SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
เรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2/9
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ชื่อผู้ศึกษา
1.ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ เลขที่ 14
2.กชณิชา ทรงคาศรี เลขที่ 22
3.ชัชญาณิช คาแย้ม เลขที่ 23
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2
ปีการศึกษา 2567
ลิขสิทธิ์เป็นของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
เรื่อง ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
บทคัดย่อ
ของ
1.ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ เลขที่ 14
2.กชณิชา ทรงคาศรี เลขที่ 22
3.ชัชญาณิช คาแย้ม เลขที่ 23
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2
ปีการศึกษา 2567
ลิขสิทธิ์เป็ นของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
ชื่อเรื่อง ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว
ผู้ศึกษาค้นคว้า 1.ด.ญ.ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ 2.ด.ญ.กชณิชา
ทรงคาศรี 3.ด.ญ.ชัชญาณิชคาแย้ม
เลขประจาตัว 38558 ,38620 ,38623
อาจารย์ผูควบคุมการค้นคว้าอิสระ คุณครูณปภัช บุรานนท์
สาขาวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS2
รหัสวิชา I20202)
ปีการศึกษา 2567
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรักส่งผลต่อ
วัยรุ่นอย่างไร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบาวแก้วสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
6 ปีการศึกษา 2567 จานวน30คน
เครื่องมีที่ใช้ในการรวมรวบข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม (question
naire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ 1. ค่าร้อยล่ะ
(Percentaga) (%)เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม
2. ค่าเฉลี่ย (Mean)
ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง
ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว จานวน 30 คน สามารถสรุปผล ได้ดังนี้
1.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 22 คน ร้อยละ
73.3 และ เพศชาย จานวน 8 คน ร้อยละ 26.7
2.ผลการวิเคราะห์เรื่อง
ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว จานวน 30 คน ซึ่งมี 9 คาถาม
1.คุณเคยมีแฟนหรือไม่ 2.คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่
3.การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่
4.คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่
5.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น
6.ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่
7.ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว
8.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย
9.ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน
กลุ่มตัวอย่าง คุณเคยมีแฟนหรือไม่ เคยมีทั้งหมด17คน ร้อยละ 56.7%
ไม่เคยมีทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% มีอยู่ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 2คน ร้อยละ
6.7% จากข้อมูล คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่ามี คุณอยากมีแฟนในวัยรุ่น
อยากมีทั้งหมด18คน ร้อยละ60%
ไม่อยากมีทั้งหมด8คนร้อยละ26.7%เฉยๆจานวน4คนร้อยละ13.3%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าอยากมี การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่
จาเป็นทั้งหมด4คน ร้อยละ13.3%ไม่จาเป็ นทั้งหมด26คน ร้อยละ86.7%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่จาเป็ น คุณเคยผิดหวังการมีความรักหรือไม่
เคยทั้งหมด23คน ร้อยละ76.6% ไม่เคยทั้งหมด7คน ร้อยละ23.3%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าเคย ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น
เพื่อนทั้งหมด10คน ร้อยละ33.3% ครอบครัวทั้งหมด3คน ร้อยละ10%
สื่อออนไลน์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% อื่นๆทั้งหมด1คน
ร้อยละ3.3%คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าสื่อออนไลน์
ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ ส่งผลทั้งหมด30คน
ร้อยละ100% ไม่ส่งผลทั้งหมด0คน ร้อยละ0%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว
ความเข้าใจทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% การปรับตัวเข้าหากันทั้งหมด11คน
ร้อยละ36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7%
ยอมรับในข้อแตกต่างของอีกฝ่ายทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% อื่นๆทั้งหมด2คน
ร้อยละ6.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าความเข้าใจกัน
คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดีทั้งหมด13คน
ร้อยละ43.3% ส่งผลเสียทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ไม่ส่งผลทั้งหมด15คน
ร้อยละ50% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่ส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิก
นอกใจทั้งหมด5คน ร้อยละ16.7% โดนทิ้งทั้งหมด0คน ร้อยละ0%
เบื่อกับความสัมพันธ์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3%
ไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งหมด8คน ร้อยละ26.7% อื่นๆทั้งหมด1คน
ร้อยละ3.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่า เบื่อกับความสัมพันธ์
กิตติกรรมประกาศ
การค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จสมบูรณ์ได้โดยความกรุณาเป็นอย่างยิ่งจา
ก คุณครูณปภัช บุรานนท์
อาจารย์ผู้ควบคุมการค้นคว้าอิสระเรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว
ขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
และขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม
ทาให้งานการศึกษาค้นคว้าฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ผู้ศึกษาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้บริ
หารและสถานศึกษา
เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของแนวทางในการบารุงด้ารการทางานต่อไป
ถ้าหากโครงงานฉบับนี้มีข้อขาดตกบกพร่องประกการใด ผู้ศึกษาก็ขออภัย ณ
ที่นี้ด้วย
ปภากรณ์
ใหม่อินทร์
กชณิชา
ทรงคาศรี
ชัชญาณิช
คาแย้ม
ผู้ศึกษา
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย
(ก)
กิตติกรรมประกาศ
(ข)
บทที่
1. บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
1
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
2
ตั้งสมมุติฐาน 2
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของความรัก 3
ความหมายของวัยรุ่น 4
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6
3. วิธีการดาเนินการศึกษา
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 7
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
7
การเก็บรวมรวบข้อมูล 8
การวิเคราะห์ข้อมูล 8
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 8
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
9
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 9
5. สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
10
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 10
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 11
สรุปผลการศึกษา 11
ภาคผนวก 13
บทที่1
บทนา
1.ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
วัยรุ่นเป็ นช่วงวัยหนึ่งที่เริ่มมีการเปลี่ยงแปลงการด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ เป็นเหตุให้เริ่มมีความ
ต้องการและสนใจเพศตรงข้าม จึงไม่แปลกที่เด็กวัยนี้จะเริ่มมีความรัก
เพราะร่างกายของช่วงวัยรุ่นจะมีการ
หลั่งของฮอร์โมนที่จะส่งผลให้เด็กวัยรุ่นเริ่มมีความสนใจบุคคลหนึ่งเป็ นพิเศษ
ดังนั้นความรักในวัยเรียนมี
โ อ ก า ส ข อ ง ก า ร เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ สู ง แ ล ะ ค ว า ม รัก นั้ น ก็ มี ห ล า ย แ บ บ
แต่ล่ะคนมีรสนิยมความรักไม่เหมือนกันทาให้
ค่ า นิ ย ม แ ล ะ ทั ศ น ค ติ ต่ า ง กั น
และแต่ล่ะคนได้เรียนรู้ความรักที่แตกต่างไปจากครั้งก่อนๆ จึงทาให้คนเป็น
วัยรุ่นที่มีความรักไม่ว่าใครก็ตามมีประสบการณ์ความรู้สึกเกี่ยวกับความรักที่ไ
ม่เหมือนใครคนอื่น
การที่วัยรุ่นมีความรักนั้นไม่ใช่เรื่องแปลกและไม่ใช่เรื่องที่ผิด
แต่ถ้ามีความรักก็ควรอยู่ในขอบเขตที่
เ ห ม า ะ ส ม ไ ม่ลุ่ม ห ล ง ห รื อ ก ร ะ ท า สิ่ง ที่ม า ก เ กิน ก ว่า ค ว า ม จ า เ ป็ น
เพราะความรักในวัยรุ่นเองก็มีข้อดีหลาย
อ ย่ า ง เ ช่ น ท า ใ ห้ เ ร า มี ค ว า ม สุ ข มี ค น ดู แ ล เ อ า ใ จ ไ ด้
มีคนให้ปรึกษาในยามที่เรามีปัญหา ทาให้รู้จักสังคมมาก
ขึ้ น แ ต่ ค ว า ม รัก ใ น วัย รุ่ น ก็ มี ข้ อ เ สี ย ห ล า ย อ ย่ า ง เ ช่ น กัน เ ช่ น
เวลาอกหักอาจทาให้เราเกิดโรคเครียดขึ้นได้ อาจ
ทุกข์ใจ ทาให้เราเป็ นคนโมโหร้าย ใจร้อน ทาให้เราเสียเวลา เสียเงิน
เสียอนาคต และส่งกระทบ
ตัวเราอีกหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นสภาพความรู้สึกสภาพจิตใจ ความคิด อารมณ์
การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป จ า ก เ ดิ ม
การอกหักจะไม่สร้างผลกระทบที่เลวร้ายกับชีวิตวัยรุ่นหากมีความเข้าใจ การ
มี ค วาม รัก ใน วัย รุ่นมิใช่เ รื่อ งเ สี ย ห าย ห าก ไม่ ลุ่ม ห ล ง จ น เ กิน ไ ป
ความรักที่เหมาะสมไม่เป็นอุปสรรคต่อการ
เรียน การเลือกคู่ครองที่มีความคล้ายคลึงกันจะทาให้ชีวิตคู่ยืนยาว
การมีคู่ครองควรมาจากความเข้าใจกันทั้ง
สองฝ่ าย รูปร่างหน้าตา ไม่เป็ นสิ่งสาคัญในการการเลือกคู่ครอง (ศรายุทธ
ทองอุพัย, 2546:951) คนเราเมื่อ
มีการใช้ชีวิตร่วมกับคน สัตว์ สิ่งของ หรือแม้กระทั่งสถานที่ใดๆก็ตาม
ในระยะแรกความรู้สึกชอบ พอใจที่ต่อ
ค น สัต ว์ สิ่ ง ข อ ง แ ล ะ ส ถ า น ที่ เ ห ล่ า นั้ น ก็ จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น
ความรักและเมื่อเวลาผ่านไปก็จะกลายเป็นความ
ผูกพัน (ธนัชชา พรหมสุภา,2560: 1 1)
อารมณ์รักเป็ นอารมณ์แห่งความรู้สึกพึงพอใจ สุขใจ
เกิดขึ้นเมื่อสิ่งเร้ามาทาให้เกิดความรู้สึกเช่นรักคน รักสัตว์
