months after 1st hike Indicator Unit Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Retail Sales: sa %YOY 12.2 14.6 16.2 13.9 12.2 15.5 5.6 6.7 Manufacturing Industries: sa: New Orders %YOY 11.4 12.2 13.2 11.9 11.7 12.1 12.9 14.0 Industrial Production Index %YOY 4.4 4.7 5.3 3.4 3.7 7.5 5.6 5.5 Consumer Confidence Index (CCI): sa Index 109.8 111.6 111.9 115.2 111.1 105.7 107.6 108.6 106.4
  • 10. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 10 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ Goldman Sachs EIC คาดว่า การดาเนินนโยบายการเงินของสหรัฐฯ จะส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินโลกผ่าน 3 ช่องทาง ได้แก่ 1) อัตรา ดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลที่ปรับสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนทางการเงินปรับสูงขึ้น การตอบสนองของ 10Y Bond Yield ต่อการเพิ่มขึ้น 1 pp ใน Yield ของกลุ่ม G3* หน่วย : percentage point อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของสหรัฐฯ และไทย หน่วย : % (ข้อมูล ณ 17 มิ.ย. 2022) • การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายและการลดขนาดงบดุล (QT) ของ Fed ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งกระทบต่อต้นทุนการกู้ยืมของทั้งภาคธุรกิจ และผู้บริโภค รวมถึงอัตราดอกเบี้ยกู้ซื้อบ้าน (mortgage rates) ในตลาดอสังหาฯ โดยต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้นส่งผลให้ภาวะการเงินปรับตึงตัวขึ้น ทาให้อุปสงค์และกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มปรับลดลง • การปรับเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ 10 ปี (UST 10Y yield) ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ รวมถึงไทยปรับเพิ่มขึ้นตาม กระทบกับต้นทุน ของภาคธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจที่รายได้ยังคงเปราะบางจากเศรษฐกิจในประเทศที่อาจยังอ่อนแอ • ทั้งนี้คาดว่าโอกาสที่จะเกิด market meltdown อย่างรุนแรงในอนาคตมีจากัด เนื่องจากธนาคารกลางต่าง ๆ มีการสื่อสารอย่างชัดเจนถึงแผนการทา QT รวมถึงได้ลดขนาดงบดุลผ่านการปล่อยให้ สินทรัพย์ครบกาหนดอายุมากกว่าที่จะขายสินทรัพย์ออก นอกจากนี้ ธนาคารกลางอีกหลายประเทศยังคงระดับสินทรัพย์ในระดับเดิม เช่น ยุโรป สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ่น ก็ยังคงทา QE 1.25 0.8 0.6 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 1.4 Korea Chile Poland Brazil Indonesia Thailand Mexico China Taiwan India Malaysia South Africa * G3 ประกอบด้วย สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 Jan-21 Feb-21 Mar-21 Apr-21 May-21 Jun-21 Jul-21 Aug-21 Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 US 2Y TH 2Y US 10Y TH 10Y 3.3 1.86 3.2 3
  • 11. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 11 y = -1.4038x - 4.9563 R² = 0.3427 -16 -14 -12 -10 -8 -6 -4 -2 0 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 2) เงินทุนเคลื่อนย้ายมีแนวโน้มไหลกลับสู่สหรัฐฯ ตามทิศทางดอกเบี้ยสหรัฐฯ ที่จะปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์ สหรัฐ มีแนวโน้มแข็งค่าเทียบกับสกุลเงินเศรษฐกิจกาลังพัฒนาส่วนใหญ่ในปีนี้ คาดการณ์ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยกับสหรัฐฯ และการเปลี่ยนแปลงของค่าเงิน หน่วย : %, อัปเดตล่าสุด : 16 มิ.ย. 2022 อัตราผลตอบแทนที่แท้จริงของสหรัฐฯ และดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % (ข้อมูล ณ 17 มิ.