SlideShare a Scribd company logo
การสร้างแบรนด์ห้องสมุด
มหาวิทยาลัย
University library
branding
บทคัดย่อ
 ในปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัยต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงหลายประการ โดยเฉพาะปริมาณ
ผู้ใช้ที่ลดลง และการประเมินคุณภาพที่เข้มข้นมากขึ้น เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ห้องสมุดหลายแห่งได้ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์ เพื่อสร้างชื่อเสียงและการยอมรับจาก
ผู้รับบริการ สาหรับบทความนี้กล่าวถึงการสร้างแบรนด์ ซึ่งเป็นแนวคิดเชิงการตลาดและการบริหาร
องค์กรสมัยใหม่ โดยจะให้มุมมองบางประการในการสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย
บทนา
 เมื่อกล่าวถึงห้องสมุดแล้ว มีคนจานวนไม่น้อย นึกถึงห้องที่เงียบสงัด มีหนังสือฝุ่นจับ และบรรณารักษ์ สวมแว่น
หนาเตอะ คอยเตือนเมื่อผู้ใช้ส่งเสียงดังแม้ภาพลักษณ์ดังกล่าวจะมีทั้งที่จริงบ้างหรือเกินจริงบ้าง แต่ก็สะท้อนให้เห็น
ว่าห้องสมุดไม่ได้จัดอยู่ในสถานที่ที่ คนทั่วไปจะเข้าไปใช้แล้วได้รับสินค้าและบริการ หรือ ความรู้สึกที่ดี
เช่นเดียวกับการไปห้างสรรพสินค้าซึ่ง ให้ความรู้สึกแตกต่างจากการไปห้องสมุดอย่างสิ้นเชิง ความรู้สึกที่ผู้บริโภค
หรือผู้ใช้รับรู้ต่อสินค้าและ บริการนั้น ส่วนสาคัญส่วนหนึ่งนั้นมาจากอิทธิพลของ สิ่งที่เรียกว่าแบรนด์ (Brand) หาก
ลองสังเกตการดารงชีวิตประจาวันก็จะเห็นได้ว่า แบรนด์ นั้นทา ให้ผู้ใช้หรือผู้บริโภคประหยัดเวลา ในการที่จะ
เลือกสินค้าหรือบริการใดบริการหนึ่ง โดย ผู้ใช้มักจะเลือกสินค้าจากแบรนด์ที่คุ้นเคยและไว้ใจอยู่ดังนั้นแบรนด์จึง
เป็นมากกว่าแค่ชื่อ ตราสินค้า แต่ยังรวมถึงความรู้สึก ภาพลักษณ์ ประสบการณ์ ที่ผู้บริโภคกับสินค้ามีปฏิสัมพันธ์
กัน อย่างต่อเนื่องอีกด้วย เมื่อแบรนด์มีผลต่อ การตัดสินใจที่จะใช้บริการหรือซื้อสินค้าการสร้างแบรนด์ จึงเป็น สิ่งที่
จาเป็นต้องทา เพื่อให้สินค้าและบริการนั้นๆสามารถครองใจผู้บริโภค หรือเกิดความภักดีต่อแบรนด์ จนต้องใช้ซ้า
และบอกต่อซึ่งการสร้างแบรนด์นั้นก็ไม่ได้จากัดอยู่ แค่ตัวสินค้า หากแต่ยังรวมถึงองค์กรอีกด้วย
 จะเห็นได้ว่าแม้กระทั่งองค์กรการศึกษาอย่างมหาวิทยาลัยก็ยังต้องมีการสร้างแบรนด์ เช่น University of
Southern Maine ได้มีการสร้างแบรนด์ของตัวเองอย่างจริงจังในปี 2007 และมีการกาหนดอัตลักษณ์
มหาวิทยาลัย ให้ทุกภาคส่วนปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ในส่วนของห้องสมุดนั้นมีผู้กล่าวว่า คา ว่า “ห้องสมุด”
เองนั้น ก็ถือเป็น แบรนด์ในตัวเองอยู่แล้ว คือ ห้องสมุดทุกแห่งต่างเป็น ตัวแทน ของแบรนด์ที่มีภาพลักษณ์ของ
ความเชย ล้าสมัย สา หรับผู้เขียนเห็นว่าภาพลักษณ์ที่เก่าแก่คร่าครึของ ห้องสมุดนั้นเป็นแบรนด์ที่ห้องสมุดไม่ได้
ตั้งใจจะสร้างให้คน รับรู้ หรือหากจะพูดอีกแง่หนึ่ง ที่ผ่านมาห้องสมุดนั้น ไม่เคยที่จะสร้างแบรนด์เลยด้วยซ้า และ
สิ่งที่คนรู้สึกใน ด้านลบกับห้องสมุดนั้น เป็นผลพวงจากการไม่สร้าง แบรนด์ของห้องสมุดนั่นเอง ขณะที่
มหาวิทยาลัยไทยเกิดความตื่นตัวในการ มุ่งสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย ตามโครงการ พัฒนา
มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติของรัฐบาล เพื่อยก ระดับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีขีดความสามารถระดับ โลก อันจะ
ส่งผลโดยตรงต่อ การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และรองรับแผนการพัฒนาประเทศเป็น
ศูนย์กลางการ ศึกษาของภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ดีการพัฒนาสู่ ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนา ระดับโลกนั้น
มหาวิทยาลัย ไม่อาจจะละเลยการสร้างแบรนด์ให้สอดรับกับภาพลักษณ์ และตา แหน่ง ที่เปลี่ยนไปของ องค์กร
หลายมหาวิทยาลัยจึงมีการสร้างและปรับเปลี่ยน แบรนด์ ของมหาวิทยาลัยขนานใหญ่ และแน่นอนว่าห้องสมุด
มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นหน่วยงาน สาคัญในการพัฒนามหาวิทยาลัยไปยังเป้าหมายนั้น ก็จา เป็นจะต้องมีการสร้าง
หรือปรับเปลี่ยนแบรนด์ด้วย
แนวคิดเกี่ยวกับแบรนด์
 สมาคมการตลาดแห่งประเทศอเมริกาให้คา จากัดความทั่วไป ของคา ว่าแบรนด์ไว้ดังนี้ “แบรนด์คือ ชื่อ ถ้อยคา รูปแบบ
สัญลักษณ์ หรือ ลักษณะต่างๆที่บ่งชี้ถึงถึงสินค้า บริการของผู้ขายหนึ่งที่แตกต่างจากผู้ขายอื่นๆ” อย่างไร ก็ตามนักการตลาดยุค
ใหม่ได้เสนอว่า ปัจจุบันความ หมายของแบรนด์กินความกว้างขวางลึกซึ้งมากกว่า ที่เคยเป็นมาในอดีต โดย ศรีกัญญา มงคลศิริ
(2547) อธิบายว่า แบรนด์ไม่ได้เป็นแค่เพียง ตราสัญลักษณ์ หรือยี่ห้อสินค้า แต่แบรนด์คือองค์รวม ของตัวแปรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
สินค้า ประกอบกัน ขึ้นเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสินค้านั้นๆกับผู้บริโภค ภาพลักษณ์หนึ่งๆของแบรนด์เกิดจากการสื่อสารผ่าน
ช่องทางต่างๆที่ผู้บริโภคมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์ไม่ได้จา กัดอยู่เฉพาะโฆษณาเท่านั้นอีกทั้งแบรนด์มีความ หมายครอบคลุมถึง