รักสิ่งของเป็ นต้นอารมณ์รักเกิดจากการเรียนรู้ไม่ใช่สิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด
การแสดงความรักของวัยรุ่นนั้นต้องการเพียงอยากอยู่ใกล้ชิดกับคนที่ตนรัก
มีความอดทน ความเอาใจใส่ มีความสุขที่ได้เห็นคนที่รัก (พึ่งพิศ
จักรง,2538:123-124)
วั ย รุ่ น คื อ ช่ ว ง วั ย ที่ เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ อ า ย 13 - 19 ปี
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆมากมาย วัยรุ่นเป็นวัยที่
อ ยู่ ใ น ช่ ว ง หั ว เ ลี้ ย ว หั ว ต่ อ แ ล ะ มี ก า ร เ จ ริ ญ เ ดิ บ โ ต
มีการเปลี่ยนแปลงในเกือบทุกด้านไม่ว่าจะเป็น ทางด้านร่างกาย
ต้านอารมณ์ ต้านสังคม และด้านสติปัญญา เป็ นช่วงวัยที่ต้องเผชิญกับ
ประสบการณ์ใหม่ความรับผิดชอบที่เพิ่ม
มากขึ้น มีสัมพันธภาพทั้งกับผูใหญ่และกลุ่มเพื่อน (ประณต, 2549)
นอกจากนี้ยังมีผู้ที่กล่าวไว้ว่า วัยรุ่นเป็นวัย
ที่เปลี่ยนแปลงจากค วาม เป็ นเดีก ก้าวเข้าสู่ความเป็ นวัย ผู้ให ญ่
และเป็นช่วงวัยที่อยู่ระหว่างความเป็นเด็กกับ
ค ว า ม เ ป็ น ห รื อ ย่ า ง เ ข้ า สู่ ค ว า ม เ ป็ น ห นุ่ ม ส า ว
โดยไม่สามารถระบุความชัดเจนได้ว่าจะ มีความสิ้นสุดการเป็นหนุ่ม
เป็ นสาวนั้นได้มื่อใด แต่พอที่จะสามารถกาหนดการเปลี่ยนแปลง
ทางร่างกายของวัยรุ่นหรือรูปว่างของวัยรุ่น
ไห้ เป็นสาคัญ (สูพัดรา , 2534)
จากข้อมูลดังกล่าวเราจึงสนใจจะศึกษาเรื่องความรักในวัยรุ่นส่งผลต่อชีวิ
ตอย่างไร เพราะวัยรุ่นเป็น
วัย ที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆรวมถึงเกี่ยวกับเรื่องความรักเช่นกัน
โดยได้ศึกษาผ่านงานวิจัย
ต่ า ง ๆ แ ล ะ แ บ บ ส อ บ ถ า ม
เพื่อหาความคิดเห็นข้อมูลข้อสรุปเป็นแนวคิดให้กับวัยรุ่นเกี่ยวกับความรัก
2. จุดประสงค์
1.เพื่อที่จะศึกษาการมีความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร
2.เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการมีความรักในวัยรุ่น
3. ตั้งสมมุติฐาน
ถ้าการมีความรักส่งผลต่อวัยรุ่นดังนั้นวัยรุ่นที่มีความรักจะได้เรียนรู้ในห
ลายๆเรื่องมากกว่า
คนที่ไม่มีความรัก
4. ขอบเขตการวิจัย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ห้อง 9 โรงเรียนราชวินิตบงแก้ว ปี การศึกษา
2566
5. นิยามศัพท์เฉพาะ
ค ว า ม รั ก ห ม า ย ถึ ง
ก า ร มี ค ว า ม รัก แ บ บ ช อ บ เ พ ศ ต ร ง ข้ า ม ห รื อ ช อ บ เ พ ศ เ ดี ย ว กัน
เป็นความสนใจบุคคล
หนึ่งเป็ นพิเศษใช้สถานะว่าเป็ นคู่รัก คนรักหรือแฟน
วัย รุ่ น ห ม า ย ถึ ง นัก เ รี ย น ชั้ น มัธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 ห้ อ ง 9
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปีการศึกษา 2566
เป็ นช่วงวัยหนึ่งที่เริ่มมีการเปลี่ยงแปลงด้านต่างๆทาให้เริ่มมีความต้องการและ
สนใจเพศตรงข้ามมากขึ้น
เด็กวัยนี้จึงเริ่มมีความรัก
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้ศึกษาว่าการมีความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร
2.ได้แนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการมีความรักในวัยรุ่น
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความรักของนักเรียนชั้นมัธย
มศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โดยลาดับเนื้อหาที่เป็นสาระสาคัญดังต่อไปนี้
1.ความหมายของความรัก
1.1ความต้องการและความสนใจของวัยรุ่น
1.2นิยามของความรัก
2.ความหมายของวัยรุ่น
3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.1 งานวิจัยภายในประเทศ
3.2 งานวิจัยต่างประเทศ
1.ความหมายของความรัก
ความหมายของความรัก
ความรัก เป็ นความรู้สึก สภาพและเจตคติต่าง ๆ
ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบระหว่างบุคคลหมายถึงอารมณ์การดึงดูดและความผูกพัน
ส่วนบุคคลอย่างแรงกล้า
ในบริบททางปรัชญาความรักเป็ นคุณธรรมแสดงออกซึ่งความเมตตา
ความเห็นอกเห็นใจ และความเสน่หาทั้งหมดของมนุษย์
ความรักเป็นแก่นของหลายศาสนา อย่างเช่นในวลี "พระเจ้าเป็ นความรัก"
ของศาสนาคริสต์
หรืออากาเปในพระวรสารในสารบบความรักยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นพฤติกรร
มต่อตนเองหรือผู้อื่นซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเห็นอกเห็นใจ
หรือความเสน่หาอารมณ์รักเป็นอารมณ์แห่งความรู้สึกพึงพอใจ สุขใจ
เกิดขึ้นเมื่อสิ่งเร้ามาทาให้เกิด ความรู้สึกเช่นรักคน รักสัตว์
รักสิ่งของเป็ นต้นอารมณ์รักเกิดจากการเรียนรู้ไม่ใช่สิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด
การ แสดงความรักของวัยรุ่นนั้นต้องการเพียงอยากอยู่ใกล้ชิดกับคนที่ตนรัก
มีความอดทน ความเอาใจใส่ มี ความสุขที่ได้เห็นคนที่รัก (พึ่งพิศ จักรง,
2538:123-
124)การอกหักจะไม่สร้างผลกระทบที่เลวร้ายกับชีวิตวัยรุ่นหากมีความเข้าใจ
การความรัก ที่เหมาะสมไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน
การเลือกคู่ครองที่มีความคล้ายคลึงกันจะทาให้ชีวิตคู่ยืนยาว การมี
คู่ครองควรมาจากความเข้าใจกันทั้งสองฝ่าย รูปร่างหน้าตา
ไม่เป็นสิ่งสาคัญในการการเลือกคู่ครอง (ศรายุทธ ทองอุทัย, 2546:951)
1.1 ความต้องการและความสนใจของวัยรุ่น
สุพัตรา สุภาพ (2543: 17)
กล่าวว่าความต้องการของวัยรุ่นมาจากความต้องการของตัวเอง
บวกกับความต้องการของสังคม เช่น ความต้องการความรัก
ต้องการความสนุกสนาน ต้องการความ เป็นอิสระ ต้องการได้รับการยกย่อง
มีอุดมคติสูง มีความสนใจเรื่องเพศ สนใจเพื่อนต่างเพศ ต้องการ รวมกลุ่ม
ต้องการการยอมรับจากผู้ใหญ่ ต้องการแบบอย่างที่ดี
ต้องการความปลอดภัยและมั่นคง เป็นต้น
ความต้องการทางจิตใจหรือทางจิตวิทยา (psychological needs)
คือความต้องการทาง จิตวิทยา เป็ นความต้องการทางจิตที่ลึกลับซับซ้อน
ยากที่จะอธิบายได้ และบางครั้งไม่สามารถควบคุม ได้
ซึ่งเป็ นความต้องการที่หลากหลาย
และมากมายโดยเฉพาะความต้องการความรัก และความมั่นคง ในความรัก
ถือว่าเป็นสิ่งที่วัยรุ่นต้องการมาก
ถ้าผู้ใหญ่สามารถเข้าใจความต้องการของวัยรุ่นบ้างด้วย การ
ดูแลและสนองความต้องการที่จาเป็นอย่างมีเหตุผลและมีแนวทางในการฝึกให้
วัยรุ่นมีพฤติกรรม เป็ นไปตามที่สังคมยอมรับได้
ก็จะเป็นการลดช่องว่างระหว่างวัย และเป็ นการช่วยพัฒนาความคิด
ความสามารถ และอุดมการณ์ของวัยรุ่นไปในทางทางที่ถูกต้อง
เหมาะสมเพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม และต่อชาติโดยส่วนรวม
1.2นิยามของความรัก
ความรักเป็นหัวข้อที่ถูกศึกษามาอย่างยาวนาน
และปรากฏอยู่ในแทบจะทุกแง่มุมของชีวิตเราทั้งหนัง เพลง ละคร งานเขียน
บทกวี งานศิลปะ ถึงอย่างนั้น
ความรักก็ยังเป็ นความซับซ้อนที่สุดสิ่งหนึ่งของมนุษย์
ความรักเป็นเหมือนดาบสองคม
ด้านหนึ่งมันช่วยเปลี่ยนโลกทั้งใบของคนหนึ่งให้สดใส มีความหมาย มีพลังได้
แต่อีกด้านก็สามารถทาลายชีวิตคนหนึ่งให้พังทลายได้เช่นเดียวกัน
ความรักเป็นสิ่งสาคัญตั้งแต่คนเรายังไม่ออกจากท้องแม่
และสาคัญในทุกแง่มุมของชีวิต
ความรักถูกสร้างภาพให้สวยงามหอมหวานผ่านนิยาย หนัง ละคร
แต่ความจริงแล้ว ความรักเองก็ถูกใช้เป็นเครื่องมือหรือข้ออ้างในการทาร้าย
ควบคุม บงการคนอื่นเช่นเดียว
ไม่ว่าจะเป็ นพ่อแม่ที่บอกให้ลูกต้องทาตามความต้องตัวเองเพราะบอกลูกว่านั่น
คือความรัก
สามีที่บังคับให้ภรรยาทาสิ่งที่เขาไม่ต้องการโดยใช้ความรักเป็ นข้ออ้าง
เราอยู่ในสังคมที่พยายามบอกเราว่าความรักคืออะไรอยู่เสมอ
โฆษณาอาจบอกว่าแหวนเพชรคือความรักที่นิรันดร์
เทศกาลวาเลนไทน์อาจบอกว่าดอกไม้สีแดงช่อโตคือความรัก
เราถูกกรอกหูอยู่แทบตลอดเวลา
การมีนิยามความรักของตัวเองจึงเป็ นสิ่งสาคัญมาก
เพราะมันจะไม่ทาให้เราหลงไปกับอะไรที่ไม่ใช่ตัวเอง
และนามาซึ่งความว่างเปล่าในที่สุด
ความรักเป็นสิ่งที่มีนิยามที่หลากหลาย บางคนบอกว่ามันคือความผูกพัน
บางคนบางบอกมันคือการอยากอยู่ใกล้
บางคนบอกว่ามันคือการคิดถึงเขาทุกวินาที
แต่ละคนล้วนมีนิยามความรักในแบบของตัวเอง
ธรรมชาติและชีวิตของคนอยู่ได้ด้วยความรัก
ผู้ที่มีความรักและมีคนรักย่อมมีความสุข เพราะจะได้เรียนรู้ว่าตนรักใคร
และตนจะมีความสุขมากหากรู้ว่าบุคคลนั้นก็รักตน (ดนัย ไชโยธา 2546: 1)
จากการศึกษาเอกสารต่างๆ
พบว่ามีผู้ให้นิยามของความรักไว้หลากหลายดังต่อไปนี้
ลาสส์เวลล์ และ ลาสส์เวลล์ (อุมาพร ตรังคสมบัติ, 2545: 10,
อ้างอิงมาจาก Lasswell and Lasswell. 1976) กล่าวว่า
ความรักระหว่างชายหญิงมีหลายแบบ แต่ละแบบเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ ต่างกัน
ในช่วงต้นของการเกี้ยวพาราสีชายหญิงจะมีความรักแบบโรแมนติก
(romantic love) เมื่อเวลา ผ่านไปความรักที่มีเหตุผล (logical-sensible
love) จะเกิดขึ้น และเมื่อใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันนานวันเข้า ความรักฉันเพื่อน
(lifelong friendship) ก็จะเกิดขึ้นแทนที่
โรบิน (ไพลิน ศรีสุขโข. 2545: 68 : อ้างอิงมาจาก Rubin, 1970-
1973) ได้พัฒนามาตรวัด ความรู้สึกของความรัก
โดยการตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้นมาโดยเฉพาะเพื่อวัดระดับความรู้สึกของ
ตนต่อคนอื่น ผู้ซึ่งเป็ นคนที่เขาสนใจ พบว่าได้คานิยามของความรักไว้ 3
องค์ประกอบคือ ความผูกพัน ความเอาใจใส่ และความใกล้ชิด
2.ความหมายของวัยรุ่น
ความหมายและการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
วัยรุ่น หมายถึง วัยที่อายุย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาว คือ ช่วงอายุ13-20 ปี
ที่ต้องรับมือกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย
หรือวัยที่อยู่ในช่วงคาบเกี่ยวระหว่างวัยเด็ก
กับผู้ใหญ่เป็ นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่สาคัญซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง
ๆทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจริยธรรม
ซึ่งจะมีการเจริญเติบโตทางร่างกายสูงสุด เป็ นช่วงวัยที่ต้องเผชิญกับ
ประสบการณ์ใหม่ความรับผิดชอบที่เพิ่ม มากขึ้น
มีสัมพันธภาพทั้งกับผู้ใหญ่และกลุ่มเพื่อน (ประณต,
2549)เป็ นช่วงวัยที่อยู่ระหว่างความเป็นเด็กกับ
ความเป็นหรือย่างเข้าสู่ความเป็นหนุ่มสาว
โดยไม่สามารถระบุความชัดเจนได้ว่าจะ มีความสิ้นสุดการเป็ นหนุ่ม
เป็นสาวนั้นได้เมื่อใด แต่พอที่จะสามารถกาหนดการเปลี่ยนแปลง
ทางร่างกายของวัยรุ่นหรือรูปร่างของวัยรุ่น ได้ เป็ นสาคัญ (สุพัตรา, 2534)
การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น พัฒนาการของวัยรุ่นจะแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ
วัยแรกรุ่น วัยรุ่นตอนกลาง และวัยรุ่นตอนปลาย
1.วัยแรกรุ่น (10-13ปี)
เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทุกระบบ
โดยจะมีความคิดหมกมุ่นกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
ซึ่งจะส่งผลกระทบไปยังจิตใจทาให้อารมณ์หงุดหงิดและแปรปรวนง่าย
2.วัยรุ่นตอนกลาง (14-16 ปี
) เป็นช่วงที่วัยรุ่นจะยอมรับสภาพร่างกายที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นหนุ่มเป็ นสา
วได้แล้ว มีความคิดที่ลึกซึ้ง
จึงหันมาใฝ่หาอุดมการณ์และหาเอกลักษณ์ของตนเอง
เพื่อความเป็นตัวของตัวเอง และพยายามเอาชนะความรู้สึกแบบเด็กๆ
ที่ผูกพันและอยากจะพึ่งพาพ่อแม่
3.วัยรุ่นตอนปลาย(17-19 ปี) เป็นเวลาของการฝึกฝนอาชีพ
ตัดสินใจที่จะเลือกอาชีพที่เหมาะสม
และเป็นช่วงเวลาที่จะมีความผูกพันแน่นแฟ้ น กับเพื่อนต่างเพศ
สภาพทางร่างกายเปลี่ยนแปลงเติบโตโดยสมบูรณ์เต็มที่
และบรรลุนิติภาวะในเชิงกฎหมาย
การเปลี่ยนแปลงมีทั้งหมด 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย
ด้านสติปัญญาและการเรียนรู้ ด้านจิตใจและอารมณ์ ด้านสังคม
1.ร่างกาย ส่วนสูงและน้าหนัก โครงร่างและสัดส่วน
กล้ามเนื้อและไขมัน กาลังและความแข็งแรง ลักษณะทางเพศ
2.จิตใจและอารมณ์ อ่อนไหวง่าย ควบคุมอารมณ์ยังไม่ดีนัก
ค้นหาตัวเอง เกาะกลุ่มติดเพื่อน
3.สังคม คบเพื่อนกลุ่มใหญ่ ต้องการเป็นทียอมรับจากกลุ่ม
4.สติปัญญาและการเรียนรู้ ความสามารถทางด้านการคิด มองสิ่งต่าง ๆ
ได้ตามความจริง สามารถตัดสินใจโดยใช้เหตุผลได้
ผู้ชาย ในช่วงวัยรุ่นผู้ชายจะมีเสียงแหบห้าวขึ้น
เริ่มมีขนตรงอวัยวะเพศมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นรักแร้ ขา
และตรงลาคอเริ่มมีลูกกระเดือกและเริ่มมีความรู้สึกทางเพศโดยเฉพาะช่วงวัยรุ่
นตอนต้นมักจะสนใจผู้หญิงที่อายุมากกว่าเนื่องจากผู้หญิงที่แก่กว่าดูเป็นสาวเต็
มตัวดูแล้วสมวัยกันต่างจากผู้หญิงในวัยเดียวกันยังดูเด็ก ๆ อยู่ และมีฝันเปียก
ผู้หญิง เด็กวัยรุ่นผู้หญิง หน้าอกจะผายเริ่มมีเม็ดไตที่แข็ง
มีขนขึ้นตามร่างกาย หรือแม้กระทั่งอวัยวะเพศ เริ่มมีประจาเดือน
เริ่มมีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น เริ่มมีเสียงที่แหลม รูปร่างจะสูงขึ้น
กระชับและได้สัดส่วนมากขึ้น
ในด้านร่างกายก็เป็นวัยที่ร่างกายเจริญเติบโต เช่น แขนขายาว
รูปร่างสูงใหญ่ บางครั้งเด็กจะ รู้สึกประหม่า วางตัวไม่ถูกเมื่ออยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่
เป็นต้น และไม่ค่อยสบายใจที่ร่างเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว
บางครั้งครอบครัวและสังคมมักจะเรียกร้อง
คาดหวังและสร้างกฎเกณฑ์มาตรฐานแบบผู้ใหญ่ ให้วัยรุ่นปฏิบัติ
ซึ่งโดยแท้จริงแล้ว
วัยรุ่นแม้ในระยะแรกจะมีร่างกายเจริญเติบโตแบบผู้ใหญ่แต่ก็ยังมี
ความเป็นเด็กอยู่ ในการทาความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ
ยังต้องอาศัยความเห็นอกเห็นใจ กาลังใจ การ
ช่วยเหลือแนะนาที่ถูกต้องจากผู้ใหญ่เป็นอย่างมาก
ส่วนปัญหาในวัยนี้มักจะเป็นความสนใจและการ เรียนรู้ในเรื่องเพศ
ความต้องการที่เป็นอิสระ การคบเพื่อน และการตั้งความมุ่งหมายเกี่ยวกับชีวิต
อนาคตของตัวเอง
วัยรุ่นเป็ นวัยที่มีอารมณ์รุนแรง เป็ นวัยพายุบุแคม ใจร้อน
เจ้าคิดเจ้าแค้น ตัดสินใจรวดเร็ว และฉับพลัน
การที่วัยรุ่นแสดงกิริยาอาการแปลกๆ แท้จริงคือ ปรากฏการณ์ปกตินั่นเอง
ส่วนใหญ่เป็ น วัยรุ่นที่กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน ดังนั้นโรงเรียนและครูผู้สอน
จึงต้องเข้าใจบุคลิกภาพของคนเหล่านั้น เพื่อจะได้จัดโรงเรียน
หลักสูตรการเรียนการสอน
และการปกครองไปในทางที่จะตอบสนองความต้องการของเด็กวัยรุ่นเหล่านั้น
ด้วย
3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.1งานวิจัยในประเทศ
วรรณพร ขวัญบุญจันทร์ (2541: 125)
ได้ศึกษาเกี่ยวกับเจตคติของนักเรียนวิทยาลัยพล
ศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ซึ่งผลวิจัยพบว่า
เจตคติของนักศึกษาชายกับ
นักศึกษาหญิงที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศในสถานการณ์ในทางบวกมีควา
มแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญ เพียง 1 สถานการณ์
สาหรับสถานการณ์ในทางลบมีความแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญ จานวน 16
สถานการณ์ จากการวิจัยก็พบได้ว่า
วัยรุ่นหญิงมีระดับเจตคติในด้านการวางตัวต่อเพื่อน ต่างเพศดีกว่าวัยรุ่นชาย
ผุสดี ตั้งจิตนุกุล (2544: 175)
ได้ศึกษาเรื่องทัศนคติที่มีต่อความรักของวัยรุ่น โดยศึกษากลุ่ม
ตัวอย่างคือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3
โรงเรียนพาณิชยการจังหวัด เชียงใหม่ ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2543 จานวน 206 คน ซึ่งเป็ นนักศึกษาหญิง 151 คน
นักศึกษาชาย 55 คน
โดยใช้แบบสอบถามวัดทัศนคติที่มีต่อความรักที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และ ทดสอบใน
3 ด้าน คือความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องความรัก ด้านความรู้สึกที่มีต่อความรัก
และด้านแสดงออก ของความรัก ผลการวิจัยพบว่า
ทัศนคติต่อความรักของวัยรุ่นอยู่ในระดับค่อนข้างดี เมื่อเปรียบเทียบ
ทัศนคติที่มีต่อความรักของวัยรุ่นหญิงและวัยรุ่นชายทั้ง 3 ด้าน
ในภาพรวมปรากฏว่า มีทัศนคติไม่ แตกต่างกัน
3.2 งานวิจัยต่างประเทศ
แมชเชส และเซวารา (de Weerth and Kalma. 1993: 266; citing
Matches & Devera. 1981) ทาการวิจัยเรื่อง ความหึงหวง ความรัก
และความชอบ ผลการวิจัยพบว่า เพศชายมีความหึงหวง มากกว่าเพศหญิง
เวิร์ท และคิลมา (de Weerth and Kalma. 1993)
ได้ศึกษาเกี่ยวความก้าวร้าวของเพศหญิง ซึ่งเป็ นผลมาจากความหึงหวง
โดยศึกษากับกลุ่ม
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการศึกษา
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าและสืบข้อมูลเรื่องความรักส่งผลต่อชีวิตวัยรุ่
นอย่างไรได้แบ่งวิธีการ ดาเนินงานเป็ นขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ศึกษาในเรื่องนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง
9 โรงเรียนราชซินิตบางแก้ว ปีการศึกษา พ.ศ.2566 จานวน 30 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเรื่องความรักส่งผลต่อชีวิตวัยรุ่นอย่างไร คือ
แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือที่ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ตั้งคาถามที่ผ่านการศึกษาแนวคิด ทัศนคติ
ทฤษฎีสมคบคิดหรือสถานการณ์ที่พบเองกับตัวและคนรอบข้าง
โดยจาแนกคาถามเป็น 10 ข้อ ได้แก่
1.คุณมีเพศอะไร
2.คุณเคยมีแฟนหรือไม่
3.คุณอยากมีแฟนในตอนนี้หรือในอนาคตหรือไม่
4.ภารมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่
5.คุณเคยผิดหวังกับความรักหรือไม่
6.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น
7.ความคิดส่วนบุคคลมีผลต่อการเลือกแฟนหรือไม่
8.ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธุ์ยืนยาว
9.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย
10.ปัจจัยที่ทาให้คนเลิกกัน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.สร้างแบบสอบถามและจัดพิมพ์แบบสอบถาม
2.ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีแจกแบบสอบถามให้นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 9 ปี การศึกษา พ.ศ.2566 จานวน 30 คน
และเก็บรวบรวมข้อมูลกลับด้วยตนเอง
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลในโครงงานนี้ หาค่าออกมาเป็น 2 ส่วน คือ
ส่วนค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย โดยมีวิธีการวิเคราะห์แตกต่างกัน ดังนี้
1.ค่าร้อยล่ะ ใช้สูตร จานวนเงินที่เพิ่มขึ้น / เงินเดือนเดิม x 100
=เลขเปอร์เซ็นต์ รวบรวมได้จากแบบสอบถาม
2.ค่าเฉลี่ย ใช้สูตร การบวกตัวเลขในกลุ่มหนึ่งเข้าด้วยกัน
จากนั้นหารด้วยจานวนนับของตัวเลขในกลุ่มนั้น
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ค่าร้อยละ (Percentage) (96)
2. ค่าเฉลี่ย (Mean) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเรื่องความรักส่งผล
ต่อวัยรุุ่นอย่างไร
ผุู้ศึกษาได้นาเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลข้อมูลตามลาดับดังนี้
1.ขั้นตอนนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
2.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่1 เป็นผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุุ่มตัวอย่าง
ว่าเป็นเพศชายหรือหญิง
ตอนที่2
เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไ
รของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่1
เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วของกลุ่มตัวอย่างแสดงไว้ในตาราง 1 ดังนี้
ตารางที่ 1จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกเพศ
สภาพของกลุ่มตัวอย่าง จานวนคน ร้อยละ
1.เพศ
1.1 เพศชาย
1.2 เพศหญิง
8
22
26.7%
73.3%
รวม 30 100
ตอนที่ 2
เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไ
รของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ซึ่งแสดงไว้ในตารางที่2 ดังนี้
ตารางที่ 2 แบบสอบถามความรักส่งผลต่อวัยรุุ่นอย่างไร
โดยหาค่าความถี่และร้อยละ
คุณเคยมีแฟนหรือไม่ จานวน ร้อยละ
เคย 17 56.7%
ไม่เคย 11 36.7%
มีอยู่ ณ ปัจจุบัน 2 6.7%
คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่ จานวน ร้อยละ
อยากมี 18 60%
ไม่อยากมี 8 26.7%
เฉยๆ 4 13.3%
รวม 30 100%
การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็นหรือไม่ จานวน ร้อยละ
จาเป็น 4 13.3%
ไม่จาเป็น 26 86.7%
รวม 30 100%
คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่ จานวน ร้อยละ
เคย 23 76.7%
ไม่เคย 7 23.3%
รวม 30 100%
ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น จานวน ร้อยละ
เพื่อน 10 33.3%
ครอบครัว 3 10%
สื่ออินเตอร์ ออนไลน์ 16 53.3%
อื่นๆ 1 3.3%
รวม 30 100%
ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ จานวน ร้อยละ
ส่งผล 30 100%
ไม่ส่งผล 0 0%
รวม 30 100%
ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว จานวน ร้อยละ
ความเข้าใจ 13 43.3%
การปรับตัวเข้าหากัน 11 36.7%
อยู่ด้วยกันไม่ว่าเกิดอะไรขึ้น 2 6.7%
ยอมรับในข้อเเตกต่างของอีกฝ่าย 2 6.7%
อื่นๆ 2 6.7%
รวม 30 100%
คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย จานวน ร้อยละ
ส่งผลดี 13 43.3%
ส่งผลเสีย 2 6.7%
ไม่ส่งผล 15 50%
รวม 30 100%
ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน จานวน ร้อยละ
นอกใจ 5 16.7%
โดนทิ้ง 0 0%
เบื่อกับความสัมพันธ์ 16 53.3%
ไม่เกิดเหตุการร์ดังกล่าว 8 26.7%
อื่นๆ 1 3.3%
รวม 30 100%
ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยของแบบสอบถามโดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย
1.คุณเคยมีแฟนหรือไม่ 17
2.คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่ 18
3.การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ 26
4.คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่ 23
5.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น 16
6.ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ 30
7.ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว 13
8.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย 15
9.ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน 16
จากตารางที่ 3 แสดงว่ากลุ่มตัวอย่าง คุณเคยมีแฟนหรือไม่
เคยมีทั้งหมด17คน ร้อยละ 56.7% ไม่เคยมีทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7%
มีอยู่ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 2คน ร้อยละ 6.7% จากข้อมูล
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่ามี คุณอยากมีแฟนในวัยรุ่น อยากมีทั้งหมด18คน
ร้อยละ60%
ไม่อยากมีทั้งหมด8คนร้อยละ26.7%เฉยๆจานวน4คนร้อยละ13.3%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าอยากมี การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่
จาเป็นทั้งหมด4คน ร้อยละ13.3%ไม่จาเป็ นทั้งหมด26คน ร้อยละ86.7%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่จาเป็ น คุณเคยผิดหวังการมีความรักหรือไม่
เคยทั้งหมด23คน ร้อยละ76.6% ไม่เคยทั้งหมด7คน ร้อยละ23.3%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าเคย ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น
เพื่อนทั้งหมด10คน ร้อยละ33.3% ครอบครัวทั้งหมด3คน ร้อยละ10%
สื่อออนไลน์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% อื่นๆทั้งหมด1คน
ร้อยละ3.3%คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าสื่อออนไลน์
ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ ส่งผลทั้งหมด30คน
ร้อยละ100% ไม่ส่งผลทั้งหมด0คน ร้อยละ0%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว
ความเข้าใจทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% การปรับตัวเข้าหากันทั้งหมด11คน
ร้อยละ36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7%
ยอมรับในข้อแตกต่างของอีกฝ่ายทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% อื่นๆทั้งหมด2คน
ร้อยละ6.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าความเข้าใจกัน
คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดีทั้งหมด13คน
ร้อยละ43.3% ส่งผลเสียทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ไม่ส่งผลทั้งหมด15คน
ร้อยละ50% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่ส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิก
นอกใจทั้งหมด5คน ร้อยละ16.7% โดนทิ้งทั้งหมด0คน ร้อยละ0%
เบื่อกับความสัมพันธ์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3%
ไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งหมด8คน ร้อยละ26.7% อื่นๆทั้งหมด1คน
ร้อยละ3.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่า เบื่อกับความสัมพันธ์
บทที่ 5
สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็ นการศึกษาเรื่องความรักในวับรุ่นของนักเรียนชั้นมั
ถยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 จานวน 40 คน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นขว้า
เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความรักในวัยรุ่นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
1.ขอบเขตด้านเนื้อหา
การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นเกี่ยวกับความรักในวัยรุ่นชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 จาแนกเป็น 9 ด้าน
ได้แก่
1. ปัจจัยเคยมีแฟน
2.ปัจจัยการอยากมีแฟน
3.ปัจจัยความจาเป็นต่อการมีแฟนในวัยรุ่น
4.ปัจจัยด้านการผิดหวังในวัยรุ่น
5.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น
6.ด้านความคิดส่วนบุลคล
7.ปัจจัยที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว
8.ปัจจัยการส่งผลดีและผลเสีย
9.ปัจจัยที่ทาให้คนเลิกกัน
2.ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็ นนักเรียนชั้นมัธยมศ฿กษาปีที่ 2/9
ของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวนกลุ่มตัวอย่าง 40
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
แบบสารวจเกี่ยวกับความรักในวัยรุ่นของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
จานวน 9 ข้อซึ่งผู้ทาการศึกษาค้นคว้าสร้างขั้น
สรุปผลการศึกษา
ผลของการศึกษาวิจัยเรื่อง ความรักในวัยรุ่น
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 40
คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้
1.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่มักเป็นเพศหญิง จานวน 22 ตน
ร้อยละ 73.3 และเพศชายจานวน 8 คน ร้อยละ 26.7
2.ผลการวิเคราะห์ความรักในวัยรุ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่
2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 40 คน ทั้งหมด 8 ด้าน มีดังนี้
คุณเคยมีแฟนหรือไม่ เคยมีทั้งหมด17คน ร้อยละ 56.7%
ไม่เคยมีทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% มีอยู่ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 2คน ร้อยละ
6.7% จากข้อมูล คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่ามี คุณอยากมีแฟนในวัยรุ่น
อยากมีทั้งหมด18คน ร้อยละ60%
ไม่อยากมีทั้งหมด8คนร้อยละ26.7%เฉยๆจานวน4คนร้อยละ13.3%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าอยากมี การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่
จาเป็นทั้งหมด4คน ร้อยละ13.3%ไม่จาเป็ นทั้งหมด26คน ร้อยละ86.7%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่จาเป็ น คุณเคยผิดหวังการมีความรักหรือไม่
เคยทั้งหมด23คน ร้อยละ76.6% ไม่เคยทั้งหมด7คน ร้อยละ23.3%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าเคย ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น
เพื่อนทั้งหมด10คน ร้อยละ33.3% ครอบครัวทั้งหมด3คน ร้อยละ10%
สื่อออนไลน์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% อื่นๆทั้งหมด1คน
ร้อยละ3.3%คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าสื่อออนไลน์
ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ ส่งผลทั้งหมด30คน
ร้อยละ100% ไม่ส่งผลทั้งหมด0คน ร้อยละ0%
คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว
ความเข้าใจทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% การปรับตัวเข้าหากันทั้งหมด11คน
ร้อยละ36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7%
ยอมรับในข้อแตกต่างของอีกฝ่ายทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% อื่นๆทั้งหมด2คน
ร้อยละ6.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าความเข้าใจกัน
คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดีทั้งหมด13คน
ร้อยละ43.3% ส่งผลเสียทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ไม่ส่งผลทั้งหมด15คน
ร้อยละ50% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่ส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิก
นอกใจทั้งหมด5คน ร้อยละ16.7% โดนทิ้งทั้งหมด0คน ร้อยละ0%
เบื่อกับความสัมพันธ์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3%
ไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งหมด8คน ร้อยละ26.7% อื่นๆทั้งหมด1คน
ร้อยละ3.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่า เบื่อกับความสัมพันธ์
ภาคผนวก
หลักฐานการวิเคราะห์ข้อมูล
1.คุณเคยมีเเฟนหรือไม่
เคย ไม่เคย มีอยู่ ณ ปัจจุบัน
2.คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่
อยากมี ไม่อยากมี เฉยๆ
3.การมีเเฟนในวัยรุ่นจาเป็นหรือไม่
จาเป็น ไม่จาเป็น
4.คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่
เคย ไม่เคย
5.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น (
เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ )
เพื่อน ครอบครัว สื่ออินเตอร์เน็ต ออนไลน์
6.ความคิดส่วนบุลคลมีผลต่อการเลือกเเฟนหรือไม่
ส่งผล ไม่ส่งผล
7.ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว ( เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ
)
ความเข้าใจ การปรับตัวเข้าหากัน
อยู่ด้วยกันไม่ว่าเกิดอะไรขึ้น ยอมรับในข้อเเตกต่างของอีกฝ่าย
8.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย
ส่งผลดี ส่งผลเสีย ไม่ส่งผล
9.ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน
นอกใจ โดนทิ้ง เบื่อกับความสัมพันธ์
ยังไม่เกิดเหตุการร์ดังกล่าว

More Related Content

Similar to เรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการrorsed
 
พ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกพ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกNavaponNoppakhun
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4RunchiRunchi
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง Pnong Club
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศลฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศลPiyarerk Bunkoson
 
9789740330790
97897403307909789740330790
9789740330790CUPress
