SlideShare a Scribd company logo
โครงการปฏิ รปการทางานด้านเด็กและเยาวชนแนวทางใหม่
                               ู
                           “สานเสริ มพลัง...พัฒนาเด็กและเยาวชน”
                   Reform Interactive Network for Action of Child and Youth

ความเป็ นมา
                                                      ั
           สถานการณ์ พฤติก รรมป ญหาเด็ก และเยาวชนมีความหลากหลาย รุน แรง สลับ ซับ ซ้อ น ซึ่ง
                    ั                          ่ ั
สาเหตุของปญหาหนึ่งจะนาไปสูปญหาอืน ๆ อีกมากมาย เช่น พฤติกรรมการใช้สารเสพติด การติด เกม
                                                              ่
การตังครรภ์กอนวัยอันเหมาะสม การพนัน การใช้ความรุนแรง และโดยที่สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ
       ้              ่
และพิทกษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของ
         ั                                                             ู                         ่
มนุษย์ (พม.) มีหน้าทีและรับผิดชอบในการส่งเสริม พัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทกษ์เด็กและเยาวชน
                                    ่                                                  ั
ให้มคณภาพทีดและความมันคงในชีวต โดยกาหนดมาตรการ กลไกในการส่งเสริมสนับสนุ นภาคส่วน
     ีุ                 ่ ี                ่                ิ
ต่า ง ๆ ให้ม ีก ารด าเนิ น การ ดัง นั ้น ตลอดระยะเวลาที่ผ่ า นมาตัง แต่ ปี 2545 สท. จึง ได้ ร่ว มงานกับ
                                                                                 ้
หน่วยงาน เครือข่ายด้านเด็กและเยาวชนทุกภาคส่วนทังระดับชาติและระดับพื้นที่ใ นการส่งเสริม พัฒนา
                                                                              ้
ศักยภาพ คุมครองและพิทกษ์สทธิเด็กและเยาวชน และพบว่ามีหน่ วยงานและเครือข่ายกลุ่มต่าง ๆ ด้าน
                  ้                       ั ิ
การพัฒนาเด็กและเยาวชนมีความพยายามสนับสนุ นขับเคลื่อนให้เ กิด การรวมกลุ่มคน /งาน/กิจกรรม
จานวนและรูปแบบทีหลากหลายมากขึนอย่างชัดเจน ทังทีเป็นหน่วยงานและกลุ่มเด็กและเยาวชนทังจาก
                                ่                         ้                  ้ ่                     ้
การก่อตังของภาครัฐ เช่น สภาเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
           ้
แห่งชาติ พ.ศ.2550 ทีกาหนดให้มการจัดตังสภาเด็กและเยาวชน ให้ครบทุกอาเภอ (878 แห่ง) จังหวัด
                                      ่             ี                ้
(77 แห่ง) และประเทศตังแต่ปี 2552 และในปี 2553 ได้ขยายระดับตาบลได้ประมาณ 4,000 แห่ง และกลุ่ม
                                        ้
องค์กรอาสาของภาคเอกชน ภาคประชาชน ทังนี้ จากการสนับสนุ นของสานักงานกองทุนสนับสนุ นการ
                                                                         ้
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มูลนิธสยามกัมมาจล จานวนมากกว่า 1,000 แห่ง
                                                ิ
           ผลงานที่ปรากฏดังกล่ าวมีรูปแบบทังที่เหมือนกัน และแตกต่ างกัน ออกไปตามขอบเขตความ
                                                                           ้
รับ ผิด ชอบและทรัพ ยากรที่ม ีอยู่ ของหน่ วยงาน/องค์กร แต่ ยัง ไม่ป รากฏความชัด เจนแน่ น อนในเชิง
             ่ี ั                 ้                     ั
ผลลัพธ์ทตวเด็ก อีกทังพฤติกรรมปญหาของเด็กและเยาวชนยังคงปรากฏอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ จาก
การประเมิน การด าเนิ น งานตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนตามยุ ทธศาสตร์ก ารพัฒนาเด็ก “โลกที่
เหมาะสมสาหรับเด็ก” ในช่วงปี 2550 - 2552 พบว่า การประสานงานสร้างความร่วมมือการบูรณาการ
(integrate) ของทุกภาคส่วน กลับ ส่งผลให้ง านการพัฒ นาเด็กและเยาวชนในระดับพื้นที่ จังหวัด และ
ระดับประเทศไม่เ ชื่อมต่ อกัน อย่างเป็ น ระบบชัด เจนและแสดงถึง ความยังยืน ด้วยเหตุน้ี บุคลากรของ
                                                                                   ่
หน่วยงานต่าง ๆ ทังภาครัฐและเอกชนทีรบผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะ สท. พม. ที่ต้อง
                            ้                                   ่ั
เป็ น หลัก ในการประสานความร่ว มมือตังแต่ก ลุ่ม /ฝ่ ายงานระดับปฏิบัติข้น ไปจนถึง ระดับ สูง ทังด้ า น
                                                                   ้                 ึ             ้
นโยบายและยุทธศาสตร์ ระบบข้อมูลและการให้บริการ ฯลฯ จึงจาเป็ นต้องพัฒนาให้ มระบบการทางานที่ี
มีประสิทธิภ าพ มีการประสานความร่วมมือระหว่างกัน และต้องตระหนักถึงความจาเป็ นในการป ฏิรูป
                              ่                   ั
รูปแบบการทางานทีเป็ น อยู่ใ นปจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความคิด เห็นดังกล่าวเป็ น สิงที่กลุ่มผู้บริหาร
                                                                                           ่
ของ พม. ได้เล็งเห็นว่าเป็นสิงที่ต้องเร่งด าเนินการ เพื่อให้กระบวนการพัฒนาเด็กและเยาวชน มีระบบ
                                             ่