ลักษณะ 2 อย่างคือ คุณลักษณะที่ จับต้องได้ซึ่งสามารถใช้ประสาทสัมผัสรับรู้ในลักษณะที่แยกเดี่ยวและรวมกัน เช่น การ สัมผัส
ถึงรสชาติและกลิ่นหอมของกาแฟ“Starbucks” และคุณลักษณะที่จับต้องไม่ได้ของสินค้า ที่เกิดจากความรู้สึกของผู้บริโภคที่เกิด
จาก การสัมผัส ครอบครองแบรนด์ทั้งที่รับรู้เพียงคนเดียวและ ที่มีผู้อื่นมองเห็น เช่นความรู้สึกมีระดับเมื่อเดินเข้าไปร้าน กาแฟ
“Starbucks” ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าแบรนด์คือ องค์รวมของตัวแปรทุกสิ่งทุกอย่างที่ประกอบกันเพื่อสร้างความหมายให้กับสินค้า
และเป็นความหมายที่อยู่ในใจ และความรู้สึกของผู้บริโภคด้วย ขณะที่ ศิริกุล เลากัยกุล (2551) สรุปเพียงสั้นๆว่าความหมายของ
แบรนด์ในยุคที่ 5 หรือยุคปัจจุบันนี้คือ “แบรนด์=ชื่อเสียง” โดยที่ชื่อเสียง คือการเป็นที่ยอมรับนับถือในทางที่ดี เป็นที่กล่าวขวัญ
ยกย่องและอยู่ในความทรงจา ได้ในระยะยาวอย่างยั่งยืน ดังที่กล่าวแล้วว่าไม่เฉพาะสินค้าเท่านั้นที่มีการสร้างแบรนด์แต่ก็มีหลาย
องค์กรที่เห็นความจา เป็นและ ความสาคัญของแบรนด์ เนื่องจากเหตุผลหลายประการ
 แบรนด์เป็นเครื่องมือการตลาดที่มีประสิทธิภาพแบรนด์ที่ดีสามารถกาหนดราคาที่เหนือกว่า สินค้าไร้แบรนด์ได้แบรนด์ที่ดีคือ
รากฐานของความไว้วางใจ แบรนด์ที่ดีน่าซื้อและควรซื้อมากกว่าสินค้าที่ ไม่มีแบรนด์เพราะคนทั่วไปมักจะคิดว่าแบรนด์ที่มีชื่อ เสียงดี
ก็จะหมายถึงแบรนด์ที่ ขายสินค้าคุณภาพดีไปด้วย เช่นเดียวกัน แบรนด์ที่เป็นผู้นา จะทา ให้ผู้บริโภคคิดถึง แบรนด์นั้นมากกว่าแบรนด์
อื่นๆ และจดจาสินค้าได้แบรนด์สามารถสร้างความได้เปรียบในการ แข่งขันได้แบรนด์ที่ดีจะทา ให้ผู้บริโภคยอมรับสินค้าใหม่ ที่อยู่
ภายใต้แบรนด์เดิมนั้น ซึ่งเขาคุ้นเคยมาก่อนได้ง่ายขึ้น แบรนด์ทา ให้ผู้บริโภคประหยัดเวลาที่จะเลือก สินค้า เพราะเมื่อจะซื้อสินค้า
ผู้บริโภคมักจะเลือกสินค้า จากแบรนด์ที่คุ้นเคย แบรนด์ที่ดีจะทา ให้พนักงานมีความภูมิใจที่จะ ทา งานกับบริษัทเจ้าของแบรนด์นั้น
และทา ให้เจ้าของ แบรนด์สามารถหาพนักงานที่ดีเข้าทา งานได้ง่ายขึ้น แบรนด์ช่วยเพิ่มคุณค่า ให้ สินค้า และแบรนด์ช่วยสร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน ที่ยั่งยืน การสร้างแบรนด์มีลักษณะเป็นกระบวนการแม้วรรณกรรมเกี่ยวกับการสร้างแบรนด์อาจจะมีการใช้
คา ศัพท์ที่แตกต่างกัน แต่ในเชิงแนวคิดแล้วมีลักษณะที่ ตรงกัน ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า การสร้างแบรนด์แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ
ช่วงแรกเป็นการกา หนดกลยุทธ์ของ แบรนด์)หรืออาจจะเรียกว่า แก่นสาร ของแบรนด์และช่วงต่อมาคือ การแปลงกลยุทธ์สู่การ
ปฏิบัติ โดยแต่ละช่วงมีขั้น ตอนต่างๆดังนี้
 1. การสร้างกลยุทธ์ของแบรนด์
 • การกาหนดกลุ่มเป้าหมายของแบรนด์ คือการกาหนดว่า องค์กร หรือบริษัทจะทา อะไร ในขอบเขตขนาดไหน และ ทา ไปเพื่อใคร โดยควรจะ
มีการวิเคราะห์ SWOT เพื่อ ศึกษาหาจุดอ่อนจุดแข็งของตนเอง ตลอดจนโอกาสและ อุปสรรคจากภายนอก และทา การวิเคราะห์ผู้บริโภคใน เชิง
ลึก ว่าต้องการอะไร คาดหวัง อะไรจากแบรนด์
 • กาหนดวิสัยทัศน์ของแบรนด์ คือเป้าหมายเชิงนโยบายของแบรนด์เป็นการ กา หนดว่า ความพยายามในการสร้างแบรนด์นั้นเพื่ออะไร
อยากจะมีชื่อเสียงแบบใดในอนาคต อยาก ให้มีคนกล่าวขวัญถึงแบรนด์นั้นอย่างไร เช่น “Disney” ต้องการให้คนกล่าวขวัญถึงในฐานะผู้เนรมิต
ความฝันให้เป็นความจริง การกา หนดวิสัยทัศน์ของแบรนด์ต้องเกิด จากความเห็นพ้องต้องกัน หรือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ของทั้งฝ่าย
บริหารและฝ่ายปฏิบัติการ
 • กาหนดจุดยืนหรือการวางตา แหน่งของ แบรนด์ คือการกา หนดว่าอะไรคือ จุดยืนที่เราจะใช้ในการสร้างชื่อเสียง มักจะเริ่มมาจาก ความเชื่อ
(Belief) หรือ คุณค่า (Value) ที่จะยึดถือจากสิ่ง ที่มีอยู่บ้างแล้ว สามารถทา ได้จริงในระยะยาว สอดคล้อง กับขอบข่ายของธุรกิจ ส่งเสริม
วิสัยทัศน์ของแบรนด์ โดย การกา หนดจุดยืนที่ชัดเจนจะทา ให้แนวทางการสร้าง แบรนด์ไม่สับสน
 • กาหนดคุณสมบัติของแบรนด์ โดยควรจะประกอบไปด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ คือ สร้างอรรถประโยชน์ได้ (Functionalattribute) สร้าง
อรรถรสคุณค่าความรู้สึกต่อกลุ่มเป้าหมาย (Emotional attribute) และสร้างอัตลักษณ์ให้มีความ แตกต่างโดดเด่นชัดเจน (Identityattribute)
 • กาหนดพันธะสัญญาของแบรนด์ คือการกา หนดว่าทุกครั้งที่ผู้บริโภคเข้ามาสัมผัสกับแบรนด์แล้วจะได้รับคุณค่าอย่างใดอย่างหนึ่งแน่นอน
เช่น การที่ “Disney” กา หนดพันธะสัญญาของแบรนด์ว่า
 • การสร้างระบบเอกลักษณ์ของแบรนด์ คือการกา หนดแนวทาง และรูปแบบ ในการสื่อสารของแบรนด์ไม่ว่าจะเป็นตราสัญลักษณ์ สโลแกน สี
เสียง และอื่นๆ
 2. การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย
 • ปฏิบัติการภายในองค์กร คือการนา กลยุทธ์ของแบรนด์มาถ่ายทอดให้เกิดพฤติกรรม ด้วยการนา เอาคุณสมบัติของแบ
รนด์มา พัฒนาให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กรโดย มุ่งเน้นที่การพัฒนาคนในองค์กรให้มีวัฒนธรรมการบริการ
และเป็นตัวแทนของแบรนด์เพื่อสร้างชื่อเสียงของแบรนด์โดยผ่าน ประสบการณ์ที่ดีของผู้ที่เข้ามาสัมผัสกับคนของแบ