ย. 2022) • อัตราดอกเบี้ยในสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลให้เงินทุนเคลื่อนย้ายมีแนวโน้มไหลเข้าสหรัฐฯ ตามผลตอบแทนจากการถือเงินดอลลาร์สหรัฐที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐปรับ แข็งค่าเทียบกับค่าเงินของประเทศอื่น • ค่าเงินของประเทศอื่นโดยเฉพาะกลุ่มที่ยังดาเนินนโยบายแบบผ่อนคลาย จะมีส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยกับสหรัฐฯ (Interest rate differential) มาก ทาให้ค่าเงินมีแนวโน้มปรับอ่อนค่าลง มากจากเงินทุนไหลออก เนื่องจากการถือเงินสกุลดังกล่าวจะให้ผลตอบแทนที่น้อยลงเมื่อเทียบกับสินทรัพย์สกุลดอลลาร์สหรัฐ • เงินทุนเคลื่อนย้ายอาจไหลออกจากเศรษฐกิจกาลังพัฒนา (emerging markets: EM) มากขึ้นเมื่อเทียบกับในปี 2021 โดยมีแนวโน้มไหลเข้าสหรัฐฯ หรือ กลุ่มเศรษฐกิจพัฒนาแล้ว (advanced economies: AE) ที่อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (หักอัตราเงินเฟ้อ) ดังนั้น สินทรัพย์เสี่ยงใน EM มีแนวโน้มเผชิญแรงกดดัน ทั้งในตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้น ส่งผลให้ค่าเงินในกลุ่ม EM ปรับอ่อนค่าลงได้ หน่วย : ดัชนี ค่าเงินของประเทศที่คาดว่าอัตราดอกเบี้ย ณ สิ้นปี จะอยู่ต่ากว่าสหรัฐฯ มาก (มีส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย กับสหรัฐฯ สูง) มีแนวโน้มปรับอ่อนค่าลง ค่าเงินประเทศภูมิภาคอ่อนค่า เทียบดอลลาร์สหรัฐ Fed funds rate อยู่สูงกว่า ดอกเบี้ยของประเทศนั้น ๆ การเปลี ่ ย นแปลงของค่ า เงิ น (YTD) ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยระหว่าง US และประเทศต่าง ๆ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ BIS JPY IND IDR CAD PHP AUD THB EUR TWD GBP KRW MYR NZD 70 80 90 100 110 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 Jan-15 Jul-15 Jan-16 Jul-16 Jan-17 Jul-17 Jan-18 Jul-18 Jan-19 Jul-19 Jan-20 Jul-20 Jan-21 Jul-21 Jan-22 U.S. 10Y Real yield DXY (แกนขวา) 0.66 104
  • 12. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 12 3) สภาพคล่องในระบบที่ปรับลดลงตามการทา QT ของ Fed ส่งผลให้การลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกมีแนวโน้มปรับ ลดลง ในระยะต่อไป ผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มเศรษฐกิจเกิดใหม่มีแนวโน้มลดลง ดัชนีตลาดหลักทรัพย์สหรัฐฯ และไทยใน Tightening cycle ปี 2018 หน่วย : ดัชนี, 31/12/2016 = 100 ความสัมพันธ์ระหว่างงบดุลของธนาคารกลางสหรัฐฯ และดัชนีตลาดหุ้น EM หน่วย : % change • การดาเนินนโยบายการเงินที่ตึงตัวขึ้นของสหรัฐฯ จะส่งผลให้สภาพคล่องในระบบการเงินโลกลดลง โดยในปี 2020-2021 ที่ Fed ทา QE พบว่าราคาสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกปรับสูงขึ้น ในทิศทางเดียวกับสภาพคล่องที่เพิ่มขึ้น ส่วนในช่วงที่ Fed ทา quantitative tightening (QT) สภาพคล่องลดลง ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์เสี่ยงปรับลดลง ในระยะต่อไป คาดว่าราคา สินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกรวมถึงไทย มีแนวโน้มผันผวนและอาจปรับลดลงตามสภาพคล่องที่ลดลงอีก ซึ่งอาจกระทบต่อความมั่งคั่ง (wealth effect) ของทั้งภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน • ทั้งนี้ในปี 2018-2019 การทา QT ของ Fed ส่งผลให้เกิดการขาดสภาพคล่องอย่างรุนแรง (liquidity crunch) ใน overnight-borrowing market ประกอบกับดัชนี S&P500 ปรับตัวลดลง (-7% ในปี 2018) อย่างไรก็ดี EIC คาดว่าโอกาสเกิด liquidity crunch ในปัจจุบันมีจากัด เนื่องจาก Fed มี overnight-lending facility แต่อาจมีโอกาสที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกจะปรับ ลดลงบ้าง หน่วย : % 105% -15% 106% 4% 104% -4% 26% -10% -20% 10% 40% 70% 100% Fed balance sheet MSCI EM 0.75 1.25 1.75 2.25 2.75 90 110 130 150 170 Jan-17 Mar-17 May-17 Jul-17 Sep-17 Nov-17 Jan-18 Mar-18 May-18 Jul-18 Sep-18 Nov-18 SET Index S&P500 MSCI EM Fed funds rate (แกนขวา) Rate hike + QT 2018 S&P500 -7% SET -11% ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ BIS