                                                  1
ปฏิบตงานทีมประสิทธิภาพมากขึน เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีคุณภาพที่ด ีมความมันคงในชีวตอย่างเป็ น
      ั ิ      ่ ี                    ้                                    ี     ่        ิ
รูปธรรมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในประเทศ ภูมภาค และสังคมโลก
                                                             ิ
          อนึ่ง ผู้บริหารของ พม. และ สสส. โดยการนาของปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคง       ่
ของมนุษย์ และผู้จด การ สสส. ได้มการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการด าเนินการ
                        ั                 ี
ขับเคลื่อนและพัฒนาสังคมอย่างเป็ น รูปธรรม เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2553 ที่กาหนดว่าความร่วมมือใน
ระดับกระทรวง ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้ระดับผู้บริหาร การพัฒนาศักยภาพผู้นาเพื่อการเปลี่ยนแปลง
สังคมร่วมกันในระดับกรม มีความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเด็ก และเยาวชน
ครอบครัว ชุมชน ท้องถิน โดยมีกลไกการทางานร่ว มกัน (Co-Management) ระหว่างหน่ วยงานใน พม.
                            ่
และภาคีเครือข่ายของ สสส. ในระดับพื้นที่มการนาประเด็นข้อตกลงจากระดับกรมไปปฏิบัติใ นระดับ
                                                         ี
พื้นที่ (อปท./ชุมชน) อย่างเป็ น รูปธรรม และความร่วมมือในการจัด คณะกรรมการเพื่อวางแนวทางและ
ประสานการด าเนิ น งาน โดยมีผู้อานวยการ สท. เป็ นประธานกรรมการรับผิด ชอบงานด้า นเด็กและ
เยาวชน ภารกิจดังกล่าวเป็นทีมาของการหารือร่วมกันของผู้ท่เกี่ยวข้องทังจากสานักส่งเสริมและพิทกษ์
                                  ่                            ี         ้                        ั
เด็ก (สทด.) สานักส่งเสริมพิทกษ์เยาวชน (สทย.) สสส. ผู้ทรงคุณวุฒ ิ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ และได้ม ี
                                    ั
ความเห็นร่วมกันว่าต้องมีโครงการปฏิรปการทางานด้านเด็กและเยาวชนแนวทางใหม่ข้น เพื่อให้มระบบ
                                                ู                                     ึ       ี
และกระบวนการทางานทีมประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของประเทศ
                              ่ ี
          อย่างไรก็ด ี ต่ อมาคณะรัฐมนตรีไ ด้มมติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2554 เห็นชอบให้ กระทรวงพัฒนา
                                                     ี
สังคมและความมันคงของมนุ ษย์ ปรับโครงสร้างหน่ วยงานระดับกรม 5 กรม ซึ่ง 1 ใน 5 ก็คอ การรวม
                      ่                                                                     ื
งานด้านเด็กและเยาวชนเข้าด้วยกันขึนเป็นระดับกรม คือ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ทาหน้ าที่ดูแลส่วน
                                              ้
งานด้านเด็กและเยาวชนอย่างเต็มทีเพื่อความคล่องตัวในการปฏิบตงาน (อยู่ในระหว่างการพิจารณาของ
                                        ่                          ั ิ
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา)
          จากนโยบายของรัฐ บาล รวมทังผู้บริหารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ษย์
                                                   ้                                    ่
จึงนับได้วา เป็นความท้าทายที่ สท. ต้องหาแนวทางการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทังกระบวนการและ
           ่                                                                        ้
ระบบการทางานให้มประสิทธิภาพทีดยง ๆ ขึน ดังนั น สท. จึงขอเสนอโครงการปฏิ รูปการทางานด้ าน
                          ี                 ่ ี ิ่     ้   ้
เด็กและเยาวชนแนวทางใหม่ “สานเสริ ม พลัง ... พัฒนาเด็กและเยาวชน” เพื่อ ให้เ กิด เป็ นการ
พัฒนาระบบให้มประสิทธิภ าพมากกว่าเดิม รวมถึงการพัฒนายุทธวิธใ นการส่งเสริมสุขภาพและความ
                    ี                                                  ี
มันคงของชีวตเด็กและเยาวชนให้เกิดประสิทธิผลเป็น รูปธรรมอย่างจริงจังและเด่นชัดยิงขึน
   ่            ิ                                                                  ่ ้
วัตถุประสงค์
        1. เพื่อให้มวสยทัศน์และความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อการขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนาสังคมด้าน
                     ีิั
เด็กและเยาวชนในอนาคต ของหน่วยงาน บุคลากรด้านเด็กและเยาวชนในส่วนกลางและจังหวัด /พื้นที่
        2. เพื่อสร้างทีมงานกลางมืออาชีพของประเทศ ที่ประกอบด้วยบุคลากรด้านเด็กและเยาวชนทังใน   ้
ส่วนกลางและจังหวัด/พื้นที)่ ทีมคณภาพสูง สามารถเป็นผู้นา เป็นทีปรึกษาและพี่เลี้ยง ร่วมทางานสอดคล้อง
                              ่ ีุ                            ่
เชือมเสริมกันของประเทศ
   ่




                                                2
3. เพื่อสร้างระบบการพัฒนาสังคมด้านเด็กและเยาวชนที่มประสิทธิภาพและสร้างความยังยืน
                                                                ี                         ่
โดยความร่วมมือระหว่างกลุ่มบุ คคล เจ้าหน้ าที่ต่ าง ๆ และภาคีก ิจกรรมร่วม โดยใช้ยุ ทธศาสตร์และ
ยุทธวิธเี พื่อช่วยให้ชมชนสามารถนาไปพัฒนาด้วยตนเองได้ในทีสด อย่างกระตือรือร้นไปพร้อมกัน
                      ุ                                  ุ่
กลุ่มเป้ าหมาย
         กลุ่มเป้ าหมายหลัก
         1. ปี 2555 บุคลากรที่ร ับผิด ชอบงานด้านเด็กและเยาวชนจากทุก ภาคส่วนในส่วนกลางและ
จังหวัด/พื้นทีจานวน 208 คน โดยแบ่งออกเป็น
              ่
            1.1 ผู้บ ริห ารและผู้ ปฏิบัติง านของหน่ วยงานหลัก ภาครัฐ 7 กระทรวง และเอกชน จาก
ส่วนกลางระดับชาติ และส่วนภูมภาคในระดับจังหวัด (ชายและหญิงจานวนใกล้เคียงกัน)
                                    ิ
            1.2 เด็กและเยาวชนทีเป็นกลุ่มสภาเด็กและเยาวชนในจังหวัด และกลุ่มทัวไป อายุระหว่าง 15 - 25
                                 ่                                              ่
ปี (ชายและหญิงจานวนใกล้เคียงกัน)
         2. คุณสมบัติหลักของบุคลากร 208 คน (กลุ่มเป้าหมายหลัก) ที่จะคัด เลือกเข้าร่วมเป็ นทีม มี
ดังนี้
             2.1 มีความตังใจ มุงมันในการทางาน ชอบช่วยเหลือผู้อนในการพัฒนางาน
                           ้       ่ ่                               ่ื
                                                      ั
             2.2 เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง และรับฟงความเห็นของผู้อน       ่ื
             2.3 มีประสบการณ์/ผลงานทีปรากฏชัดเจน เป็นทียอมรับของผู้บริหารและเพื่อนร่วมงาน
                                            ่                   ่
             2.4 รับผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนโดยตรงหรือมีความสามารถ/แนวคิด การทางานเชิง
                  ยุทธศาสตร์
             2.5 ต้ อ งสามารถท างานร่ว มกับ ทีม งานของโครงการนี้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งไม่ น้ อ ยกว่า 2 ปี
                  ข้างหน้า เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ได้ตามทีกาหนดไว้
                                                        ่
             2.6 รับผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนของหน่ วยงานในด้านยุทธศาสตร์ หรือ การพัฒนา
                  บุค ลากร หรือ การปฏิบัติก ารในพื้นที่ท่เ กี่ย วข้องกับ สภาเด็กและเยาวชน คาราวาน
                                                            ี
                  เสริมสร้างเด็ก พื้นทีสร้างสรรค์ ศูนย์พฒนาครอบครัว (สค.) งานคุมครองเด็ก
                                       ่                  ั                       ้
เป้ าหมายโครงการ
         เป้ าหมายหลัก ปี 2555
         1. ทีมงานกลางมืออาชีพระดับชาติทเี่ กิดขึนใหม่ โดยความร่วมมือของหน่ วยงานหลักส่วนกลาง
                                                 ้
และภูมภาคของภาครัฐ 7 กระทรวง ภาคเอกชน และประชาชน จานวน 70 คน ทีสามารถพัฒนางานจาก
       ิ                                                                 ่
การวางอนาคตร่วมกัน ทางานร่วมกันอย่างชัดเจน แน่นแฟ้น และมีประสิทธิภาพ
         2. ทีม งานกลางมือ อาชีพ ในพื้น ที่ 4 จัง หวัด และ 2 เขตกรุง เทพมหานครที่เ กิด ขึ้น ใหม่
ประกอบด้ วยผู้ร ับ ผิด ชอบงานเด็กและเยาวชนของหน่ วยงานหลักทัง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค
                                                                   ้
ประชาชน 6 พื้นที่ ๆ ละ 23 คน (ผู้ใหญ่ 12 คน เยาวชน 11 คน) จานวน 138 คน ที่สามารถพัฒนางาน
จากการวางอนาคตร่ว มกัน ท างานร่ว มกัน อย่ า งชัด เจน แน่ น แฟ้น และมีประสิทธิภ าพบนพื้น ฐาน
สถานการณ์จงหวัดั


                                                   3
3. รูปแบบการสานเสริมพลังการทางานพัฒนาเด็กและเยาวชนแนวใหม่ 7 รูปแบบ ในภาพรวม
ของโครงการ 1 รูปแบบ และจังหวัด/พื้นที่ 6 รูปแบบ
พื้นที่ดาเนิ นงาน (แบ่งตามเขตปกครอง)
         - พื้นทีสวนกลาง คือ สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทกษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ
                 ่่                                             ั
ผู้สงอายุ และกรุงเทพฯ 2 เขต
    ู
         - ส่วนภูมภาคใน 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ระยอง ยโสธร และสตูล
                    ิ




                                             4
ตารางแผนปฏิบติการโครงการ
                                                                                            ั

                                                                                            ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ
                                                                                                 ้ั          ี่
           กิจกรรม/วิธีการ                            วัตถุประสงค์                                                                             กลุ่มเป้าหมาย              พืนทีดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ
                                                                                                                                                                            ้ ่
                                                                                                     วัตถุประสงค์
ขัน ตอนที่ 1 สร้ า งความเข้า ใจและ
  ้
ความร่วมมือของผู้บริหารระดับสูง                                                                                                                                                                1 วัน
1. ประชุ ม สร้ า งความเข้า ใจใกล้ชิ ด    1. เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจในการ           - ผู้ บ ริห ารระดับ สูง รับ ทราบ และแสดง          - ผู้ บ ริ ห ารระดับ สูง ของ 7      กรุงเทพฯ
(High Level Meeting)                     ด า เ นิ น โ คร ง ก า ร แก่ ผู้ บ ริ ห า ร   ค ว า ม จ า น ง ส นั บ ส นุ น บุ ค ล า ก ร ใ ห้   กระทรวง และกรม/สานัก
2. ผู้บริหารระดับ สูง พิจ ารณาตัดสินใจ   ระดับ สูง จาก 7 กระทรวง กรม                  ปฏิบติการโครงการฯ โดยนับ เป็ นผลงาน
                                                                                             ั                                          ต่าง ๆ ได้แก่ พม. ศธ. สธ.
มอบหมายบุคลากรที่ทางานเกี่ยวข้อง         สานักต่าง ๆ องค์กรเครือข่ายหลัก              ในการประเมินสมรรถนะบุคคล                          มท. วธ. กก. ทก. จ านวน
โดยตรงมาปฏิบ ัติง านเพื่อพัฒ นาเป็ น     ด้านเด็กและเยาวชนของประเทศ                                                                     30 คน
ทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team)           2. สานเสริมการมีส่วนร่วม
รวม 70 คน ด้วยรูป แบบต่ าง ๆ เช่ น       ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง
การสั ่งการ การแต่งตัง ฯลฯ
                       ้                 หน่ วยงาน องค์ก รเครื อข่ ายหลัก
                                         ด้านเด็กและเยาวชนของประเทศ
                                         ในการสนั บ สนุ น การด าเนิ น งาน
                                         อย่างตังใจมั ่นถึงผลสาเร็จร่วมกัน
                                                  ้
ขันตอนที่ 2 สร้างความเข้าใจให้
  ้
ทีมงานกลางมืออาชีพ เข้าใจบทบาท
หน้าทีตามโครงการฯและรูจกตนเอง
      ่                 ้ั
(Core Team Meeting &
Leadership Analysis)                                                                                                                                                                           1 วัน
วิธีการ                                  1. เพื่ อ ท าความเข้ า ใจเกี่ย วกับ          1. บุ คลากรที่ได้ร ับ มอบหมายให้พฒ นา     ั       - บุ ค ลากร/เจ้ า หน้ า ที่จ าก     กรุงเทพฯ
1. ประชุมสร้างความเข้าใจ                 โครงการ กระบวนการพัฒ นาและ                   เป็ นทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team) มี            ภาครัฐ เอกชน รวมทัง เด็ก ้
                                         บทบาทหน้ า ที่ ก ารเป็ นที ม งาน             ควา ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ แ นว ท า ง กา ร   และเยาวชนทัง ส่ ว นกลาง
                                                                                                                                                         ้
                                         กลางมืออาชีพ (Core Team)                     ดาเนินงานโครงการ                                  และ 6 พื้น ที่น าร่ อง รวม
                                                                                                                                        70 คน ได้แก่

                                                                                                  5
ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้อง
                                                                                            ้ั           ี่
          กิจกรรม/วิธีการ                          วัตถุประสงค์                                                                  กลุ่มเป้าหมาย             พืนทีดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ
                                                                                                                                                             ้ ่
                                                                                             กับวัตถุประสงค์
2.ทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team)        2. เพื่อ ศึ ก ษาข้ อ มูล ของที ม งาน   2. ผลการวิ เ คราะห์ ผ ลข้ อ มู ล และทิ ศ   1. ส่วนกลาง
แต่ ล ะคนตอบแบบส ารวจความเป็ น          กลางมื อ อาชี พ แต่ ละคน (Core         ทาง กา รเ พิ่ ม ศั ก ย ภา พภา พร วม และ      -จาก พม. 16 คน ได้แก่
ผู้นาของตนเอง                           Team) จากการให้ประเมินตนเอง            รายบุคคลของบุคลากรที่ได้ร ับ มอบหมาย       สท. 6 คน สค. 2 คน
3.ทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team)        และ เพื่อการส่งเสริมความเป็ นผู้นา     ให้ พ ัฒ นาเป็ นที ม งานกลางมื อ อาชี พ    พส . 2 คน สป . 2 ค น
ให้ผู้ใกล้ชดเช่น ผู้ร่ วมงาน ครอบครัว
           ิ                            ให้เหมาะสมและเต็มศักยภาพ               (Core Team)                                สถาบันพัฒ นาสัง คม 2 คน
ญาติ เพื่อน คนละ 5 คน ตอบแบบ            3.ข้อมูลการประเมินตนเองเพื่อเป็ น                                                 เอกชน 1 คน ประชาสัง คม
สารวจความเป็ นผู้นาของทีมงานกลาง        การเปิ ดมุมมองของการเป็ นผู้นา                                                    1 คน อปท.1 คน
4. ที่ป รึกษาโครงการฯน าผลการการ                                                                                           -จาก 6 กระทรวง 12 คน
วิเ คราะห์ความเป็ น ผู้นา(Leadership)                                                                                     กระทรวง ละ 2 คน
ทีมงานกลางมืออาชีพใช้วางแผนเพิ่ม
ศักยภาพให้เ หมาะสมกับ Core Team                                                                                           2. พืนทีนาร่องพืนทีละ7 คน
                                                                                                                               ้ ่            ้ ่
แต่ละคน                                                                                                                   รวม 42 คน ได้แก่
                                                                                                                          เด็ก เยาวชน พมจ. ศพค.
                                                                                                                          ภาคธุ ร กิจ เอกชน องค์ ก ร
                                                                                                                          ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ภ า ค
                                                                                                                          ประชาสังคม อปท. ฯลฯ)




                                                                                         6
ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ
                                                                                      ้ั          ี่                                                                ระยะเวลา
           กิจกรรม/วิธีการ                        วัตถุประสงค์                                                              กลุ่มเป้าหมาย          พืนทีดาเนินการ
                                                                                                                                                     ้ ่
                                                                                          วัตถุประสงค์                                                              ดาเนินการ
ขันตอนที่ 3 การระดมผู้เกียวข้องร่วม
  ้                      ่
ค้นหาอนาคต (future search)                                                  1.โครงการแผนปฏิบติการการทางานเพื่อ
                                                                                             ั
Work Day ช่วงที่ 1                                      -                   การพัฒนาเด็กและเยาวชน (ภาพรวมของ                      -                      -               -
กระบวนการสร้างอนาคตร่ว มกัน                                                 โครงการและพืนที)
                                                                                        ้ ่
(future search)                                                             2. กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่ วมเพื่อ
                                                                            การทางานด้านเด็กและเยาวชน
วิธีการ
1.ปฏิบติการครังที่ 1 โดยใช้
       ั       ้                        1. เพื่อทาความเข้าใจร่วมกันเรื่อง   1. วิสยทัศน์ร่วม และข้อเสนอแนวทาง
                                                                                  ั                                   - เด็กเยาวชน และบุคลากร      กทม./ภูมภาค
                                                                                                                                                           ิ        2 วัน 2 คืน
กระบวนการค้นหาอนาคต (future             Future Search                       ใหม่ (ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน)จาก         รวม 120 คน ได้แก่
search conference 1)                    2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้         เด็กและเยาวชนผู้เข้าร่วมปฏิบติการ
                                                                                                        ั             1. เด็กและเยาวชนทีมอายุ
                                                                                                                                         ่ ี
ทีประกอบด้วย การให้ผู้ร่วม
  ่                                     ร่วมกันสร้างวิสยทัศน์ และเสนอ
                                                         ั                  2. โครงร่างแผนปฏิบติการการทางานเพื่อ
                                                                                                ั                     15-25 ปี จาก 6 พืนที่ ๆ ละ
                                                                                                                                       ้
ปฏิบติการย้อนกลับไปตรวจสอบและ
     ั                                  แนวคิดการทางานด้านเด็กและ           การพัฒนาเด็กและเยาวชน                     18 คน รวม 108 คน
            ั ั
ค้นหาอดีต ปจจุบนและอนาคตของ             เยาวชนโดยใช้กระบวนการสร้าง                                                    2. บุคลากรด้านเด็กและ
สังคมโลก ประเทศ องค์กร และผูร่วม  ้     อนาคต (future search)                                                         เยาวชน 6 พืนที่ ๆ ละ 2
                                                                                                                                  ้
ประชุมเอง เพื่อเชื่อมให้เห็นเป็ นพลัง   3. เจ้าหน้าทีปฏิบติงานเด็กและ
                                                       ่ ั                                                            คน รวม 12 คน
และความสัมพันธ์ของการเปลียนแปลง
                              ่         เยาวชนได้ร่วมกันสร้างวิสยทัศน์
                                                                 ั
ของสรรพสิง่                             และเสนอแนวคิดการทางานด้าน
                                        เด็กและเยาวชนโดยใช้
                                        กระบวนการสร้างอนาคต (future
                                        search)




                                                                                      7
ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ
                                                                                          ้ั          ี่                                                                     ระยะเวลา
           กิจกรรม/วิธีการ                          วัตถุประสงค์                                                                   กลุ่มเป้าหมาย            พืนทีดาเนินการ
                                                                                                                                                              ้ ่
                                                                                              วัตถุประสงค์                                                                   ดาเนินการ
Work Day ช่วงที่ 2
กระบวนการสร้ า งอนาคตร่ ว มกั น
(future search)
วิธีการ
1.ปฏิบติการครังที่ 2 โดยใช้กระบวนการ
            ั     ้                    1. เพื่อทาความเข้าใจร่วมกันเรื่อง           1. วิ ส ัย ทัศ น์ ร่ วม และข้ อ เสนอ      ผู้ร่วมปฏิบติการ จานวน
                                                                                                                                         ั                     ภูมภาค
                                                                                                                                                                  ิ          4 วัน 4 คืน
ค้นหาอนาคต (future search              Future Search                               แนวทางใหม่ (ในการพัฒ นาเด็ ก              120 คน ประกอบด้วย
conference 2)                          2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมปฏิบติการ ได้ร่วมกัน
                                                                ั                  แล ะ เ ย า วช น )จ า กผู้ เ ข้ า ร่ ว ม   1. Core Team 70 คน
ทีประกอบด้วย การให้ผู้ร่วม ปฏิบติการ
  ่                             ั      สร้างวิสยทัศน์ และร่วม เสนอแนวทาง
                                                ั                                  ปฏิบติการ
                                                                                         ั                                   2. ผู้บริหารจาก 7 กระทรวง
ย้อนกลับไปตรวจสอบและค้นหาอดีต          การทางานด้านเด็กและเยาวชนโดยใช้             2. โครงร่างแผนปฏิบติการการ
                                                                                                            ั                3. NGO/นั ก จั ด กิ จ กร ร ม
    ั ั
ปจจุบนและอนาคตของสังคมโลก              กระบวนการสร้างอนาคต (future                 ทางานเพื่อการพัฒนาเด็กและ                 (Activist)
ประเทศ องค์กร และผู้ร่วมประชุมเอง      search) ทีจะนาไปใช้ทาแผนปฏิบตงาน
                                                    ่                       ั ิ    เยาวชน                                    4. สถาบันการศึกษา
เพื่อเชื่อมให้เห็นเป็ นพลังและ         (Action Plan) ของ Core Team ต่อไป           3.ร่างแผนการทางานของ core                 5. สื่อมวลชน
ความสัมพันธ์ของการเปลียนแปลงของ
                            ่                                                      team                                      6. สสส.
สรรพสิง   ่                                                                        4.ตารางเวลา (Time Table)                  7. ผู้ทรงคุณวุฒิ/
                                                                                   ภาพรวมและพืนที่    ้                       นักวิชาการ
                                                                                   5.แผนปฏิบติการทางานของ พม.
                                                                                                 ั                                ฯลฯ




                                                                                       8
ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ
                                                                                      ้ั         ี่                                                            ระยะเวลา
            กิจกรรม/วิธีการ                        วัตถุประสงค์                                                         กลุ่มเป้าหมาย         พืนทีดาเนินการ
                                                                                                                                                ้ ่
                                                                                         วัตถุประสงค์                                                          ดาเนินการ
ขันตอนที่ 4 การออกแบบการปฏิบติงาน
  ้                         ั                                                Out put                              1.Core Team ของประเทศ
ระดับจังหวัด/พืนที่
               ้                  -                                          1. Core Team ระดับพืนที่
                                                                                                    ้             70 คน แบ่งเป็ น 6 กลุ่ม ๆ   พืนทีนาร่อง 6
                                                                                                                                                ้ ่              6 วัน
                                                                             2. ระบบการทางาน ในพืนที่ 6 แห่ง
                                                                                                      ้           ละ 11-12 คน (ส่วนกลาง           แห่ง
                                                                             3. คู่มอการปฏิบตงานในพืนที่ 6 แห่ง
                                                                                    ื        ั ิ        ้         4-5 คน พืนที่ 7 คน)
                                                                                                                           ้
วิธีการ
1. ปฏิบติการระดมความคิดและศึกษา
         ั                               1. เพื่อจัดทาระบบ (System Design) 1.1 ระบบ (System Design)
ข้อมูลในพืนทีจริง เพื่อจัดทาระบบ
           ้ ่                           กระบวนการ (Process Design) และ    กระบวนการ (Process Design) และ
(System Design) กระบวนการ                ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี (Strategy     ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี (Strategy
(Process Design) และยุทธศาสตร์           Mechanism Design) ในแต่ละพืนที่
                                                                       ้   Mechanism Design) ในแต่ละพืนที่   ้
ยุทธวิธี (Strategy Mechanism Design)     (6 แห่ง)                          (6 แห่ง)
ไปพร้อม ๆ กัน                                                              1.2 คู่มอการปฏิบตงานในจังหวัด/
                                                                                   ื       ั ิ
                                                                           พืนที่ 6 แห่ง
                                                                             ้
2. เปิ ดเวที Core Team ระดับจังหวัด/     2. เพื่อสร้าง Core Team ระดับ     2. Core Team ระดับจังหวัด/พืนที่้   2. บุคลากรด้านเด็กและ
พืนที่
  ้                                      จังหวัด/พืนที่ ให้มส่วนร่วมในการ
                                                    ้       ี                                                  เยาวชนจากภาครัฐ เอกชน
                                         วางแผนและดาเนินงาน                                                    ประชาชน รวมทังเด็กและ
                                                                                                                               ้
                                                                                                               เยาวชนระดับจังหวัด /พืนที่
                                                                                                                                     ้
                                                                                                               6 พืนทีๆละ 23 คน (ผู้ใหญ่
                                                                                                                   ้ ่
                                                                                                               12 คน เด็กและเยาวชน 11
                                                                                                               คน รวม 138 คน(รวมกลุ่ม
                                                                                                               1 และ 2 รวมเป็ น 208 คน
                                                                           Out put
3. การเสริมสร้างความรู้เรื่อง Capacity   3. เพื่อเสริมความรู้ในการปฏิบตงาน 1. Core Team ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Core Team ของ
                                                                       ั ิ                                                                      ส่วนกลาง/        5 วัน
Building / Leadership / Negotiation      ตามความจาเป็ นและความต้องการ เพิ่มศัก ยภาพและทักษะตามความ ประเทศ 70 คน                                ส่วนภูมภาค
                                                                                                                                                      ิ
Skill/etc.                               ของแต่ละพืนทีให้มประสิทธิภาพมาก จาเป็ นและความต้องการมากขึน
                                                      ้ ่ ี                                              ้
                                         ขึน
                                           ้

                                                                                   9
กิจกรรม/                                  วัตถุประสงค์                        ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ
                                                                                                    ้ั              ี่              กลุ่มเป้าหมาย          พืนทีดาเนินการ
                                                                                                                                                             ้ ่              ระยะเวลา
                 วิธีการ                                                                                วัตถุประสงค์                                                          ดาเนินการ
                                                                                             Out put
4. Core Team ในจังหวัด/พืนที่    ้            3.1 เพื่อฝึ กปฏิ บ ัติก ารในจัง หวัด /พื้น ที่ 1.การขับ เคลื่อ นการท างานด้า น 3. บุคลากรด้านเด็กและ                              3 เดือน
ปฏิ บ ัติ ก ารในพื้น ที่ ครัง ที่ 1 โดยการ
                            ้                 ของ Core Team                                  เด็กและเยาวชนในจังหวัด/พืนที่
                                                                                                                         ้   เยาวชน และเด็ก เยาวชน                          ก.พ.-เม.ย. 2555
ส นั บ ส นุ น ด้ า น ง บ ป ร ะ ม า ณ จ า ก    3.2 เพื่อ ติ ด ตาม นิ เ ทศงาน และถอด                                           รวม 30-34 คน ต่อพืนที่  ้                        (แต่ละพืนที่
                                                                                                                                                                                      ้
โครงการฯ และได้ร ับ คาแนะนาปรึกษา             บ ท เ รี ย นในพื้ นที่ ส า ห รั บ ป รั บ กา ร                                  ประกอบด้วย Core Team                            จะกาหนดเวลา
จากการติดตาม นิเทศของคณะทีปรึกษา     ่        ปฏิบติการ
                                                     ั                                                                       ของประเทศ 11 -12 คน                              ของตนเอง)
                                                                                                                             (ส่วนกลาง 4-5 คน พืนที่ 7 ้
                                                                                                                             คน) และ Core Team
                                                                                                                             ของจังหวัด/พืนทีนาร่องๆ
                                                                                                                                             ้ ่
                                                                                                                             พืนที่ ๆ ละ 23 คน
                                                                                                                               ้
                                                                                             Out put
5. Core Team ปฏิบ ัติการในพื้นที่ ครัง    ้   5.1 เพื่อทาให้ Core Team มีศกยภาพ 5.1 Core Team ที่มีศกยภาพและ - บุ ค ลากรด้า นเด็ก และ
                                                                                  ั                                    ั                                    พืนทีนาร่อง
                                                                                                                                                              ้ ่               3 เดือน
ที่ 2 (6 พืนที)่
           ้                                  และมีความมั ่นใจในการ เป็ นผู้ นาการ มีความมั ่นใจในการเป็ นผู้ นาการ เยาวชนจากภาครัฐ เอกชน                      6 แห่ง        มิย.-สค. 2555
โ ด ย ก า ร ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น ด้ า น   เปลี่ย นแปลงการท างานด้า นเด็ก และ เปลี่ยนแปลงการท างานด้านเด็ก ประชาชน รวมทัง เด็กและ             ้
งบประมาณจากโครงการฯ และจากการ                 เยาวชนมากขึน    ้                              และเยาวชนมากขึน    ้            เยาวชนของประเทศ ระดับ
ติดตาม นิเทศจากคณะทีปรึกษา่                   5.2 เพื่อสร้างรูป แบบและวางนโยบาย 5.2 รู ป แบบการท างานด้า นเด็ก จังหวัด /พืนที่ รวม 208 คน้
                                              การท างานด้า นเด็ ก และเยาวชนของ และเยาวชน 6 พืนที่             ้
                                              หน่วยงานหลักส่วนกลางและพืนที่     ้            5.3 นโยบายการทางานด้านเด็ก
                                                                                             และเยาวชนของพืนที่   ้
6. การถอดบทเรียน                              - เพื่อให้ได้รูปแบบการสานเสริมพลังการ - คู่มือ การปฏิ รู ป การท างานด้า น - บุ คลา กร ด้ า นเด็ ก และ         พืนทีนาร่อง
                                                                                                                                                              ้ ่              สค. 2555
                                              ทางานพัฒ นาเด็กและเยาวชนแนวใหม่ เด็กและเยาวชนแนวใหม่                           เยาวชนจากภาครัฐ เอกชน             6 แห่ง
                                              7 รูปแบบ (ในภาพรวมของโครงการ 1                                                 ประชาชน รวมทัง เด็กและ้
                                              รูปแบบ และจังหวัด/พืนที่ 6 รูปแบบ)
                                                                       ้                                                     เยาวชนของประเทศ ระดับ
                                                                                                                             จังหวัด /พืนที่ รวม 208 คน
                                                                                                                                           ้