รนด์
 • ปฏิบัติการภายนอกองค์กรเป็นเรื่องของการนา กลยุทธ์ของแบรนด์มา ถ่ายทอดให้เกิดเป็นแผนการตลาด หรือเป็นการ
นา แบรนด์สู่ตลาด เพื่อสร้างการรับรู้ต่อแบรนด์ สร้างความชอบเจาะจงของแบรนด์และสร้างความภักดีต่อแบรนด์ โดย
ใช้เทคนิควิธีต่างๆ
ห้องสมุดกับแบรนด์
 แบรนด์ห้องสมุด มีความหมาย ไม่ต่างไปจากความหมายของแบรนด์ทั่วๆ ไป แบรนด์ห้องสมุด คือ ทุกสิ่งที่กระทบถึง
ความรู้สึก สิ่งที่คาดหวังไว้ของผู้ใช้บริการ เมื่อได้ยิน คา ว่า “ห้องสมุด” และสิ่งที่ห้องสมุดต้องการให้ผู้ใช้รู้สึกอย่างไร ใน
การสร้างแบรนด์ห้องสมุดนั้นประกอบด้วย ส่วนสาคัญต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ชื่อห้องสมุดชื่อบริการ และสินค้าของ
ห้องสมุด สัญลักษณ์ ตรา การออกแบบสิ่งพิมพ์ที่มีรูปแบบไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนประกอบ ต่างๆนี้จะทา ให้สินค้า
และบริการของห้องสมุดมีบุคลิกและสร้างความสัมพันธ์ในใจของผู้ใช้เช่นเดียวกับที่ Hafner, Arthur,& Akers (2007)
ระบุว่า แบรนด์เป็น สิ่งที่จับต้องไม่ได้(Intangible)แต่มีความสา คัญต่อ ห้องสมุด เพราะเป็นสิ่งที่ทา ให้ผู้ใช้รับรู้ถึงคุณค่า
ของ ห้องสมุด ในมุมมองของผู้ใช้นั้นแบรนด์เป็นเครื่องยืนยัน ถึงคุณภาพของห้องสมุดตลอดจนเป็นพันธสัญญาของ
ห้องสมุดต่อผู้ใช้แนวคิดเรื่องแบรนด์ของห้องสมุดเกิดขึ้นใน ต่างประเทศมาแล้วราว 30 ปี แต่งานในช่วงแรกยังเป็นเพียง
การศึกษาบางส่วนของแบรนด์ในปัจจุบัน ห้องสมุดได้ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์มากขึ้น อันเป็นผลมาจากปัจจัย
หลายประการ งานวิจัยนี้ยังได้สะท้อนให้เห็นว่า ปัจจุบันการสร้างแบรนด์นั้นเป็นหัวใจสาคัญของแผนการ ตลาดของ
ห้องสมุดประชาชนด้วยความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี การแข่งขัน ทางการตลาดและพฤติกรรมของผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป
ทาให้ ห้องสมุดรวมถึงองค์กรวิชาชีพจึงมีความตื่นตัวในการนาแนวคิดเรื่องแบรนด์มา
 ในบรรดาห้องสมุดประเภท ต่างๆ ดูเหมือนว่าห้องสมุดประชาชนจะเป็นกลุ่มที่ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์มากที่สุด ทั้งนี้
เนื่องจาก ต้องตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายแต่ใน ขณะเดียวกันจานวนผู้ใช้ก็ลดลงอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน ตัวอย่าง
ของความสาเร็จที่ทา ให้ผู้ใช้หันมารับบริการ จากห้องสมุดมากขึ้น เช่น หอสมุดกลางแห่งเมืองเบอร์ มิงแฮมที่ประสบความ สาเร็จ
ในการปรับปรุงแบรนด์ห้องสมุดจนสามารถปรับ เปลี่ยนภาพลักษณ์ของการบริการจากล้าสมัยมาเป็น ภาพลักษณ์ของความ
ทันสมัย ผลลัพธ์ประการหนึ่งที่ เห็นได้ชัดหลังจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดก็คือ จานวนการเข้าชมเว็บไซต์อยู่ระหว่าง
10,000- 20,000 ครั้งต่อสัปดาห์ ทา ให้ผู้บริหารตระหนักว่า การ สร้างแบรนด์นั้น ต้องเป็นยุทธศาสตร์ระยะยาวของ หอสมุดอีก
กรณีศึกษา หนึ่งก็คือ ห้องสมุดประชาชนนครชิคาโก ซึ่งสามารถสร้างแบรนด์ห้องสมุดที่แข็งแกร่ง ภายใต้คา โปรย ที่จดจา ง่าย
และ สะท้อนภาพลักษณ์ที่ดีคือ “Chicago Public Library: read, learn, discover” ซึ่งทั้งสามคานี้ ถูกนา มาจัดกลุ่ม สินค้าและบริการ
ภายในห้องสมุด เช่น Read เป็นการ แนะนา หนังสือน่าอ่าน และหนังสือใหม่ของห้องสมุดLearn เป็นการรวมบริการค้นหา
ทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท และช่วยในการทาวิจัย Discover เป็นการ รวมประเด็นที่น่าสนใจ และกิจกรรมส่งเสริมการใช้
ห้องสมุดต่างๆ
การสร้างแบรนด์ให้กับห้องสมุดมหาวิทยาลัย
 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งบริการสารสนเทศ ที่สาคัญในการตอบสนองพันธกิจของมหาวิทยาลัย โดย เฉพาะอย่างยิ่งการเรียนการ
สอนและการวิจัย ในอดีต ที่ผ่านมาห้องสมุดมหาวิทยาลัยอาจจะมุ่งเน้นที่การ เป็นเจ้าของทรัพยากรสารสนเทศจานวนมาก และเป็น ฝ่าย
รอให้ผู้ใช้เข้ามาใช้บริการ ณ อาคารสถานที่ที่จัด เตรียมไว้แต่ในโลกยุคใหม่ที่สารสนเทศในอินเทอร์เน็ต มีปริมาณมากขึ้น สืบค้นได้
ง่ายขึ้น จากที่ใดก็ได้โดย ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมาที่ห้องสมุด ซึ่งเต็มไปด้วย ระเบียบปฏิบัติอันเคร่งครัด ไม่ว่าจะเป็นการแต่งกาย การ
กาหนดเวลาในการเปิดปิด หรือยืมคืน หรือพบ ประสบการณ์ที่ไม่ดีจากบรรณารักษ์ จึงทา ให้ผู้ใช้จานวน ไม่น้อยเบื่อหน่ายกับการมาใช้
บริการห้องสมุด และหันไป ใช้บริการ “Google” ซึ่งสามารถจะค้นหาทุกสิ่งที่อยาก ได้สะดวกสบายแค่ปลายนิ้ว “คลิก” นิสัยการ
เปลี่ยนไป ใช้แบรนด์อื่นที่ดีกว่า เช่นนี้ เป็นสิ่ง ปรกติวิสัยของผู้ใช้บริการ แต่เป็นเรื่องน่ากังวลใจของ แบรนด์ เพราะนั่นหมายถึงความ
ล้มเหลวของแบรนด์ใน การครองใจผู้บริโภค ขณะเดียวกันห้องสมุดมหาวิทยาลัย ต้องถูกประเมินคุณภาพอย่างเข้มข้นทั้งจากภายใน
และภายนอก ทา ให้ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต้องเตรียม พร้อมกับบริบทที่เปลี่ยนไป ในยุคของการสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยหนี
ไม่พ้นที่จะต้องเร่งสร้างแบรนด์ เพื่อลบภาพห้องสมุดที่เหมือนกับคนสูงวัยผู้เงียบขรึม เนิบนาบ มาเป็นเพื่อนคู่คิด ที่สามารถพูดคุย