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 

Similar to เรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (20)

test
testtest
test
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
พ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกพ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวก
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศลฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
 
9789740330790
97897403307909789740330790
9789740330790
 
Happy
HappyHappy
Happy
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 

เรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

  • 1. เรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ชื่อผู้ศึกษา 1.ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ เลขที่ 14 2.กชณิชา ทรงคาศรี เลขที่ 22 3.ชัชญาณิช คาแย้ม เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2 ปีการศึกษา 2567 ลิขสิทธิ์เป็นของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
  • 2. เรื่อง ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว บทคัดย่อ ของ 1.ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ เลขที่ 14 2.กชณิชา ทรงคาศรี เลขที่ 22 3.ชัชญาณิช คาแย้ม เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 การศึกษาค้นคว้าอิสระเสนอต่อโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา การศึกษาค้นคว้าอิสระ IS2 ปีการศึกษา 2567 ลิขสิทธิ์เป็ นของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
  • 3. ชื่อเรื่อง ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว ผู้ศึกษาค้นคว้า 1.ด.ญ.ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ 2.ด.ญ.กชณิชา ทรงคาศรี 3.ด.ญ.ชัชญาณิชคาแย้ม เลขประจาตัว 38558 ,38620 ,38623 อาจารย์ผูควบคุมการค้นคว้าอิสระ คุณครูณปภัช บุรานนท์ สาขาวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS2 รหัสวิชา I20202) ปีการศึกษา 2567 บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรักส่งผลต่อ วัยรุ่นอย่างไร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบาวแก้วสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ปีการศึกษา 2567 จานวน30คน เครื่องมีที่ใช้ในการรวมรวบข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม (question naire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ 1. ค่าร้อยล่ะ (Percentaga) (%)เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม 2. ค่าเฉลี่ย (Mean) ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว จานวน 30 คน สามารถสรุปผล ได้ดังนี้
  • 4. 1.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 22 คน ร้อยละ 73.3 และ เพศชาย จานวน 8 คน ร้อยละ 26.7 2.ผลการวิเคราะห์เรื่อง ความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว จานวน 30 คน ซึ่งมี 9 คาถาม 1.คุณเคยมีแฟนหรือไม่ 2.คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่ 3.การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ 4.คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่ 5.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น 6.ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ 7.ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว 8.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย 9.ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน กลุ่มตัวอย่าง คุณเคยมีแฟนหรือไม่ เคยมีทั้งหมด17คน ร้อยละ 56.7% ไม่เคยมีทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% มีอยู่ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 2คน ร้อยละ 6.7% จากข้อมูล คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่ามี คุณอยากมีแฟนในวัยรุ่น อยากมีทั้งหมด18คน ร้อยละ60% ไม่อยากมีทั้งหมด8คนร้อยละ26.7%เฉยๆจานวน4คนร้อยละ13.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าอยากมี การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ จาเป็นทั้งหมด4คน ร้อยละ13.3%ไม่จาเป็ นทั้งหมด26คน ร้อยละ86.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่จาเป็ น คุณเคยผิดหวังการมีความรักหรือไม่ เคยทั้งหมด23คน ร้อยละ76.6% ไม่เคยทั้งหมด7คน ร้อยละ23.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าเคย ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น เพื่อนทั้งหมด10คน ร้อยละ33.3% ครอบครัวทั้งหมด3คน ร้อยละ10% สื่อออนไลน์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% อื่นๆทั้งหมด1คน ร้อยละ3.3%คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าสื่อออนไลน์ ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ ส่งผลทั้งหมด30คน ร้อยละ100% ไม่ส่งผลทั้งหมด0คน ร้อยละ0% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว ความเข้าใจทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% การปรับตัวเข้าหากันทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7%
  • 5. ยอมรับในข้อแตกต่างของอีกฝ่ายทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% อื่นๆทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าความเข้าใจกัน คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดีทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% ส่งผลเสียทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ไม่ส่งผลทั้งหมด15คน ร้อยละ50% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่ส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิก นอกใจทั้งหมด5คน ร้อยละ16.7% โดนทิ้งทั้งหมด0คน ร้อยละ0% เบื่อกับความสัมพันธ์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% ไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งหมด8คน ร้อยละ26.7% อื่นๆทั้งหมด1คน ร้อยละ3.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่า เบื่อกับความสัมพันธ์ กิตติกรรมประกาศ การค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จสมบูรณ์ได้โดยความกรุณาเป็นอย่างยิ่งจา ก คุณครูณปภัช บุรานนท์ อาจารย์ผู้ควบคุมการค้นคว้าอิสระเรื่องความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบาวแก้ว ขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม ทาให้งานการศึกษาค้นคว้าฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
  • 6. ผู้ศึกษาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้บริ หารและสถานศึกษา เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของแนวทางในการบารุงด้ารการทางานต่อไป ถ้าหากโครงงานฉบับนี้มีข้อขาดตกบกพร่องประกการใด ผู้ศึกษาก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย ปภากรณ์ ใหม่อินทร์ กชณิชา ทรงคาศรี ชัชญาณิช คาแย้ม ผู้ศึกษา สารบัญ หน้า
  • 7. บทคัดย่อภาษาไทย (ก) กิตติกรรมประกาศ (ข) บทที่ 1. บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 2 ตั้งสมมุติฐาน 2 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง ความหมายของความรัก 3 ความหมายของวัยรุ่น 4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6 3. วิธีการดาเนินการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 7 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 7 การเก็บรวมรวบข้อมูล 8 การวิเคราะห์ข้อมูล 8 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 8 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 9 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 9 5. สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 10 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 10 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 11
  • 8. สรุปผลการศึกษา 11 ภาคผนวก 13 บทที่1 บทนา 1.ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา วัยรุ่นเป็ นช่วงวัยหนึ่งที่เริ่มมีการเปลี่ยงแปลงการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ เป็นเหตุให้เริ่มมีความ ต้องการและสนใจเพศตรงข้าม จึงไม่แปลกที่เด็กวัยนี้จะเริ่มมีความรัก เพราะร่างกายของช่วงวัยรุ่นจะมีการ หลั่งของฮอร์โมนที่จะส่งผลให้เด็กวัยรุ่นเริ่มมีความสนใจบุคคลหนึ่งเป็ นพิเศษ ดังนั้นความรักในวัยเรียนมี โ อ ก า ส ข อ ง ก า ร เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ สู ง แ ล ะ ค ว า ม รัก นั้ น ก็ มี ห ล า ย แ บ บ แต่ล่ะคนมีรสนิยมความรักไม่เหมือนกันทาให้ ค่ า นิ ย ม แ ล ะ ทั ศ น ค ติ ต่ า ง กั น และแต่ล่ะคนได้เรียนรู้ความรักที่แตกต่างไปจากครั้งก่อนๆ จึงทาให้คนเป็น วัยรุ่นที่มีความรักไม่ว่าใครก็ตามมีประสบการณ์ความรู้สึกเกี่ยวกับความรักที่ไ ม่เหมือนใครคนอื่น การที่วัยรุ่นมีความรักนั้นไม่ใช่เรื่องแปลกและไม่ใช่เรื่องที่ผิด แต่ถ้ามีความรักก็ควรอยู่ในขอบเขตที่ เ ห ม า ะ ส ม ไ ม่ลุ่ม ห ล ง ห รื อ ก ร ะ ท า สิ่ง ที่ม า ก เ กิน ก ว่า ค ว า ม จ า เ ป็ น เพราะความรักในวัยรุ่นเองก็มีข้อดีหลาย อ ย่ า ง เ ช่ น ท า ใ ห้ เ ร า มี ค ว า ม สุ ข มี ค น ดู แ ล เ อ า ใ จ ไ ด้ มีคนให้ปรึกษาในยามที่เรามีปัญหา ทาให้รู้จักสังคมมาก ขึ้ น แ ต่ ค ว า ม รัก ใ น วัย รุ่ น ก็ มี ข้ อ เ สี ย ห ล า ย อ ย่ า ง เ ช่ น กัน เ ช่ น เวลาอกหักอาจทาให้เราเกิดโรคเครียดขึ้นได้ อาจ ทุกข์ใจ ทาให้เราเป็ นคนโมโหร้าย ใจร้อน ทาให้เราเสียเวลา เสียเงิน เสียอนาคต และส่งกระทบ ตัวเราอีกหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นสภาพความรู้สึกสภาพจิตใจ ความคิด อารมณ์ การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป จ า ก เ ดิ ม การอกหักจะไม่สร้างผลกระทบที่เลวร้ายกับชีวิตวัยรุ่นหากมีความเข้าใจ การ