  • 13. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 13 Current account balance1 Gross public debt1 Foreign exchange reserve1 Consumer Prices2 External debt3 Vulnerability Index Score Brazil -1.7 80.3 20.6 12.1 75.4 17 Turkey -1.7 42 8 70 54.3 16 Argentina 1.4 76.1 7.4 58 35.3 15 South Africa 3.7 69.1 10.3 5.9 55.9 14 Mexico -0.4 50.8 14 7.7 47.4 13 Chile -6.4 32.4 14.9 10.5 34.7 12 Philippines -1.8 60.4 24.1 4.9 27 11 Thailand -2.1 52.8 44.4 4.7 38.2 10 India 0.9 58.7 17 7.8 21.2 9 Indonesia 0.3 40.7 11.1 3.5 35 8 Malaysia 3.5 63.5 28.8 2.3 69.3 7 Vietnam -1.1 40.2 29.6 2.6 47.9 6 South Korea 4.9 45.6 24.4 4.8 35 5 Russia 6.9 16 26.3 17.8 27 4 Saudi Arabia 5.3 30 51.5 2.3 38.5 3 China 1.8 20.3 18.2 2.1 15.5 2 Taiwan 15 32.6 70.6 3.4 27.6 1 การดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของเศรษฐกิจหลัก โดยเฉพาะสหรัฐฯ มีแนวโน้มกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในกลุ่มประเทศ EMs โดยประเทศที่มีความเปราะบางทางการเงินจะได้รับผลกระทบที่รุนแรงกว่า ความอ่อนไหวต่อนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (Vulnerability Index)* • นโยบายการเงินที่ตึงตัวขึ้นของสหรัฐฯ จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ EMs ต่างกัน โดยประเทศที่ขาดดุล บัญชีเดินสะพัดสูง หนี้สาธารณะสูง เงินทุนสารองน้อย หนี้ต่างประเทศมาก เงินเฟ้อสูง (เสถียรภาพด้าน ราคาต่า ทาให้ค่าเงินอ่อนจะยิ่งทาให้ปัญหาเงินเฟ้อในประเทศยิ่งรุนแรง) จะมีความเสี่ยงมาก o โดยกลุ่มประเทศ LATAM มีความเสี่ยงมากที่สุด เนื่องจากทั้งเสถียรภาพด้านต่างประเทศ และด้านราคาอ่อนแอ ส่วนไทยนั้นเสถียรภาพอ่อนแอลงจากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด และเงินเฟ้อที่เร่งตัว แต่คาดว่าจะปรับดีขึ้นได้ในช่วงปลายปีนี้ ตามการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว • นอกจากนี้ การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจากการที่จีนล็อกดาวน์ในหลายพื้นที่มีแนวโน้มกระทบต่อ ประเทศที่ส่งออกสินค้าไปยังจีนมาก Argentina Brazil Chile India Indonesia Malaysia Mexico Philippines Russia Saudi Arabia South Africa South Korea Taiwan Thailand Turkey Vietnam 0 2 4 6 8 10 12 14 16 0 2 4 6 8 10 12 14 16 ความอ่ อ นไหวต่ อ การเปลี ่ ย นแปลงนโยบายของจี น (หน่ ว ย : ดั ช นี ) ความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (หน่วย : ดัชนี) ดัชนีความอ่อนไหวของเศรษฐกิจต่อนโยบายการเงินสหรัฐฯ และการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน หน่วย : 1As % of GDP, 2%YOY (เดือนเม.ย. 2022), 3As % of reserves ข้อมูล ณ สิ้นปี 2021 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CEIC และ The Economist
  • 15. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 15 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวของไทยปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามทิศทางของอัตราผลตอบแทน US โดยคาดว่า มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยในช่วงปลายปี ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg และ ThaiBMA อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยและสหรัฐฯ หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 16 มิ.ย. 2022) ปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลไทย หน่วย : พันล้านบาท ปัจจัยสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะยาว EIC คาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี จะปรับเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 3-3.1% ณ สิ้นปี 2022 จาก 1. การเร่งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยและการลดขนาดงบดุลของ Fed ส่งผลให้ yield สหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับสูงขึ้นได้อีก โดย EIC คาดว่า yield อายุ 10 ปีของสหรัฐฯ จะปรับเพิ่มขึ้นอีก เล็กน้อยในช่วงปลายปี นอกจากนี้ ความตึงเครียดจากสงครามรัสเซียยูเครนจะทาให้แรงกดดัน เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น อาจกดดันให้ yield ปรับสูงขึ้นได้อีกในระยะสั้น 2. ทิศทางของอัตราผลตอบแทนในตลาดเงินโลกและไทยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นตามการปรับขึ้น ดอกเบี้ยของธนาคารกลางต่าง ๆ โดยเฉพาะในสหรัฐฯ โดยการเปลี่ยนแปลงของ yield ไทย อายุ 10 ปี มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของ yield สหรัฐฯ ถึง 80% 3. แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งปีหลัง