ปรึกษา ปัญหา และพร้อมจะช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น การสร้างแบรนด์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย มีกระบวนการเช่นเดียวกับการ
สร้างแบรนด์ขององค์กร ต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้น แต่อาจมีขั้นตอนที่แตกต่าง กันตามบริบทของแต่ละห้องสมุด ที่จะต้องสอดคล้อง กับ
ทิศทางของมหาวิทยาลัยในฐานะแบรนด์ย่อยภายใต้แบรนด์มหาวิทยาลัยด้วย อย่างไรก็ตามผู้เขียนใคร่ขอ เสนอจุดเน้นบางประเด็นที่
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยควร ตระหนักในการสร้างแบรนด์ ดังนี้
 1. การสร้างกลยุทธ์ของแบรนด์
 เมื่อจะเริ่มสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนั้น จาเป็นจะต้องเริ่มจากการสารวจสภาพปัจจุบันว่า ห้องสมุดในเวลานี้อย่างไร ผู้ใช้มี
ความคาดหวัง และความรู้สึก ต่อห้องสมุดอย่างไร โดยอาจจะวิเคราะห์ SWOT หรือทา วิจัย ภาพลักษณ์ห้องสมุดในสายตาของ
ผู้ใช้บริการเชิงลึก แล้วนา มาวิเคราะห์และกา หนด ขอบข่ายของการการดา เนินงานห้องสมุด การกาหนด กลุ่มผู้ใช้เป้าหมายของแต่ละ
ห้องสมุดนั้นอาจจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับคณะ สาขาวิชาที่เปิดสอน และชุมชน วิชาการที่เกี่ยวข้อง ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนั้น จะต้อง
ชัดเจน และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยด้วย เช่น มหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์จะเป็น มหาวิทยาลัยชั้นนา ระดับโลก วิสัยทัศน์
ของแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยก็ ควรจะไปในทิศทางเดียวกัน ห้องสมุดอาจดู เหมือนไม่ต้องแข่งขันกับคู่แข่งทางการค้าดังเช่นบริษัท
ต่างๆ ถึงอย่างไรก็ตามห้องสมุดก็ยังต้องแข่งขันกับตัวเอง เพราะระบบประกันคุณภาพที่เข้มข้นมากขึ้น ในปัจจุบัน และพฤติกรรมของ
ผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป ทา ให้ ห้องสมุดจะต้องทบทวนจุดยืน ให้ชัดเจน ว่าห้องสมุดจะยืน ณ จุดใด ของมหาวิทยาลัย แตกต่างจากหน่วยงาน
อื่นอย่างไร จะเป็นหน่วยงาน ระดับหรือเกรดไหนของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะส่งผล ต่อการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน กระบวนการสร้าง
แบรนด์ห้องสมุด ในขั้นที่ยาก ที่สุด คงจะเป็นการกา หนดคุณสมบัติของแบรนด์ ที่ต้องช่วยกันระดมสมองจากผู้เกี่ยวข้อง ทุกส่วนเพื่อ
หาคุณสมบัติที่แท้จริงของห้องสมุดตนเอง
 2. การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ
 เมื่อห้องสมุดมหาวิทยาลัยมีความตั้งใจจะ สร้างแบรนด์แล้วจะต้องลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังภายในองค์กร โดยเฉพาะตัว
บรรณารักษ์ซึ่งเป็นตัวแทนของ แบรนด์ ที่ต้องแสดงบทบาทความรู้ความสามารถที่เป็นไปตามพันธะสัญญาของ แบรนด์
เช่น บริการด้วยรอยยิ้ม เต็มใจ กระตือรือร้น และสร้างประสบการณ์ที่ดีต่อผู้ใช้บางแห่ง อาจกา หนดเครื่องแบบของ
บรรณารักษ์ซึ่งจะทา ให้ผู้ใช้ทราบว่าจะบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ให้บริการ เป็นต้น การสร้างแบรนด์ให้กับห้องสมุด
มหาวิทยาลัย จะต้องทา ให้บริการพื้นฐานที่มีอยู่เดิมเช่น การยืม-คืน ตอบคา ถามและช่วยการค้นคว้า ช่วยการอ้างอิง นา
ชม ห้องสมุด ดีขึ้น ง่ายขึ้นและมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เช่น จากที่ต้องรับบริการ ยืมคืน ตอบคา ถามและช่วยการ
ค้นคว้า แยกส่วนกัน อาจจะจัดเป็นบริการ One stop service ที่ผู้ใช้สามารถรับบริการจากห้องสมุดได้ทุกบริการภายในจุด
เดียว เช่นเดียวกับ การไปธนาคาร แล้วสามารถฝาก ถอน โอนเงิน กู้เงิน เปิดบัญชีและ อื่นๆได้จากจุดเดียว หรือเมื่อพูดถึง
ห้องสมุด ผู้ใช้จะไม่ ได้นึกถึงสถานที่ หากแต่นึกถึงบริการสารสนเทศที่ครบถ้วน มีคุณภาพสะดวกรวดเร็ว สามรรถรับ
บริการได้จากทุกที่แม้ว่าจะไม่เคยมาที่ห้องสมุดเลยก็ได้เหมือน อีกประเด็นหนึ่งที่ห้องสมุดจะต้องคิด และ สร้างสรรค์
เพื่อขับเคลื่อนและทา ให้แบรนด์เป็นที่ยอมรับ ก็คือ การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ จะเกิดในห้องสมุดนั้นจะต้องเกิดจากการนา
กลยุทธ์ ของแบรนด์มาถ่ายทอดให้เกิดเป็นแผนการตลาด
สรุป
 ในยุคที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต้องเผชิญกับ ความเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลการสร้างแบรนด์ของห้องสมุด จึงมีความ
จาเป็น ไม่ใช่เพื่อการแสวงหากาไรที่เป็นตัวเงิน หากแต่เป็นการครองใจผู้ใช้ด้วยประสบการณ์ที่ดี ที่แบรนด์ห้องสมุดจะ
มอบให้ทุก ครั้งเมื่อผู้ใช้มารับบริการ การพัฒนาแบรนด์ห้องสมุดให้เข้มแข็งนั้น ต้องมีการดูแลและเอาใจใส่ อาศัยเวลา
และงบประมาณแม้ห้องสมุดจะสร้างแบรนด์อย่างไรแต่หากบุคลากรห้องสมุดซึ่งมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาและ
ขับเคลื่อนแบรนด์มากที่สุด ไม่เข้าใจแบรนด์ และมุ่งทา ให้แบรนด์ครองใจผู้ใช้อย่างแท้จริง รวมถึงการ ที่ห้องสมุดสร้าง
แบรนด์โดยไม่ทา การศึกษาผู้ใช้ให้ดีก่อน ก็อาจทา ให้แบรนด์ห้องสมุดกลายเป็นเพียงศัพท์เทคนิคเฉพาะสถาบันที่ผู้ใช้ไม่
เข้าใจไปโดยปริยาย