  • 9. มี ค วาม รัก ใน วัย รุ่นมิใช่เ รื่อ งเ สี ย ห าย ห าก ไม่ ลุ่ม ห ล ง จ น เ กิน ไ ป ความรักที่เหมาะสมไม่เป็นอุปสรรคต่อการ เรียน การเลือกคู่ครองที่มีความคล้ายคลึงกันจะทาให้ชีวิตคู่ยืนยาว การมีคู่ครองควรมาจากความเข้าใจกันทั้ง สองฝ่ าย รูปร่างหน้าตา ไม่เป็ นสิ่งสาคัญในการการเลือกคู่ครอง (ศรายุทธ ทองอุพัย, 2546:951) คนเราเมื่อ มีการใช้ชีวิตร่วมกับคน สัตว์ สิ่งของ หรือแม้กระทั่งสถานที่ใดๆก็ตาม ในระยะแรกความรู้สึกชอบ พอใจที่ต่อ ค น สัต ว์ สิ่ ง ข อ ง แ ล ะ ส ถ า น ที่ เ ห ล่ า นั้ น ก็ จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น ความรักและเมื่อเวลาผ่านไปก็จะกลายเป็นความ ผูกพัน (ธนัชชา พรหมสุภา,2560: 1 1) อารมณ์รักเป็ นอารมณ์แห่งความรู้สึกพึงพอใจ สุขใจ เกิดขึ้นเมื่อสิ่งเร้ามาทาให้เกิดความรู้สึกเช่นรักคน รักสัตว์ รักสิ่งของเป็ นต้นอารมณ์รักเกิดจากการเรียนรู้ไม่ใช่สิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด การแสดงความรักของวัยรุ่นนั้นต้องการเพียงอยากอยู่ใกล้ชิดกับคนที่ตนรัก มีความอดทน ความเอาใจใส่ มีความสุขที่ได้เห็นคนที่รัก (พึ่งพิศ จักรง,2538:123-124) วั ย รุ่ น คื อ ช่ ว ง วั ย ที่ เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ อ า ย 13 - 19 ปี มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆมากมาย วัยรุ่นเป็นวัยที่ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง หั ว เ ลี้ ย ว หั ว ต่ อ แ ล ะ มี ก า ร เ จ ริ ญ เ ดิ บ โ ต มีการเปลี่ยนแปลงในเกือบทุกด้านไม่ว่าจะเป็น ทางด้านร่างกาย ต้านอารมณ์ ต้านสังคม และด้านสติปัญญา เป็ นช่วงวัยที่ต้องเผชิญกับ ประสบการณ์ใหม่ความรับผิดชอบที่เพิ่ม มากขึ้น มีสัมพันธภาพทั้งกับผูใหญ่และกลุ่มเพื่อน (ประณต, 2549) นอกจากนี้ยังมีผู้ที่กล่าวไว้ว่า วัยรุ่นเป็นวัย ที่เปลี่ยนแปลงจากค วาม เป็ นเดีก ก้าวเข้าสู่ความเป็ นวัย ผู้ให ญ่ และเป็นช่วงวัยที่อยู่ระหว่างความเป็นเด็กกับ ค ว า ม เ ป็ น ห รื อ ย่ า ง เ ข้ า สู่ ค ว า ม เ ป็ น ห นุ่ ม ส า ว โดยไม่สามารถระบุความชัดเจนได้ว่าจะ มีความสิ้นสุดการเป็นหนุ่ม เป็ นสาวนั้นได้มื่อใด แต่พอที่จะสามารถกาหนดการเปลี่ยนแปลง ทางร่างกายของวัยรุ่นหรือรูปว่างของวัยรุ่น ไห้ เป็นสาคัญ (สูพัดรา , 2534) จากข้อมูลดังกล่าวเราจึงสนใจจะศึกษาเรื่องความรักในวัยรุ่นส่งผลต่อชีวิ ตอย่างไร เพราะวัยรุ่นเป็น วัย ที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆรวมถึงเกี่ยวกับเรื่องความรักเช่นกัน โดยได้ศึกษาผ่านงานวิจัย
  • 10. ต่ า ง ๆ แ ล ะ แ บ บ ส อ บ ถ า ม เพื่อหาความคิดเห็นข้อมูลข้อสรุปเป็นแนวคิดให้กับวัยรุ่นเกี่ยวกับความรัก 2. จุดประสงค์ 1.เพื่อที่จะศึกษาการมีความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร 2.เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการมีความรักในวัยรุ่น 3. ตั้งสมมุติฐาน ถ้าการมีความรักส่งผลต่อวัยรุ่นดังนั้นวัยรุ่นที่มีความรักจะได้เรียนรู้ในห ลายๆเรื่องมากกว่า คนที่ไม่มีความรัก 4. ขอบเขตการวิจัย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ห้อง 9 โรงเรียนราชวินิตบงแก้ว ปี การศึกษา 2566 5. นิยามศัพท์เฉพาะ ค ว า ม รั ก ห ม า ย ถึ ง ก า ร มี ค ว า ม รัก แ บ บ ช อ บ เ พ ศ ต ร ง ข้ า ม ห รื อ ช อ บ เ พ ศ เ ดี ย ว กัน เป็นความสนใจบุคคล หนึ่งเป็ นพิเศษใช้สถานะว่าเป็ นคู่รัก คนรักหรือแฟน วัย รุ่ น ห ม า ย ถึ ง นัก เ รี ย น ชั้ น มัธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 ห้ อ ง 9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปีการศึกษา 2566 เป็ นช่วงวัยหนึ่งที่เริ่มมีการเปลี่ยงแปลงด้านต่างๆทาให้เริ่มมีความต้องการและ สนใจเพศตรงข้ามมากขึ้น เด็กวัยนี้จึงเริ่มมีความรัก 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้ศึกษาว่าการมีความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไร 2.ได้แนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการมีความรักในวัยรุ่น
  • 11. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความรักของนักเรียนชั้นมัธย มศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยลาดับเนื้อหาที่เป็นสาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1.ความหมายของความรัก 1.1ความต้องการและความสนใจของวัยรุ่น 1.2นิยามของความรัก 2.ความหมายของวัยรุ่น 3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 งานวิจัยภายในประเทศ 3.2 งานวิจัยต่างประเทศ 1.ความหมายของความรัก ความหมายของความรัก ความรัก เป็ นความรู้สึก สภาพและเจตคติต่าง ๆ ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบระหว่างบุคคลหมายถึงอารมณ์การดึงดูดและความผูกพัน ส่วนบุคคลอย่างแรงกล้า ในบริบททางปรัชญาความรักเป็ นคุณธรรมแสดงออกซึ่งความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ และความเสน่หาทั้งหมดของมนุษย์ ความรักเป็นแก่นของหลายศาสนา อย่างเช่นในวลี "พระเจ้าเป็ นความรัก" ของศาสนาคริสต์ หรืออากาเปในพระวรสารในสารบบความรักยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นพฤติกรร มต่อตนเองหรือผู้อื่นซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเห็นอกเห็นใจ หรือความเสน่หาอารมณ์รักเป็นอารมณ์แห่งความรู้สึกพึงพอใจ สุขใจ เกิดขึ้นเมื่อสิ่งเร้ามาทาให้เกิด ความรู้สึกเช่นรักคน รักสัตว์ รักสิ่งของเป็ นต้นอารมณ์รักเกิดจากการเรียนรู้ไม่ใช่สิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด การ แสดงความรักของวัยรุ่นนั้นต้องการเพียงอยากอยู่ใกล้ชิดกับคนที่ตนรัก มีความอดทน ความเอาใจใส่ มี ความสุขที่ได้เห็นคนที่รัก (พึ่งพิศ จักรง, 2538:123- 124)การอกหักจะไม่สร้างผลกระทบที่เลวร้ายกับชีวิตวัยรุ่นหากมีความเข้าใจ
  • 12. การความรัก ที่เหมาะสมไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน การเลือกคู่ครองที่มีความคล้ายคลึงกันจะทาให้ชีวิตคู่ยืนยาว การมี คู่ครองควรมาจากความเข้าใจกันทั้งสองฝ่าย รูปร่างหน้าตา ไม่เป็นสิ่งสาคัญในการการเลือกคู่ครอง (ศรายุทธ ทองอุทัย, 2546:951) 1.1 ความต้องการและความสนใจของวัยรุ่น สุพัตรา สุภาพ (2543: 17) กล่าวว่าความต้องการของวัยรุ่นมาจากความต้องการของตัวเอง บวกกับความต้องการของสังคม เช่น ความต้องการความรัก ต้องการความสนุกสนาน ต้องการความ เป็นอิสระ ต้องการได้รับการยกย่อง มีอุดมคติสูง มีความสนใจเรื่องเพศ สนใจเพื่อนต่างเพศ ต้องการ รวมกลุ่ม ต้องการการยอมรับจากผู้ใหญ่ ต้องการแบบอย่างที่ดี ต้องการความปลอดภัยและมั่นคง เป็นต้น ความต้องการทางจิตใจหรือทางจิตวิทยา (psychological needs) คือความต้องการทาง จิตวิทยา เป็ นความต้องการทางจิตที่ลึกลับซับซ้อน ยากที่จะอธิบายได้ และบางครั้งไม่สามารถควบคุม ได้ ซึ่งเป็ นความต้องการที่หลากหลาย และมากมายโดยเฉพาะความต้องการความรัก และความมั่นคง ในความรัก ถือว่าเป็นสิ่งที่วัยรุ่นต้องการมาก ถ้าผู้ใหญ่สามารถเข้าใจความต้องการของวัยรุ่นบ้างด้วย การ ดูแลและสนองความต้องการที่จาเป็นอย่างมีเหตุผลและมีแนวทางในการฝึกให้ วัยรุ่นมีพฤติกรรม เป็ นไปตามที่สังคมยอมรับได้ ก็จะเป็นการลดช่องว่างระหว่างวัย และเป็ นการช่วยพัฒนาความคิด ความสามารถ และอุดมการณ์ของวัยรุ่นไปในทางทางที่ถูกต้อง เหมาะสมเพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม และต่อชาติโดยส่วนรวม 1.2นิยามของความรัก ความรักเป็นหัวข้อที่ถูกศึกษามาอย่างยาวนาน และปรากฏอยู่ในแทบจะทุกแง่มุมของชีวิตเราทั้งหนัง เพลง ละคร งานเขียน บทกวี งานศิลปะ ถึงอย่างนั้น ความรักก็ยังเป็ นความซับซ้อนที่สุดสิ่งหนึ่งของมนุษย์ ความรักเป็นเหมือนดาบสองคม ด้านหนึ่งมันช่วยเปลี่ยนโลกทั้งใบของคนหนึ่งให้สดใส มีความหมาย มีพลังได้ แต่อีกด้านก็สามารถทาลายชีวิตคนหนึ่งให้พังทลายได้เช่นเดียวกัน ความรักเป็นสิ่งสาคัญตั้งแต่คนเรายังไม่ออกจากท้องแม่ และสาคัญในทุกแง่มุมของชีวิต ความรักถูกสร้างภาพให้สวยงามหอมหวานผ่านนิยาย หนัง ละคร แต่ความจริงแล้ว ความรักเองก็ถูกใช้เป็นเครื่องมือหรือข้ออ้างในการทาร้าย
  • 13. ควบคุม บงการคนอื่นเช่นเดียว ไม่ว่าจะเป็ นพ่อแม่ที่บอกให้ลูกต้องทาตามความต้องตัวเองเพราะบอกลูกว่านั่น คือความรัก สามีที่บังคับให้ภรรยาทาสิ่งที่เขาไม่ต้องการโดยใช้ความรักเป็ นข้ออ้าง เราอยู่ในสังคมที่พยายามบอกเราว่าความรักคืออะไรอยู่เสมอ โฆษณาอาจบอกว่าแหวนเพชรคือความรักที่นิรันดร์ เทศกาลวาเลนไทน์อาจบอกว่าดอกไม้สีแดงช่อโตคือความรัก เราถูกกรอกหูอยู่แทบตลอดเวลา การมีนิยามความรักของตัวเองจึงเป็ นสิ่งสาคัญมาก เพราะมันจะไม่ทาให้เราหลงไปกับอะไรที่ไม่ใช่ตัวเอง และนามาซึ่งความว่างเปล่าในที่สุด ความรักเป็นสิ่งที่มีนิยามที่หลากหลาย บางคนบอกว่ามันคือความผูกพัน บางคนบางบอกมันคือการอยากอยู่ใกล้ บางคนบอกว่ามันคือการคิดถึงเขาทุกวินาที แต่ละคนล้วนมีนิยามความรักในแบบของตัวเอง ธรรมชาติและชีวิตของคนอยู่ได้ด้วยความรัก ผู้ที่มีความรักและมีคนรักย่อมมีความสุข เพราะจะได้เรียนรู้ว่าตนรักใคร และตนจะมีความสุขมากหากรู้ว่าบุคคลนั้นก็รักตน (ดนัย ไชโยธา 2546: 1) จากการศึกษาเอกสารต่างๆ พบว่ามีผู้ให้นิยามของความรักไว้หลากหลายดังต่อไปนี้ ลาสส์เวลล์ และ ลาสส์เวลล์ (อุมาพร ตรังคสมบัติ, 2545: 10, อ้างอิงมาจาก Lasswell and Lasswell. 1976) กล่าวว่า ความรักระหว่างชายหญิงมีหลายแบบ แต่ละแบบเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ ต่างกัน ในช่วงต้นของการเกี้ยวพาราสีชายหญิงจะมีความรักแบบโรแมนติก (romantic love) เมื่อเวลา ผ่านไปความรักที่มีเหตุผล (logical-sensible love) จะเกิดขึ้น และเมื่อใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันนานวันเข้า ความรักฉันเพื่อน (lifelong friendship) ก็จะเกิดขึ้นแทนที่ โรบิน (ไพลิน ศรีสุขโข. 2545: 68 : อ้างอิงมาจาก Rubin, 1970- 1973) ได้พัฒนามาตรวัด ความรู้สึกของความรัก โดยการตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้นมาโดยเฉพาะเพื่อวัดระดับความรู้สึกของ ตนต่อคนอื่น ผู้ซึ่งเป็ นคนที่เขาสนใจ พบว่าได้คานิยามของความรักไว้ 3 องค์ประกอบคือ ความผูกพัน ความเอาใจใส่ และความใกล้ชิด 2.ความหมายของวัยรุ่น ความหมายและการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น วัยรุ่น หมายถึง วัยที่อายุย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาว คือ ช่วงอายุ13-20 ปี ที่ต้องรับมือกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย หรือวัยที่อยู่ในช่วงคาบเกี่ยวระหว่างวัยเด็ก