ที่คาดว่าจะปรับดีขึ้นจากการฟื้นตัว ของอุปสงค์ในประเทศ และจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้น ปัจจัยที่ทาให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยจะไม่ปรับสูงขึ้นเร็วนัก • เงินเฟ้อของสหรัฐฯ มีแนวโน้มปรับลดลง และเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่จะชะลอลง ทาให้อัตรา ผลตอบแทนฯ สหรัฐฯ จะไม่เพิ่มขึ้นเร็วนัก • อุปทานพันธบัตรรัฐบาลไทยที่คาดว่าจะปรับลดลง ตามแผนระดมทุนในปีงบประมาณ 2023 ที่มี แนวโน้มลดลงจากปีก่อนหน้า 0 100 200 300 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 พันธบัตรระยะสั้น (อายุน้อยกว่าเท่ากับ 1 ปี) พันธบัตรระยะยาว (อายุมากกว่า 1 ปี) Avg 5y TH = 2.1 Avg 5y US = 2.0 1.068 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Thailand (10y) US (10y) Thailand (1y) US (1y) 3.35 3 2.89
  • 16. มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ และนัยต่อตลาดการเงินไทย 16 -40% -20% 0% 20% 40% 60% 80% 1 ในระยะต่อไป แม้ค่าเงินบาทอาจมีแรงกดดันด้านอ่อนค่าจากการเร่งขึ้นดอกเบี้ยของ US แต่คาดว่าเงินบาทจะกลับมาแข็งค่าขึ้น ในไตรมาส 4 ปี 2022 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยซึ่งมีแนวโน้มกระตุ้นเงินทุนไหลเข้า และดุลบัญชีเดินสะพัดที่จะกลับมาเกินดุล ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Bloomberg มุมมองค่าเงินบาทของ EIC ในระยะต่อไป ในระยะสั้น เงินบาทอาจยังเผชิญแรงกดดันด้านอ่อนค่าเช่นเดียวกับสกุลเงินอื่นในภูมิภาค โดยคาดว่า ค่าเงินบาทจะอยู่ในช่วง 34.5-35.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจาก • การเร่งดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของ Fed ส่งผลให้ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย (Rate differential) ระหว่าง US และประเทศต่าง ๆ ปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง • ความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอย และความตึงเครียดจากสงครามรัสเซียยูเครน ส่งผลให้ นักลงทุนปิดรับความเสี่ยงและเข้าถือสินทรัพย์ปลอดภัยมากขึ้น • ดุลบัญชีเดินสะพัดไทยยังขาดดุลสูงในช่วงครึ่งแรกของปี 2022 จากราคาพลังงานที่สูง ส่งผลให้ มูลค่าการนาเข้าปรับสูงขึ้น นอกจากนี้ เงินเฟ้อที่ปรับสูงขึ้นขณะที่เศรษฐกิจไทยยังไม่ฟื้นตัวมากนัก ถือเป็นอีกปัจจัยที่กดดันค่าเงินบาท ทั้งนี้ค่าเงินบาทในช่วงไตรมาส 4 มีแนวโน้มกลับมาแข็งค่าขึ้นในกรอบ 33.5-34.5 ต่อดอลลาร์สหรัฐ จาก • เศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งปีหลังมีแนวโน้มปรับดีขึ้น ซึ่งจะช่วยกระตุ้น Portfolio flow จากนักลงทุน ต่างชาติ • ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มกลับมาเกินดุล จากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะเพิ่มขึ้น ประกอบกับ ราคาน้ามันและค่าระวางเรือที่มีแนวโน้มลดลง การศึกษาจากธนาคารแห่งประเทศไทยพบว่า ผลกระทบของเงินบาทที่อ่อนค่าต่อราคาสินค้าและบริการ ในประเทศ (exchange rate passthrough) ยังต่า เนื่องจากส่วนประกอบที่นาเข้า (import content) ในตะกร้าเงินเฟ้อของไทยมีสัดส่วนเพียง 17% จึงทาให้เงินเฟ้อไทยอ่อนไหวต่อราคาสินค้านาเข้าต่า ปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อค่าเงินบาทในระยะต่อไป หน่วย : %, บวกคือเงินบาทอ่อน 2022Q3 2022Q4 ปั จ จั ย ด้ า นอ่ อ นค่ า ปั จ จั ย ด้ า นแข็ ง ค่ า Relative Productivity US-TH Relative Inflation US-TH SET Index TH Gov bond yield (10Y) TH Current account Interest rate differential US-TH อ่อนค่า 2.98%QOQ แข็งค่า 3.98%QOQ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท -90% -40% 10% 1 EIC คาดว่า การที่ Fed ขึ้นดอกเบี้ยอีก 175 bps ในปีนี้ ขณะที่ไทยจะขึ้นเพียง 25 bps จะทาให้เงินบาทอ่อนค่าราว 5% Relative productivity ระหว่างไทย และ US ดุลบัญชีเดินสะพัดไทย ส่วนต่างอัตราผลตอบแทนระหว่างไทย และ US Relative inflation ระหว่างไทย และ US ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทย อัตราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาลไทย