SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การคุ้มครองผู้บริโภค
วิชาการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข
หากท่านเป็นดังภาพ
จะทาอย่างไร
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
(CONSUMER PROTECTION IN PUBLIC HEALTH )
การคุ้มครอง (Protection) : การป้องกัน ปกป้อง ระวัง ดูแล พิทักษ์รักษา ให้
อารักขา กันไว้ไม่ให้เกิดภัยอันตราย บาดเจ็บ หรือเกิดความเสียหาย
การส่งเสริม (Promotion) : การเกื้อหนุน หนุนหลัง เกื้อกุล เอื้อเฟื่อ เผื่อแผ่ อุดหนุน
เพิ่มเติม เอาใจช่วย ช่วยเหลืออยู่ข้างหลัง
การป้องกัน (Prevention) : การกันเอาไว้ก่อน เพื่อไม่ให้เกิดภัยอันตราย หรือที่รู้จัก
กันว่าป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้ทีหลัง
การอนุรักษ์ (Preservation) : การป้องกัน สงวนรักษาสิ่งที่มีอยู่ ให้คงเดิม คงสภาพ
ความอุดมสมบูรณ์ไว้ เช่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ความจาเป็นในการคุ้มครองผู้บริโภค
 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ให้เสียเปรียบผู้ผลิต
 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของการโฆษณา
 เพื่อควบคุมสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็น
อันตรายต่อผู้บริโภค
 เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ระหว่างผู้ซื้อ และขาย
สิทธิผู้บริโภคที่ควรทราบ
ความหมาย
 สิทธิ คือ อานาจที่จะกระทาการใดๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับ
การรับรองจากกฎหมาย
 สิทธิตามรัฐธรรมนนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
 สิทธิตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิของผู้บริโภค ตาม พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 4 ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองดังต่อไปนี้
(1) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและ
เพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
(3) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
(4) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทาสัญญา
(5) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
หน่วยงานดูแลการคุ้มครองผู้บริโภคทั่วไป
หน่วยงานรัฐ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สังกัดสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
กฎหมายที่ใช้บังคับ คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
และ พ.ศ. 2541
หน่วยงานเอกชน
"สมาคมพลังผู้บริโภคแห่งประเทศไทย" ตั้งที่ 645/64
ถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
10400 โทร.653-6040-44 โทรสาร 252-5742
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
(พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และ พ.ศ.2541)
"การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข "
ในปัจจุบัน คาว่า "การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข"
ครอบคลุมถึง
1. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสาธารณสุข
2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสาธารณสุข
การใช้บริการสาธารณสุข ซึ่งได้แก่
- การส่งเสริมสุขภาพ
- การป้องกันโรค
- การรักษาพยาบาล
- การฟื้นฟูสุขภาพ
หน่วยงานที่ดูแล: กองการประกอบโรคศิลปะ สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
กฎหมาย: พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541
หน่วยงานขององค์กรวิชาชีพทางการแพทย์ต่างๆ
หน่วยงานขององค์กรวิชาชีพทางการแพทย์ต่างๆ
 แพทยสภา ซึ่งมีกฎหมายใช้บังคับคือ
พรบ. วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
 สภาเภสัชกรรม ซึ่งมีกฎหมายใช้บังคับคือ
พรบ. วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537
 ทันตแพทยสภา ซึ่งมีกฎหมายบังคับใช้คือ
พรบ. วิชาชีพทันตกรรม พ.ศ. 2537
 สภาการพยาบาล ซึ่งมีกฎหมายบังคับใช้คือ
พรบ. วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
 ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8 ประเภท ซึ่งได้แก่
 อาหาร ยา เครื่องสาอาง เครื่องมือแพทย์ ยาเสพติดให้โทษ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและ
ประสาท วัตถุมีพิษหรือวัตถุอันตราย และสารระเหย
 หน่วยงานที่ดูแล: สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(รวมถึงศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์)
อาหาร
ยา
เครื่องสาอาง
เครื่องมือแพทย์
ยาเสพติดให้โทษ
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
Dormicum (Midazolam)
GHB หรือ Gamma-hydroxybutyrate
Alprazolam
Ketamine
Diazepam
วัตถุอันตราย
ผลิตภัณฑ์ดับกลิ่น
กาว
ผลิตภัณฑ์ลบคาผิดหรือสารละลายใช้เจือจาง
ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด
ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรค
ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด
พื้น ห้องน้า
สารระเหย
ทินเนอร์ (Thinners)แลคเกอร์ (Lacquers)
ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ Blowing
Balloon
กฎหมายที่ควรรู้ เกี่ยวกับ 8 ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2531
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533
หน้าที่ของผู้บริโภค
 ระมัดระวังในการซื้อสินค้าหรือรับบริการ เช่น ตรวจสอบฉลากแสดงราคาและปริมาณ ไม่
หลงเชื่อในคาโฆษณาคุณภาพสินค้า
 การเข้าทาสัญญาผูกมัดการตามกฎหมาย โดยการลงมือชื่อ ต้องตรวจสอบความชัดเจนของ
ภาษาที่ใช้ตามสัญญาให้เข้าใจรัดกุม หรือควรปรึกษาผู้รู้ทางกฎหมายหากไม่เข้าใจ
 ข้อตกลงต่างๆ ที่ต้องการให้มีผลบังคับใช้ ควรทาเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อผู้ประกอบ
ธุรกิจด้วย
 ผู้บริโภคมีหน้าที่เก็บหลักฐานไว้ เพื่อประโยชน์ในการเรียกร้องค่าเสียหาย
 เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค ผู้บริโภคควรดาเนินการเรียกร้องต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หรือต่อคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
สรุป ซักถาม ?

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมUtai Sukviwatsirikul
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายBeerza Kub
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 

What's hot (20)

Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
Epi info unit01
Epi info unit01Epi info unit01
Epi info unit01
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

เนื้อหาบท2