More Related Content

Similar to อุษณีย์ ลิ้มไพรสันต์ 2038

ADM4201-11 The IMC planning process
ADM4201-11 The IMC planning processADM4201-11 The IMC planning process
ADM4201-11 The IMC planning process
chonticha chamchuen
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบtelecentreacademy
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
DrDanai Thienphut
 
Bmc std
Bmc stdBmc std
Bmc std
dewberry
 
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุดการประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
Kai Janghoo
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
siroros
 
Planing consideration
Planing considerationPlaning consideration
Planing consideration
Preeyaporn Panyapon
 
AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์
AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์
AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์
Witchayut Techakerdkamon
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมNuchy Geez
 
TH Developing communication: responses
TH Developing communication: responsesTH Developing communication: responses
TH Developing communication: responses
Massimiliano La Franca
 
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
Vachirawit Treemake
 
Blog & Knowledge Management
Blog & Knowledge ManagementBlog & Knowledge Management
Blog & Knowledge Management
mtct54
 

Similar to อุษณีย์ ลิ้มไพรสันต์ 2038 (20)

ADM4201-11 The IMC planning process
ADM4201-11 The IMC planning processADM4201-11 The IMC planning process
ADM4201-11 The IMC planning process
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบ
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 
Bmc std
Bmc stdBmc std
Bmc std
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุดการประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Planing consideration
Planing considerationPlaning consideration
Planing consideration
 
AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์
AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์
AIM 3309 Exhibitions การจัดนิทรรศกาลออนไลน์และออฟไลน์
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
TH Developing communication: responses
TH Developing communication: responsesTH Developing communication: responses
TH Developing communication: responses
 
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
 
Blog & Knowledge Management
Blog & Knowledge ManagementBlog & Knowledge Management
Blog & Knowledge Management
 

อุษณีย์ ลิ้มไพรสันต์ 2038

  • 2. บทคัดย่อ  ในปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัยต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงหลายประการ โดยเฉพาะปริมาณ ผู้ใช้ที่ลดลง และการประเมินคุณภาพที่เข้มข้นมากขึ้น เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ห้องสมุดหลายแห่งได้ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์ เพื่อสร้างชื่อเสียงและการยอมรับจาก ผู้รับบริการ สาหรับบทความนี้กล่าวถึงการสร้างแบรนด์ ซึ่งเป็นแนวคิดเชิงการตลาดและการบริหาร องค์กรสมัยใหม่ โดยจะให้มุมมองบางประการในการสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย
  • 3. บทนา  เมื่อกล่าวถึงห้องสมุดแล้ว มีคนจานวนไม่น้อย นึกถึงห้องที่เงียบสงัด มีหนังสือฝุ่นจับ และบรรณารักษ์ สวมแว่น หนาเตอะ คอยเตือนเมื่อผู้ใช้ส่งเสียงดังแม้ภาพลักษณ์ดังกล่าวจะมีทั้งที่จริงบ้างหรือเกินจริงบ้าง แต่ก็สะท้อนให้เห็น ว่าห้องสมุดไม่ได้จัดอยู่ในสถานที่ที่ คนทั่วไปจะเข้าไปใช้แล้วได้รับสินค้าและบริการ หรือ ความรู้สึกที่ดี เช่นเดียวกับการไปห้างสรรพสินค้าซึ่ง ให้ความรู้สึกแตกต่างจากการไปห้องสมุดอย่างสิ้นเชิง ความรู้สึกที่ผู้บริโภค หรือผู้ใช้รับรู้ต่อสินค้าและ บริการนั้น ส่วนสาคัญส่วนหนึ่งนั้นมาจากอิทธิพลของ สิ่งที่เรียกว่าแบรนด์ (Brand) หาก ลองสังเกตการดารงชีวิตประจาวันก็จะเห็นได้ว่า แบรนด์ นั้นทา ให้ผู้ใช้หรือผู้บริโภคประหยัดเวลา ในการที่จะ เลือกสินค้าหรือบริการใดบริการหนึ่ง โดย ผู้ใช้มักจะเลือกสินค้าจากแบรนด์ที่คุ้นเคยและไว้ใจอยู่ดังนั้นแบรนด์จึง เป็นมากกว่าแค่ชื่อ ตราสินค้า แต่ยังรวมถึงความรู้สึก ภาพลักษณ์ ประสบการณ์ ที่ผู้บริโภคกับสินค้ามีปฏิสัมพันธ์ กัน อย่างต่อเนื่องอีกด้วย เมื่อแบรนด์มีผลต่อ การตัดสินใจที่จะใช้บริการหรือซื้อสินค้าการสร้างแบรนด์ จึงเป็น สิ่งที่ จาเป็นต้องทา เพื่อให้สินค้าและบริการนั้นๆสามารถครองใจผู้บริโภค หรือเกิดความภักดีต่อแบรนด์ จนต้องใช้ซ้า และบอกต่อซึ่งการสร้างแบรนด์นั้นก็ไม่ได้จากัดอยู่ แค่ตัวสินค้า หากแต่ยังรวมถึงองค์กรอีกด้วย
  • 4.  จะเห็นได้ว่าแม้กระทั่งองค์กรการศึกษาอย่างมหาวิทยาลัยก็ยังต้องมีการสร้างแบรนด์ เช่น University of Southern Maine ได้มีการสร้างแบรนด์ของตัวเองอย่างจริงจังในปี 2007 และมีการกาหนดอัตลักษณ์ มหาวิทยาลัย ให้ทุกภาคส่วนปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ในส่วนของห้องสมุดนั้นมีผู้กล่าวว่า คา ว่า “ห้องสมุด” เองนั้น ก็ถือเป็น แบรนด์ในตัวเองอยู่แล้ว คือ ห้องสมุดทุกแห่งต่างเป็น ตัวแทน ของแบรนด์ที่มีภาพลักษณ์ของ ความเชย ล้าสมัย สา หรับผู้เขียนเห็นว่าภาพลักษณ์ที่เก่าแก่คร่าครึของ ห้องสมุดนั้นเป็นแบรนด์ที่ห้องสมุดไม่ได้ ตั้งใจจะสร้างให้คน รับรู้ หรือหากจะพูดอีกแง่หนึ่ง ที่ผ่านมาห้องสมุดนั้น ไม่เคยที่จะสร้างแบรนด์เลยด้วยซ้า และ สิ่งที่คนรู้สึกใน ด้านลบกับห้องสมุดนั้น เป็นผลพวงจากการไม่สร้าง แบรนด์ของห้องสมุดนั่นเอง ขณะที่ มหาวิทยาลัยไทยเกิดความตื่นตัวในการ มุ่งสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย ตามโครงการ พัฒนา มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติของรัฐบาล เพื่อยก ระดับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีขีดความสามารถระดับ โลก อันจะ ส่งผลโดยตรงต่อ การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และรองรับแผนการพัฒนาประเทศเป็น ศูนย์กลางการ ศึกษาของภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ดีการพัฒนาสู่ ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนา ระดับโลกนั้น มหาวิทยาลัย ไม่อาจจะละเลยการสร้างแบรนด์ให้สอดรับกับภาพลักษณ์ และตา แหน่ง ที่เปลี่ยนไปของ องค์กร หลายมหาวิทยาลัยจึงมีการสร้างและปรับเปลี่ยน แบรนด์ ของมหาวิทยาลัยขนานใหญ่ และแน่นอนว่าห้องสมุด มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นหน่วยงาน สาคัญในการพัฒนามหาวิทยาลัยไปยังเป้าหมายนั้น ก็จา เป็นจะต้องมีการสร้าง หรือปรับเปลี่ยนแบรนด์ด้วย
  • 5. แนวคิดเกี่ยวกับแบรนด์  สมาคมการตลาดแห่งประเทศอเมริกาให้คา จากัดความทั่วไป ของคา ว่าแบรนด์ไว้ดังนี้ “แบรนด์คือ ชื่อ ถ้อยคา รูปแบบ สัญลักษณ์ หรือ ลักษณะต่างๆที่บ่งชี้ถึงถึงสินค้า บริการของผู้ขายหนึ่งที่แตกต่างจากผู้ขายอื่นๆ” อย่างไร ก็ตามนักการตลาดยุค ใหม่ได้เสนอว่า ปัจจุบันความ หมายของแบรนด์กินความกว้างขวางลึกซึ้งมากกว่า ที่เคยเป็นมาในอดีต โดย ศรีกัญญา มงคลศิริ (2547) อธิบายว่า แบรนด์ไม่ได้เป็นแค่เพียง ตราสัญลักษณ์ หรือยี่ห้อสินค้า แต่แบรนด์คือองค์รวม ของตัวแปรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ สินค้า ประกอบกัน ขึ้นเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสินค้านั้นๆกับผู้บริโภค ภาพลักษณ์หนึ่งๆของแบรนด์เกิดจากการสื่อสารผ่าน ช่องทางต่างๆที่ผู้บริโภคมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์ไม่ได้จา กัดอยู่เฉพาะโฆษณาเท่านั้นอีกทั้งแบรนด์มีความ หมายครอบคลุมถึง ลักษณะ 2 อย่างคือ คุณลักษณะที่ จับต้องได้ซึ่งสามารถใช้ประสาทสัมผัสรับรู้ในลักษณะที่แยกเดี่ยวและรวมกัน เช่น การ สัมผัส ถึงรสชาติและกลิ่นหอมของกาแฟ“Starbucks” และคุณลักษณะที่จับต้องไม่ได้ของสินค้า ที่เกิดจากความรู้สึกของผู้บริโภคที่เกิด จาก การสัมผัส ครอบครองแบรนด์ทั้งที่รับรู้เพียงคนเดียวและ ที่มีผู้อื่นมองเห็น เช่นความรู้สึกมีระดับเมื่อเดินเข้าไปร้าน กาแฟ “Starbucks” ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าแบรนด์คือ องค์รวมของตัวแปรทุกสิ่งทุกอย่างที่ประกอบกันเพื่อสร้างความหมายให้กับสินค้า และเป็นความหมายที่อยู่ในใจ และความรู้สึกของผู้บริโภคด้วย ขณะที่ ศิริกุล เลากัยกุล (2551) สรุปเพียงสั้นๆว่าความหมายของ แบรนด์ในยุคที่ 5 หรือยุคปัจจุบันนี้คือ “แบรนด์=ชื่อเสียง” โดยที่ชื่อเสียง คือการเป็นที่ยอมรับนับถือในทางที่ดี เป็นที่กล่าวขวัญ ยกย่องและอยู่ในความทรงจา ได้ในระยะยาวอย่างยั่งยืน ดังที่กล่าวแล้วว่าไม่เฉพาะสินค้าเท่านั้นที่มีการสร้างแบรนด์แต่ก็มีหลาย องค์กรที่เห็นความจา เป็นและ ความสาคัญของแบรนด์ เนื่องจากเหตุผลหลายประการ
  • 6.  แบรนด์เป็นเครื่องมือการตลาดที่มีประสิทธิภาพแบรนด์ที่ดีสามารถกาหนดราคาที่เหนือกว่า สินค้าไร้แบรนด์ได้แบรนด์ที่ดีคือ รากฐานของความไว้วางใจ แบรนด์ที่ดีน่าซื้อและควรซื้อมากกว่าสินค้าที่ ไม่มีแบรนด์เพราะคนทั่วไปมักจะคิดว่าแบรนด์ที่มีชื่อ เสียงดี ก็จะหมายถึงแบรนด์ที่ ขายสินค้าคุณภาพดีไปด้วย เช่นเดียวกัน แบรนด์ที่เป็นผู้นา จะทา ให้ผู้บริโภคคิดถึง แบรนด์นั้นมากกว่าแบรนด์ อื่นๆ และจดจาสินค้าได้แบรนด์สามารถสร้างความได้เปรียบในการ แข่งขันได้แบรนด์ที่ดีจะทา ให้ผู้บริโภคยอมรับสินค้าใหม่ ที่อยู่ ภายใต้แบรนด์เดิมนั้น ซึ่งเขาคุ้นเคยมาก่อนได้ง่ายขึ้น แบรนด์ทา ให้ผู้บริโภคประหยัดเวลาที่จะเลือก สินค้า เพราะเมื่อจะซื้อสินค้า ผู้บริโภคมักจะเลือกสินค้า จากแบรนด์ที่คุ้นเคย แบรนด์ที่ดีจะทา ให้พนักงานมีความภูมิใจที่จะ ทา งานกับบริษัทเจ้าของแบรนด์นั้น และทา ให้เจ้าของ แบรนด์สามารถหาพนักงานที่ดีเข้าทา งานได้ง่ายขึ้น แบรนด์ช่วยเพิ่มคุณค่า ให้ สินค้า และแบรนด์ช่วยสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน ที่ยั่งยืน การสร้างแบรนด์มีลักษณะเป็นกระบวนการแม้วรรณกรรมเกี่ยวกับการสร้างแบรนด์อาจจะมีการใช้ คา ศัพท์ที่แตกต่างกัน แต่ในเชิงแนวคิดแล้วมีลักษณะที่ ตรงกัน ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า การสร้างแบรนด์แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกเป็นการกา หนดกลยุทธ์ของ แบรนด์)หรืออาจจะเรียกว่า แก่นสาร ของแบรนด์และช่วงต่อมาคือ การแปลงกลยุทธ์สู่การ ปฏิบัติ โดยแต่ละช่วงมีขั้น ตอนต่างๆดังนี้
  • 7.  1. การสร้างกลยุทธ์ของแบรนด์  • การกาหนดกลุ่มเป้าหมายของแบรนด์ คือการกาหนดว่า องค์กร หรือบริษัทจะทา อะไร ในขอบเขตขนาดไหน และ ทา ไปเพื่อใคร โดยควรจะ มีการวิเคราะห์ SWOT เพื่อ ศึกษาหาจุดอ่อนจุดแข็งของตนเอง ตลอดจนโอกาสและ อุปสรรคจากภายนอก และทา การวิเคราะห์ผู้บริโภคใน เชิง ลึก ว่าต้องการอะไร คาดหวัง อะไรจากแบรนด์  • กาหนดวิสัยทัศน์ของแบรนด์ คือเป้าหมายเชิงนโยบายของแบรนด์เป็นการ กา หนดว่า ความพยายามในการสร้างแบรนด์นั้นเพื่ออะไร อยากจะมีชื่อเสียงแบบใดในอนาคต อยาก ให้มีคนกล่าวขวัญถึงแบรนด์นั้นอย่างไร เช่น “Disney” ต้องการให้คนกล่าวขวัญถึงในฐานะผู้เนรมิต ความฝันให้เป็นความจริง การกา หนดวิสัยทัศน์ของแบรนด์ต้องเกิด จากความเห็นพ้องต้องกัน หรือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ของทั้งฝ่าย บริหารและฝ่ายปฏิบัติการ  • กาหนดจุดยืนหรือการวางตา แหน่งของ แบรนด์ คือการกา หนดว่าอะไรคือ จุดยืนที่เราจะใช้ในการสร้างชื่อเสียง มักจะเริ่มมาจาก ความเชื่อ (Belief) หรือ คุณค่า (Value) ที่จะยึดถือจากสิ่ง ที่มีอยู่บ้างแล้ว สามารถทา ได้จริงในระยะยาว สอดคล้อง กับขอบข่ายของธุรกิจ ส่งเสริม วิสัยทัศน์ของแบรนด์ โดย การกา หนดจุดยืนที่ชัดเจนจะทา ให้แนวทางการสร้าง แบรนด์ไม่สับสน  • กาหนดคุณสมบัติของแบรนด์ โดยควรจะประกอบไปด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ คือ สร้างอรรถประโยชน์ได้ (Functionalattribute) สร้าง อรรถรสคุณค่าความรู้สึกต่อกลุ่มเป้าหมาย (Emotional attribute) และสร้างอัตลักษณ์ให้มีความ แตกต่างโดดเด่นชัดเจน (Identityattribute)  • กาหนดพันธะสัญญาของแบรนด์ คือการกา หนดว่าทุกครั้งที่ผู้บริโภคเข้ามาสัมผัสกับแบรนด์แล้วจะได้รับคุณค่าอย่างใดอย่างหนึ่งแน่นอน เช่น การที่ “Disney” กา หนดพันธะสัญญาของแบรนด์ว่า  • การสร้างระบบเอกลักษณ์ของแบรนด์ คือการกา หนดแนวทาง และรูปแบบ ในการสื่อสารของแบรนด์ไม่ว่าจะเป็นตราสัญลักษณ์ สโลแกน สี เสียง และอื่นๆ
  • 8.  2. การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย  • ปฏิบัติการภายในองค์กร คือการนา กลยุทธ์ของแบรนด์มาถ่ายทอดให้เกิดพฤติกรรม ด้วยการนา เอาคุณสมบัติของแบ รนด์มา พัฒนาให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กรโดย มุ่งเน้นที่การพัฒนาคนในองค์กรให้มีวัฒนธรรมการบริการ และเป็นตัวแทนของแบรนด์เพื่อสร้างชื่อเสียงของแบรนด์โดยผ่าน ประสบการณ์ที่ดีของผู้ที่เข้ามาสัมผัสกับคนของแบ รนด์  • ปฏิบัติการภายนอกองค์กรเป็นเรื่องของการนา กลยุทธ์ของแบรนด์มา ถ่ายทอดให้เกิดเป็นแผนการตลาด หรือเป็นการ นา แบรนด์สู่ตลาด เพื่อสร้างการรับรู้ต่อแบรนด์ สร้างความชอบเจาะจงของแบรนด์และสร้างความภักดีต่อแบรนด์ โดย ใช้เทคนิควิธีต่างๆ
  • 9. ห้องสมุดกับแบรนด์  แบรนด์ห้องสมุด มีความหมาย ไม่ต่างไปจากความหมายของแบรนด์ทั่วๆ ไป แบรนด์ห้องสมุด คือ ทุกสิ่งที่กระทบถึง ความรู้สึก สิ่งที่คาดหวังไว้ของผู้ใช้บริการ เมื่อได้ยิน คา ว่า “ห้องสมุด” และสิ่งที่ห้องสมุดต้องการให้ผู้ใช้รู้สึกอย่างไร ใน การสร้างแบรนด์ห้องสมุดนั้นประกอบด้วย ส่วนสาคัญต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ชื่อห้องสมุดชื่อบริการ และสินค้าของ ห้องสมุด สัญลักษณ์ ตรา การออกแบบสิ่งพิมพ์ที่มีรูปแบบไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนประกอบ ต่างๆนี้จะทา ให้สินค้า และบริการของห้องสมุดมีบุคลิกและสร้างความสัมพันธ์ในใจของผู้ใช้เช่นเดียวกับที่ Hafner, Arthur,& Akers (2007) ระบุว่า แบรนด์เป็น สิ่งที่จับต้องไม่ได้(Intangible)แต่มีความสา คัญต่อ ห้องสมุด เพราะเป็นสิ่งที่ทา ให้ผู้ใช้รับรู้ถึงคุณค่า ของ ห้องสมุด ในมุมมองของผู้ใช้นั้นแบรนด์เป็นเครื่องยืนยัน ถึงคุณภาพของห้องสมุดตลอดจนเป็นพันธสัญญาของ ห้องสมุดต่อผู้ใช้แนวคิดเรื่องแบรนด์ของห้องสมุดเกิดขึ้นใน ต่างประเทศมาแล้วราว 30 ปี แต่งานในช่วงแรกยังเป็นเพียง การศึกษาบางส่วนของแบรนด์ในปัจจุบัน ห้องสมุดได้ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์มากขึ้น อันเป็นผลมาจากปัจจัย หลายประการ งานวิจัยนี้ยังได้สะท้อนให้เห็นว่า ปัจจุบันการสร้างแบรนด์นั้นเป็นหัวใจสาคัญของแผนการ ตลาดของ ห้องสมุดประชาชนด้วยความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี การแข่งขัน ทางการตลาดและพฤติกรรมของผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป ทาให้ ห้องสมุดรวมถึงองค์กรวิชาชีพจึงมีความตื่นตัวในการนาแนวคิดเรื่องแบรนด์มา
  • 10.  ในบรรดาห้องสมุดประเภท ต่างๆ ดูเหมือนว่าห้องสมุดประชาชนจะเป็นกลุ่มที่ให้ความสาคัญกับการสร้างแบรนด์มากที่สุด ทั้งนี้ เนื่องจาก ต้องตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายแต่ใน ขณะเดียวกันจานวนผู้ใช้ก็ลดลงอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน ตัวอย่าง ของความสาเร็จที่ทา ให้ผู้ใช้หันมารับบริการ จากห้องสมุดมากขึ้น เช่น หอสมุดกลางแห่งเมืองเบอร์ มิงแฮมที่ประสบความ สาเร็จ ในการปรับปรุงแบรนด์ห้องสมุดจนสามารถปรับ เปลี่ยนภาพลักษณ์ของการบริการจากล้าสมัยมาเป็น ภาพลักษณ์ของความ ทันสมัย ผลลัพธ์ประการหนึ่งที่ เห็นได้ชัดหลังจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดก็คือ จานวนการเข้าชมเว็บไซต์อยู่ระหว่าง 10,000- 20,000 ครั้งต่อสัปดาห์ ทา ให้ผู้บริหารตระหนักว่า การ สร้างแบรนด์นั้น ต้องเป็นยุทธศาสตร์ระยะยาวของ หอสมุดอีก กรณีศึกษา หนึ่งก็คือ ห้องสมุดประชาชนนครชิคาโก ซึ่งสามารถสร้างแบรนด์ห้องสมุดที่แข็งแกร่ง ภายใต้คา โปรย ที่จดจา ง่าย และ สะท้อนภาพลักษณ์ที่ดีคือ “Chicago Public Library: read, learn, discover” ซึ่งทั้งสามคานี้ ถูกนา มาจัดกลุ่ม สินค้าและบริการ ภายในห้องสมุด เช่น Read เป็นการ แนะนา หนังสือน่าอ่าน และหนังสือใหม่ของห้องสมุดLearn เป็นการรวมบริการค้นหา ทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท และช่วยในการทาวิจัย Discover เป็นการ รวมประเด็นที่น่าสนใจ และกิจกรรมส่งเสริมการใช้ ห้องสมุดต่างๆ