  • 14. กับผู้ใหญ่เป็ นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่สาคัญซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจริยธรรม ซึ่งจะมีการเจริญเติบโตทางร่างกายสูงสุด เป็ นช่วงวัยที่ต้องเผชิญกับ ประสบการณ์ใหม่ความรับผิดชอบที่เพิ่ม มากขึ้น มีสัมพันธภาพทั้งกับผู้ใหญ่และกลุ่มเพื่อน (ประณต, 2549)เป็ นช่วงวัยที่อยู่ระหว่างความเป็นเด็กกับ ความเป็นหรือย่างเข้าสู่ความเป็นหนุ่มสาว โดยไม่สามารถระบุความชัดเจนได้ว่าจะ มีความสิ้นสุดการเป็ นหนุ่ม เป็นสาวนั้นได้เมื่อใด แต่พอที่จะสามารถกาหนดการเปลี่ยนแปลง ทางร่างกายของวัยรุ่นหรือรูปร่างของวัยรุ่น ได้ เป็ นสาคัญ (สุพัตรา, 2534) การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น พัฒนาการของวัยรุ่นจะแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ วัยแรกรุ่น วัยรุ่นตอนกลาง และวัยรุ่นตอนปลาย 1.วัยแรกรุ่น (10-13ปี) เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทุกระบบ โดยจะมีความคิดหมกมุ่นกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ซึ่งจะส่งผลกระทบไปยังจิตใจทาให้อารมณ์หงุดหงิดและแปรปรวนง่าย 2.วัยรุ่นตอนกลาง (14-16 ปี ) เป็นช่วงที่วัยรุ่นจะยอมรับสภาพร่างกายที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นหนุ่มเป็ นสา วได้แล้ว มีความคิดที่ลึกซึ้ง จึงหันมาใฝ่หาอุดมการณ์และหาเอกลักษณ์ของตนเอง เพื่อความเป็นตัวของตัวเอง และพยายามเอาชนะความรู้สึกแบบเด็กๆ ที่ผูกพันและอยากจะพึ่งพาพ่อแม่ 3.วัยรุ่นตอนปลาย(17-19 ปี) เป็นเวลาของการฝึกฝนอาชีพ ตัดสินใจที่จะเลือกอาชีพที่เหมาะสม และเป็นช่วงเวลาที่จะมีความผูกพันแน่นแฟ้ น กับเพื่อนต่างเพศ สภาพทางร่างกายเปลี่ยนแปลงเติบโตโดยสมบูรณ์เต็มที่ และบรรลุนิติภาวะในเชิงกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงมีทั้งหมด 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญาและการเรียนรู้ ด้านจิตใจและอารมณ์ ด้านสังคม 1.ร่างกาย ส่วนสูงและน้าหนัก โครงร่างและสัดส่วน กล้ามเนื้อและไขมัน กาลังและความแข็งแรง ลักษณะทางเพศ 2.จิตใจและอารมณ์ อ่อนไหวง่าย ควบคุมอารมณ์ยังไม่ดีนัก ค้นหาตัวเอง เกาะกลุ่มติดเพื่อน 3.สังคม คบเพื่อนกลุ่มใหญ่ ต้องการเป็นทียอมรับจากกลุ่ม 4.สติปัญญาและการเรียนรู้ ความสามารถทางด้านการคิด มองสิ่งต่าง ๆ ได้ตามความจริง สามารถตัดสินใจโดยใช้เหตุผลได้ ผู้ชาย ในช่วงวัยรุ่นผู้ชายจะมีเสียงแหบห้าวขึ้น เริ่มมีขนตรงอวัยวะเพศมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นรักแร้ ขา
  • 15. และตรงลาคอเริ่มมีลูกกระเดือกและเริ่มมีความรู้สึกทางเพศโดยเฉพาะช่วงวัยรุ่ นตอนต้นมักจะสนใจผู้หญิงที่อายุมากกว่าเนื่องจากผู้หญิงที่แก่กว่าดูเป็นสาวเต็ มตัวดูแล้วสมวัยกันต่างจากผู้หญิงในวัยเดียวกันยังดูเด็ก ๆ อยู่ และมีฝันเปียก ผู้หญิง เด็กวัยรุ่นผู้หญิง หน้าอกจะผายเริ่มมีเม็ดไตที่แข็ง มีขนขึ้นตามร่างกาย หรือแม้กระทั่งอวัยวะเพศ เริ่มมีประจาเดือน เริ่มมีอารมณ์ทางเพศมากขึ้น เริ่มมีเสียงที่แหลม รูปร่างจะสูงขึ้น กระชับและได้สัดส่วนมากขึ้น ในด้านร่างกายก็เป็นวัยที่ร่างกายเจริญเติบโต เช่น แขนขายาว รูปร่างสูงใหญ่ บางครั้งเด็กจะ รู้สึกประหม่า วางตัวไม่ถูกเมื่ออยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่ เป็นต้น และไม่ค่อยสบายใจที่ร่างเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว บางครั้งครอบครัวและสังคมมักจะเรียกร้อง คาดหวังและสร้างกฎเกณฑ์มาตรฐานแบบผู้ใหญ่ ให้วัยรุ่นปฏิบัติ ซึ่งโดยแท้จริงแล้ว วัยรุ่นแม้ในระยะแรกจะมีร่างกายเจริญเติบโตแบบผู้ใหญ่แต่ก็ยังมี ความเป็นเด็กอยู่ ในการทาความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ยังต้องอาศัยความเห็นอกเห็นใจ กาลังใจ การ ช่วยเหลือแนะนาที่ถูกต้องจากผู้ใหญ่เป็นอย่างมาก ส่วนปัญหาในวัยนี้มักจะเป็นความสนใจและการ เรียนรู้ในเรื่องเพศ ความต้องการที่เป็นอิสระ การคบเพื่อน และการตั้งความมุ่งหมายเกี่ยวกับชีวิต อนาคตของตัวเอง วัยรุ่นเป็ นวัยที่มีอารมณ์รุนแรง เป็ นวัยพายุบุแคม ใจร้อน เจ้าคิดเจ้าแค้น ตัดสินใจรวดเร็ว และฉับพลัน การที่วัยรุ่นแสดงกิริยาอาการแปลกๆ แท้จริงคือ ปรากฏการณ์ปกตินั่นเอง ส่วนใหญ่เป็ น วัยรุ่นที่กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน ดังนั้นโรงเรียนและครูผู้สอน จึงต้องเข้าใจบุคลิกภาพของคนเหล่านั้น เพื่อจะได้จัดโรงเรียน หลักสูตรการเรียนการสอน และการปกครองไปในทางที่จะตอบสนองความต้องการของเด็กวัยรุ่นเหล่านั้น ด้วย 3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1งานวิจัยในประเทศ วรรณพร ขวัญบุญจันทร์ (2541: 125) ได้ศึกษาเกี่ยวกับเจตคติของนักเรียนวิทยาลัยพล ศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ซึ่งผลวิจัยพบว่า เจตคติของนักศึกษาชายกับ นักศึกษาหญิงที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศในสถานการณ์ในทางบวกมีควา มแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญ เพียง 1 สถานการณ์
  • 16. สาหรับสถานการณ์ในทางลบมีความแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญ จานวน 16 สถานการณ์ จากการวิจัยก็พบได้ว่า วัยรุ่นหญิงมีระดับเจตคติในด้านการวางตัวต่อเพื่อน ต่างเพศดีกว่าวัยรุ่นชาย ผุสดี ตั้งจิตนุกุล (2544: 175) ได้ศึกษาเรื่องทัศนคติที่มีต่อความรักของวัยรุ่น โดยศึกษากลุ่ม ตัวอย่างคือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนพาณิชยการจังหวัด เชียงใหม่ ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2543 จานวน 206 คน ซึ่งเป็ นนักศึกษาหญิง 151 คน นักศึกษาชาย 55 คน โดยใช้แบบสอบถามวัดทัศนคติที่มีต่อความรักที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และ ทดสอบใน 3 ด้าน คือความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องความรัก ด้านความรู้สึกที่มีต่อความรัก และด้านแสดงออก ของความรัก ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติต่อความรักของวัยรุ่นอยู่ในระดับค่อนข้างดี เมื่อเปรียบเทียบ ทัศนคติที่มีต่อความรักของวัยรุ่นหญิงและวัยรุ่นชายทั้ง 3 ด้าน ในภาพรวมปรากฏว่า มีทัศนคติไม่ แตกต่างกัน 3.2 งานวิจัยต่างประเทศ แมชเชส และเซวารา (de Weerth and Kalma. 1993: 266; citing Matches & Devera. 1981) ทาการวิจัยเรื่อง ความหึงหวง ความรัก และความชอบ ผลการวิจัยพบว่า เพศชายมีความหึงหวง มากกว่าเพศหญิง เวิร์ท และคิลมา (de Weerth and Kalma. 1993) ได้ศึกษาเกี่ยวความก้าวร้าวของเพศหญิง ซึ่งเป็ นผลมาจากความหึงหวง โดยศึกษากับกลุ่ม บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษา
  • 17. วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าและสืบข้อมูลเรื่องความรักส่งผลต่อชีวิตวัยรุ่ นอย่างไรได้แบ่งวิธีการ ดาเนินงานเป็ นขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ศึกษาในเรื่องนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 9 โรงเรียนราชซินิตบางแก้ว ปีการศึกษา พ.ศ.2566 จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเรื่องความรักส่งผลต่อชีวิตวัยรุ่นอย่างไร คือ แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือที่ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ตั้งคาถามที่ผ่านการศึกษาแนวคิด ทัศนคติ ทฤษฎีสมคบคิดหรือสถานการณ์ที่พบเองกับตัวและคนรอบข้าง โดยจาแนกคาถามเป็น 10 ข้อ ได้แก่ 1.คุณมีเพศอะไร 2.คุณเคยมีแฟนหรือไม่ 3.คุณอยากมีแฟนในตอนนี้หรือในอนาคตหรือไม่ 4.ภารมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ 5.คุณเคยผิดหวังกับความรักหรือไม่ 6.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น 7.ความคิดส่วนบุคคลมีผลต่อการเลือกแฟนหรือไม่
  • 18. 8.ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธุ์ยืนยาว 9.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย 10.ปัจจัยที่ทาให้คนเลิกกัน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.สร้างแบบสอบถามและจัดพิมพ์แบบสอบถาม 2.ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีแจกแบบสอบถามให้นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 9 ปี การศึกษา พ.ศ.2566 จานวน 30 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลกลับด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในโครงงานนี้ หาค่าออกมาเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย โดยมีวิธีการวิเคราะห์แตกต่างกัน ดังนี้ 1.ค่าร้อยล่ะ ใช้สูตร จานวนเงินที่เพิ่มขึ้น / เงินเดือนเดิม x 100 =เลขเปอร์เซ็นต์ รวบรวมได้จากแบบสอบถาม 2.ค่าเฉลี่ย ใช้สูตร การบวกตัวเลขในกลุ่มหนึ่งเข้าด้วยกัน จากนั้นหารด้วยจานวนนับของตัวเลขในกลุ่มนั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ค่าร้อยละ (Percentage) (96) 2. ค่าเฉลี่ย (Mean) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X
  • 19. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเรื่องความรักส่งผล ต่อวัยรุุ่นอย่างไร ผุู้ศึกษาได้นาเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลข้อมูลตามลาดับดังนี้ 1.ขั้นตอนนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1 เป็นผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุุ่มตัวอย่าง ว่าเป็นเพศชายหรือหญิง ตอนที่2 เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไ รของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1 เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วของกลุ่มตัวอย่างแสดงไว้ในตาราง 1 ดังนี้ ตารางที่ 1จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกเพศ สภาพของกลุ่มตัวอย่าง จานวนคน ร้อยละ 1.เพศ 1.1 เพศชาย 1.2 เพศหญิง 8 22 26.7% 73.3% รวม 30 100 ตอนที่ 2 เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามความรักส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างไ