                                                                                           10
ผลผลิ ตและผลลัพธ์โครงการ
          ผลผลิต
          1. รูป แบบการท างานด้ านเด็ก และเยาวชนที่เ กิด จากการผนึ ก ก าลัง เป็ น ทีม งานบนความ
หลากหลายของหน่วยงานเชิงโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และความเชี่ยวชาญภายใต้จุด ยืนร่วมกันเพื่อให้
เกิดการพัฒนา โดยการสนับสนุนของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
          2. เกิด บุคลากรที่เป็ น กุญแจส าคัญ (key persons) หรือทีมมืออาชีพของกระทรวงด้ านสังคม
โดยเฉพาะกระทรวง พม. ทีทาหน้ าที่เป็ น ทีมนาการปรับเปลี่ยนการทางานด้านเด็กและเยาวชน ซึ่งผ่าน
                           ่
กระบวนการพัฒนากรอบแนวคิด ความรู้ ทักษะทีได้ปฏิบตการจริงในพื้นที่ 4 จังหวัด นาร่อง และ 2 พื้นที่
                                                  ่    ั ิ
ในเขต กทม. ในการค้นหาอนาคตร่วม (future search) ระบบ/กระบวนการ/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การเป็ น
ผู้นา และการเจรจาต่อรองฯ ภายในหนึ่งปี รวมทังทีมในพื้นทีอย่างน้อย 200 คน
                                                ้          ่
          3. เกิดเครือข่ายบุคลากรผู้ทางานด้านเด็กและเยาวชนระหว่างกระทรวงที่เป็ นกุญแจสาคัญ (key
persons) ทังในส่วนกลาง ในระดับจังหวัด/พื้นที่ ทีมาจากชุมชน/หมูบ้าน ตาบล อาเภอ และมีบทบาทใน
               ้                                    ่           ่
การกาหนดแนวทางการทางานบนพื้นฐานสถานการณ์ความต้องการของคนในจังหวัด /พื้นที่ รวมทัง เป็ น    ้
เครือข่ายเชือมต่อกับหน่วยงานในส่วนกลางระดับกระทรวง
             ่
          4. เกิดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการการทางานด้านเด็กและเยาวชนแนวใหม่ ที่จะต้อง
ปฏิบตการให้เป็นรูปธรรมภายใน 3 ปี โดยมีตวชีวดทีประเมินผลได้อย่างชัดเจน
      ั ิ                                    ั ้ั ่

          ผลลัพธ์
          1. เกิดกลุ่มคนองค์กรด้านเด็กและเยาวชน (ที่มาจากแนวคิด ร่วม การทางานร่วม ระหว่างทีม
ส่วนกลาง ทีมจังหวัด ทีมอาเภอ ทีมตาบล /ชุมชน รวมทังแกนนาเด็กและเยาวชน เช่น สภาเด็กและ
                                                          ้
เยาวชน) ที่เป็ น แกนหลักในการเชื่อมโยงนโยบายระดับชาติ (แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนระดับชาติ
พ.ศ.2555-2559 ที่ ครม. เห็นชอบประกาศใช้ เมือ 3 พ.ค.2554) องค์ความรู้ ทรัพยากรของทุกภาคส่วน
                                              ่
ทีเกียวข้องด้านเด็กและเยาวชนที่ประสานการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนอย่างครอบคลุมเป็ น
  ่ ่
องค์รวม
          2. เด็กและเยาวชนในพื้น ที่ 4 จังหวัด นาร่อง และ 2 พื้นที่ใ นเขต กทม. ได้รบการเสริมสร้าง
                                                                                   ั
ศักยภาพ ได้รบการคุมครองและพิทกษ์สทธิในด้านต่าง ๆ ทีสามารถประเมินได้
                 ั     ้           ั ิ                      ่
          3. ผู้ทางานด้านเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ชุมชน สังคม เห็นความเปลี่ยนแปลงและเกิด การเรียนรู้
นาไปปรับใช้ในพื้นที่
          4. มีก ารผลัก ดัน รูปแบบ/ผลการด าเนิ นงานด้ านเด็กและเยาวชนแนวใหม่ (เป็ นงานวิจยเชิง
                                                                                            ั
ปฏิบตการ) ให้เกิดการสนับสนุนในระดับชาติ โดย สท. พม. นาเสนอคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนา
      ั ิ
เด็กและเยาวชนแห่ง ชาติ เพื่อเสนอคณะรัฐ มนตรีใ นการระดมทรัพยากร การลงทุนงานด้านเด็กและ
เยาวชนทังประเทศในช่วงแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนระดับชาติ พ.ศ. 2555-2559 ตามมติ ครม.
            ้