  • 11. การสร้างแบรนด์ให้กับห้องสมุดมหาวิทยาลัย  ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งบริการสารสนเทศ ที่สาคัญในการตอบสนองพันธกิจของมหาวิทยาลัย โดย เฉพาะอย่างยิ่งการเรียนการ สอนและการวิจัย ในอดีต ที่ผ่านมาห้องสมุดมหาวิทยาลัยอาจจะมุ่งเน้นที่การ เป็นเจ้าของทรัพยากรสารสนเทศจานวนมาก และเป็น ฝ่าย รอให้ผู้ใช้เข้ามาใช้บริการ ณ อาคารสถานที่ที่จัด เตรียมไว้แต่ในโลกยุคใหม่ที่สารสนเทศในอินเทอร์เน็ต มีปริมาณมากขึ้น สืบค้นได้ ง่ายขึ้น จากที่ใดก็ได้โดย ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมาที่ห้องสมุด ซึ่งเต็มไปด้วย ระเบียบปฏิบัติอันเคร่งครัด ไม่ว่าจะเป็นการแต่งกาย การ กาหนดเวลาในการเปิดปิด หรือยืมคืน หรือพบ ประสบการณ์ที่ไม่ดีจากบรรณารักษ์ จึงทา ให้ผู้ใช้จานวน ไม่น้อยเบื่อหน่ายกับการมาใช้ บริการห้องสมุด และหันไป ใช้บริการ “Google” ซึ่งสามารถจะค้นหาทุกสิ่งที่อยาก ได้สะดวกสบายแค่ปลายนิ้ว “คลิก” นิสัยการ เปลี่ยนไป ใช้แบรนด์อื่นที่ดีกว่า เช่นนี้ เป็นสิ่ง ปรกติวิสัยของผู้ใช้บริการ แต่เป็นเรื่องน่ากังวลใจของ แบรนด์ เพราะนั่นหมายถึงความ ล้มเหลวของแบรนด์ใน การครองใจผู้บริโภค ขณะเดียวกันห้องสมุดมหาวิทยาลัย ต้องถูกประเมินคุณภาพอย่างเข้มข้นทั้งจากภายใน และภายนอก ทา ให้ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต้องเตรียม พร้อมกับบริบทที่เปลี่ยนไป ในยุคของการสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยหนี ไม่พ้นที่จะต้องเร่งสร้างแบรนด์ เพื่อลบภาพห้องสมุดที่เหมือนกับคนสูงวัยผู้เงียบขรึม เนิบนาบ มาเป็นเพื่อนคู่คิด ที่สามารถพูดคุย ปรึกษา ปัญหา และพร้อมจะช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น การสร้างแบรนด์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย มีกระบวนการเช่นเดียวกับการ สร้างแบรนด์ขององค์กร ต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้น แต่อาจมีขั้นตอนที่แตกต่าง กันตามบริบทของแต่ละห้องสมุด ที่จะต้องสอดคล้อง กับ ทิศทางของมหาวิทยาลัยในฐานะแบรนด์ย่อยภายใต้แบรนด์มหาวิทยาลัยด้วย อย่างไรก็ตามผู้เขียนใคร่ขอ เสนอจุดเน้นบางประเด็นที่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยควร ตระหนักในการสร้างแบรนด์ ดังนี้
  • 12.  1. การสร้างกลยุทธ์ของแบรนด์  เมื่อจะเริ่มสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนั้น จาเป็นจะต้องเริ่มจากการสารวจสภาพปัจจุบันว่า ห้องสมุดในเวลานี้อย่างไร ผู้ใช้มี ความคาดหวัง และความรู้สึก ต่อห้องสมุดอย่างไร โดยอาจจะวิเคราะห์ SWOT หรือทา วิจัย ภาพลักษณ์ห้องสมุดในสายตาของ ผู้ใช้บริการเชิงลึก แล้วนา มาวิเคราะห์และกา หนด ขอบข่ายของการการดา เนินงานห้องสมุด การกาหนด กลุ่มผู้ใช้เป้าหมายของแต่ละ ห้องสมุดนั้นอาจจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับคณะ สาขาวิชาที่เปิดสอน และชุมชน วิชาการที่เกี่ยวข้อง ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนั้น จะต้อง ชัดเจน และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยด้วย เช่น มหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์จะเป็น มหาวิทยาลัยชั้นนา ระดับโลก วิสัยทัศน์ ของแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยก็ ควรจะไปในทิศทางเดียวกัน ห้องสมุดอาจดู เหมือนไม่ต้องแข่งขันกับคู่แข่งทางการค้าดังเช่นบริษัท ต่างๆ ถึงอย่างไรก็ตามห้องสมุดก็ยังต้องแข่งขันกับตัวเอง เพราะระบบประกันคุณภาพที่เข้มข้นมากขึ้น ในปัจจุบัน และพฤติกรรมของ ผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป ทา ให้ ห้องสมุดจะต้องทบทวนจุดยืน ให้ชัดเจน ว่าห้องสมุดจะยืน ณ จุดใด ของมหาวิทยาลัย แตกต่างจากหน่วยงาน อื่นอย่างไร จะเป็นหน่วยงาน ระดับหรือเกรดไหนของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะส่งผล ต่อการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน กระบวนการสร้าง แบรนด์ห้องสมุด ในขั้นที่ยาก ที่สุด คงจะเป็นการกา หนดคุณสมบัติของแบรนด์ ที่ต้องช่วยกันระดมสมองจากผู้เกี่ยวข้อง ทุกส่วนเพื่อ หาคุณสมบัติที่แท้จริงของห้องสมุดตนเอง
  • 13.  2. การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ  เมื่อห้องสมุดมหาวิทยาลัยมีความตั้งใจจะ สร้างแบรนด์แล้วจะต้องลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังภายในองค์กร โดยเฉพาะตัว บรรณารักษ์ซึ่งเป็นตัวแทนของ แบรนด์ ที่ต้องแสดงบทบาทความรู้ความสามารถที่เป็นไปตามพันธะสัญญาของ แบรนด์ เช่น บริการด้วยรอยยิ้ม เต็มใจ กระตือรือร้น และสร้างประสบการณ์ที่ดีต่อผู้ใช้บางแห่ง อาจกา หนดเครื่องแบบของ บรรณารักษ์ซึ่งจะทา ให้ผู้ใช้ทราบว่าจะบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ให้บริการ เป็นต้น การสร้างแบรนด์ให้กับห้องสมุด มหาวิทยาลัย จะต้องทา ให้บริการพื้นฐานที่มีอยู่เดิมเช่น การยืม-คืน ตอบคา ถามและช่วยการค้นคว้า ช่วยการอ้างอิง นา ชม ห้องสมุด ดีขึ้น ง่ายขึ้นและมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เช่น จากที่ต้องรับบริการ ยืมคืน ตอบคา ถามและช่วยการ ค้นคว้า แยกส่วนกัน อาจจะจัดเป็นบริการ One stop service ที่ผู้ใช้สามารถรับบริการจากห้องสมุดได้ทุกบริการภายในจุด เดียว เช่นเดียวกับ การไปธนาคาร แล้วสามารถฝาก ถอน โอนเงิน กู้เงิน เปิดบัญชีและ อื่นๆได้จากจุดเดียว หรือเมื่อพูดถึง ห้องสมุด ผู้ใช้จะไม่ ได้นึกถึงสถานที่ หากแต่นึกถึงบริการสารสนเทศที่ครบถ้วน มีคุณภาพสะดวกรวดเร็ว สามรรถรับ บริการได้จากทุกที่แม้ว่าจะไม่เคยมาที่ห้องสมุดเลยก็ได้เหมือน อีกประเด็นหนึ่งที่ห้องสมุดจะต้องคิด และ สร้างสรรค์ เพื่อขับเคลื่อนและทา ให้แบรนด์เป็นที่ยอมรับ ก็คือ การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ จะเกิดในห้องสมุดนั้นจะต้องเกิดจากการนา กลยุทธ์ ของแบรนด์มาถ่ายทอดให้เกิดเป็นแผนการตลาด
  • 14. สรุป  ในยุคที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต้องเผชิญกับ ความเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลการสร้างแบรนด์ของห้องสมุด จึงมีความ จาเป็น ไม่ใช่เพื่อการแสวงหากาไรที่เป็นตัวเงิน หากแต่เป็นการครองใจผู้ใช้ด้วยประสบการณ์ที่ดี ที่แบรนด์ห้องสมุดจะ มอบให้ทุก ครั้งเมื่อผู้ใช้มารับบริการ การพัฒนาแบรนด์ห้องสมุดให้เข้มแข็งนั้น ต้องมีการดูแลและเอาใจใส่ อาศัยเวลา และงบประมาณแม้ห้องสมุดจะสร้างแบรนด์อย่างไรแต่หากบุคลากรห้องสมุดซึ่งมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาและ ขับเคลื่อนแบรนด์มากที่สุด ไม่เข้าใจแบรนด์ และมุ่งทา ให้แบรนด์ครองใจผู้ใช้อย่างแท้จริง รวมถึงการ ที่ห้องสมุดสร้าง แบรนด์โดยไม่ทา การศึกษาผู้ใช้ให้ดีก่อน ก็อาจทา ให้แบรนด์ห้องสมุดกลายเป็นเพียงศัพท์เทคนิคเฉพาะสถาบันที่ผู้ใช้ไม่ เข้าใจไปโดยปริยาย