  • 20. รของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ซึ่งแสดงไว้ในตารางที่2 ดังนี้ ตารางที่ 2 แบบสอบถามความรักส่งผลต่อวัยรุุ่นอย่างไร โดยหาค่าความถี่และร้อยละ คุณเคยมีแฟนหรือไม่ จานวน ร้อยละ เคย 17 56.7% ไม่เคย 11 36.7% มีอยู่ ณ ปัจจุบัน 2 6.7% คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่ จานวน ร้อยละ อยากมี 18 60% ไม่อยากมี 8 26.7% เฉยๆ 4 13.3% รวม 30 100% การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็นหรือไม่ จานวน ร้อยละ จาเป็น 4 13.3% ไม่จาเป็น 26 86.7% รวม 30 100% คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่ จานวน ร้อยละ เคย 23 76.7% ไม่เคย 7 23.3% รวม 30 100% ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น จานวน ร้อยละ เพื่อน 10 33.3% ครอบครัว 3 10% สื่ออินเตอร์ ออนไลน์ 16 53.3% อื่นๆ 1 3.3% รวม 30 100% ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ จานวน ร้อยละ
  • 21. ส่งผล 30 100% ไม่ส่งผล 0 0% รวม 30 100% ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว จานวน ร้อยละ ความเข้าใจ 13 43.3% การปรับตัวเข้าหากัน 11 36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าเกิดอะไรขึ้น 2 6.7% ยอมรับในข้อเเตกต่างของอีกฝ่าย 2 6.7% อื่นๆ 2 6.7% รวม 30 100% คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย จานวน ร้อยละ ส่งผลดี 13 43.3% ส่งผลเสีย 2 6.7% ไม่ส่งผล 15 50% รวม 30 100% ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน จานวน ร้อยละ นอกใจ 5 16.7% โดนทิ้ง 0 0% เบื่อกับความสัมพันธ์ 16 53.3% ไม่เกิดเหตุการร์ดังกล่าว 8 26.7% อื่นๆ 1 3.3% รวม 30 100% ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยของแบบสอบถามโดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย 1.คุณเคยมีแฟนหรือไม่ 17 2.คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่ 18 3.การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ 26 4.คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่ 23 5.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น 16 6.ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ 30
  • 22. 7.ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว 13 8.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย 15 9.ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน 16 จากตารางที่ 3 แสดงว่ากลุ่มตัวอย่าง คุณเคยมีแฟนหรือไม่ เคยมีทั้งหมด17คน ร้อยละ 56.7% ไม่เคยมีทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% มีอยู่ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 2คน ร้อยละ 6.7% จากข้อมูล คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่ามี คุณอยากมีแฟนในวัยรุ่น อยากมีทั้งหมด18คน ร้อยละ60% ไม่อยากมีทั้งหมด8คนร้อยละ26.7%เฉยๆจานวน4คนร้อยละ13.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าอยากมี การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ จาเป็นทั้งหมด4คน ร้อยละ13.3%ไม่จาเป็ นทั้งหมด26คน ร้อยละ86.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่จาเป็ น คุณเคยผิดหวังการมีความรักหรือไม่ เคยทั้งหมด23คน ร้อยละ76.6% ไม่เคยทั้งหมด7คน ร้อยละ23.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าเคย ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น เพื่อนทั้งหมด10คน ร้อยละ33.3% ครอบครัวทั้งหมด3คน ร้อยละ10% สื่อออนไลน์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% อื่นๆทั้งหมด1คน ร้อยละ3.3%คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าสื่อออนไลน์ ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ ส่งผลทั้งหมด30คน ร้อยละ100% ไม่ส่งผลทั้งหมด0คน ร้อยละ0% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว ความเข้าใจทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% การปรับตัวเข้าหากันทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ยอมรับในข้อแตกต่างของอีกฝ่ายทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% อื่นๆทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าความเข้าใจกัน คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดีทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% ส่งผลเสียทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ไม่ส่งผลทั้งหมด15คน ร้อยละ50% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่ส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิก นอกใจทั้งหมด5คน ร้อยละ16.7% โดนทิ้งทั้งหมด0คน ร้อยละ0% เบื่อกับความสัมพันธ์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% ไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งหมด8คน ร้อยละ26.7% อื่นๆทั้งหมด1คน ร้อยละ3.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่า เบื่อกับความสัมพันธ์
  • 23. บทที่ 5 สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็ นการศึกษาเรื่องความรักในวับรุ่นของนักเรียนชั้นมั ถยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 จานวน 40 คน วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นขว้า เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความรักในวัยรุ่นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
  • 24. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 1.ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นเกี่ยวกับความรักในวัยรุ่นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 จาแนกเป็น 9 ด้าน ได้แก่ 1. ปัจจัยเคยมีแฟน 2.ปัจจัยการอยากมีแฟน 3.ปัจจัยความจาเป็นต่อการมีแฟนในวัยรุ่น 4.ปัจจัยด้านการผิดหวังในวัยรุ่น 5.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น 6.ด้านความคิดส่วนบุลคล 7.ปัจจัยที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว 8.ปัจจัยการส่งผลดีและผลเสีย 9.ปัจจัยที่ทาให้คนเลิกกัน 2.ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็ นนักเรียนชั้นมัธยมศ฿กษาปีที่ 2/9 ของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวนกลุ่มตัวอย่าง 40 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า แบบสารวจเกี่ยวกับความรักในวัยรุ่นของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 9 ข้อซึ่งผู้ทาการศึกษาค้นคว้าสร้างขั้น สรุปผลการศึกษา ผลของการศึกษาวิจัยเรื่อง ความรักในวัยรุ่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 40 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้
  • 25. 1.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่มักเป็นเพศหญิง จานวน 22 ตน ร้อยละ 73.3 และเพศชายจานวน 8 คน ร้อยละ 26.7 2.ผลการวิเคราะห์ความรักในวัยรุ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2/9 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 40 คน ทั้งหมด 8 ด้าน มีดังนี้ คุณเคยมีแฟนหรือไม่ เคยมีทั้งหมด17คน ร้อยละ 56.7% ไม่เคยมีทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% มีอยู่ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 2คน ร้อยละ 6.7% จากข้อมูล คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่ามี คุณอยากมีแฟนในวัยรุ่น อยากมีทั้งหมด18คน ร้อยละ60% ไม่อยากมีทั้งหมด8คนร้อยละ26.7%เฉยๆจานวน4คนร้อยละ13.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าอยากมี การมีแฟนในวัยรุ่นจาเป็ นหรือไม่ จาเป็นทั้งหมด4คน ร้อยละ13.3%ไม่จาเป็ นทั้งหมด26คน ร้อยละ86.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่จาเป็ น คุณเคยผิดหวังการมีความรักหรือไม่ เคยทั้งหมด23คน ร้อยละ76.6% ไม่เคยทั้งหมด7คน ร้อยละ23.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าเคย ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น เพื่อนทั้งหมด10คน ร้อยละ33.3% ครอบครัวทั้งหมด3คน ร้อยละ10% สื่อออนไลน์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% อื่นๆทั้งหมด1คน ร้อยละ3.3%คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าสื่อออนไลน์ ความคิดเห็นส่วนบุคคลมีผลต่อการมีแฟนหรือไม่ ส่งผลทั้งหมด30คน ร้อยละ100% ไม่ส่งผลทั้งหมด0คน ร้อยละ0% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้ความสัมพันธ์ยืนยาว ความเข้าใจทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% การปรับตัวเข้าหากันทั้งหมด11คน ร้อยละ36.7% อยู่ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ยอมรับในข้อแตกต่างของอีกฝ่ายทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% อื่นๆทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าความเข้าใจกัน คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดีทั้งหมด13คน ร้อยละ43.3% ส่งผลเสียทั้งหมด2คน ร้อยละ6.7% ไม่ส่งผลทั้งหมด15คน ร้อยละ50% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่าไม่ส่งผล ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิก นอกใจทั้งหมด5คน ร้อยละ16.7% โดนทิ้งทั้งหมด0คน ร้อยละ0% เบื่อกับความสัมพันธ์ทั้งหมด16คน ร้อยละ53.3% ไม่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งหมด8คน ร้อยละ26.7% อื่นๆทั้งหมด1คน ร้อยละ3.3% คนส่วนใหญ่จะให้คาตอบว่า เบื่อกับความสัมพันธ์ ภาคผนวก
  • 26. หลักฐานการวิเคราะห์ข้อมูล 1.คุณเคยมีเเฟนหรือไม่ เคย ไม่เคย มีอยู่ ณ ปัจจุบัน 2.คุณอยากมีเเฟนในวัยรุ่นหรือไม่ อยากมี ไม่อยากมี เฉยๆ 3.การมีเเฟนในวัยรุ่นจาเป็นหรือไม่ จาเป็น ไม่จาเป็น 4.คุณเคยผิดหวังกับการมีความรักหรือไม่ เคย ไม่เคย 5.ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการมีความรักในวัยรุ่น ( เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ ) เพื่อน ครอบครัว สื่ออินเตอร์เน็ต ออนไลน์ 6.ความคิดส่วนบุลคลมีผลต่อการเลือกเเฟนหรือไม่ ส่งผล ไม่ส่งผล 7.ปัจจัยใดที่ทาความสัมพันธ์ยืนยาว ( เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ ) ความเข้าใจ การปรับตัวเข้าหากัน อยู่ด้วยกันไม่ว่าเกิดอะไรขึ้น ยอมรับในข้อเเตกต่างของอีกฝ่าย 8.คุณคิดว่าการมีความรักในวัยรุ่นส่งผลดีหรือผลเสีย ส่งผลดี ส่งผลเสีย ไม่ส่งผล 9.ปัจจัยใดที่ทาให้คนเลิกกัน นอกใจ โดนทิ้ง เบื่อกับความสัมพันธ์ ยังไม่เกิดเหตุการร์ดังกล่าว