                                               11
ผู้รบผิดชอบโครงการ
      ั
ผู้รบทุน
    ั
          นายปิ่ น ชาย ปิ่ น แก้ว ผู้ อานวยการส านั ก งานส่ง เสริม สวัส ดิ ภาพและพิท ัก ษ์ เ ด็ก เยาวชน
ผู้ด้อยโอกาส และผู้สงอายุ (สท.)กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์
                     ู                                                 ่
ผู้รบผิดชอบ
        ั
          นางสุกญญา เวชศิลป์ ผู้เชียวชาญเฉพาะด้านเด็ก
                 ั                    ่
          สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทกษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สงอายุ (สท.)
                                            ั                                   ู
          กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์การบริหารโครงการ
                                              ่
การบริหารโครงการ
          โครงการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการทีประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของ สท. ผู้อานวยการ
                                                   ่
สานัก/กองของ สท. ผู้เชียวชาญ และเจ้าหน้ าที่ท่รบผิด ชอบงานด้านเด็กและเยาวชน ของ สท. ทังด้าน
                          ่                     ีั                                                 ้
การพัฒนามาตรการกลไก ยุทธศาสตร์การส่งเสริมศักยภาพ และการคุมครองสิทธิ  ้
การกากับติ ดตาม และประเมินผล
        ทีมทีปรึกษา และคณะกรรมการโครงการ ของ สท. จานวน 15 คน จะมีการออกแบบการติด ตาม
             ่
และประเมิน ผลและมีการติด ตามประเมิน ผล ทังในหน่ วยงานส่วนกลางและพื้นที่ภายหลังการประชุม
                                          ้
ปฏิบตการแต่ละครัง ในขันตอนที่ 4 ของการดาเนินงาน
    ั ิ           ้    ้

งบประมาณรวมทังสิน 9,857,100 บาท (เก้าล้านแปดแสนห้าหมื่นเจ็ดพันหนึ่ งร้อยบาทถ้วน)
             ้ ้

ความต่อเนื่ องยังยืนและการขยายผล
                  ่
          โครงการนี้จะได้ รบการบรรจุเป็ น กลยุทธ์ โครงการตามยุทธศาสตร์ของ สท. พมจ. พม. โดยเป็ น
                           ั
ความร่วมมือกับหน่วยงาน ทีเกียวข้องทีรวมเป็นทีมมืออาชีพ (Core Team) ได้แก่ กรมพัฒนาสังคมและ
                             ่ ่       ่่
สวั ส ดิ ก าร ส านั ก งานกิจ การสตรี แ ละสถาบั น ครอบครั ว กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงยุติธรรม กระทรวงกีฬาและการ
ท่องเที่ย ว กระทรวงสื่อ สารและเทคโนโลยี สานักงานตารวจแห่งชาติ สภาเด็กและเยาวชน และกลุ่ ม
บุคคลภาคประชาชน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดาเนิ นโครงการ
         ในกระบวนการการพัฒนา Core team จะมีการเชิญ สื่อมวลชนและบุคลากรจากหน่ วยงานอื่นที่
เกียวข้องเข้ามามีสวนร่วมกิจกรรม เช่น กระบวนการ Future Search หรือเชิญร่วมสังเกตการณ์ และมี
   ่              ่
การเผยแพร่ความรูผ่านสือต่าง ๆ เช่น สือสิงพิมพ์ เว็บไซต์ของ สท. (www.opp.go.th) และผู้ทรงคุณวุฒ ิ
                    ้       ่                  ่ ่
คณะทางานจะลงติดตาม นิเทศ ประเมินผล รวมทังจัดกระบวนการจัดการความรู้ใ นทีมมืออาชีพ และทีม
                                                           ้
พื้นทีจงหวัด
      ่ั
                      -------------------------------------------------------------------------------

                                                  12

More Related Content

Similar to ข้อมูลโคร..[1]

คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยคู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
Influencer TH
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารMr-Dusit Kreachai
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
Young Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniYoung Influencer Pathumthani
Young Influencer Pathumthani
Influencer TH
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
Wichai Likitponrak
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
Proud N. Boonrak
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้Alisa Samansri
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ประพันธ์ เวารัมย์
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
TEAMGroup CSR
TEAMGroup CSRTEAMGroup CSR
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 

Similar to ข้อมูลโคร..[1] (20)

คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยคู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
คู่มือการทำงานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
Young Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniYoung Influencer Pathumthani
Young Influencer Pathumthani
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่ายบทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
TEAMGroup CSR
TEAMGroup CSRTEAMGroup CSR
TEAMGroup CSR
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 

ข้อมูลโคร..[1]

  • 1. โครงการปฏิ รปการทางานด้านเด็กและเยาวชนแนวทางใหม่ ู “สานเสริ มพลัง...พัฒนาเด็กและเยาวชน” Reform Interactive Network for Action of Child and Youth ความเป็ นมา ั สถานการณ์ พฤติก รรมป ญหาเด็ก และเยาวชนมีความหลากหลาย รุน แรง สลับ ซับ ซ้อ น ซึ่ง ั ่ ั สาเหตุของปญหาหนึ่งจะนาไปสูปญหาอืน ๆ อีกมากมาย เช่น พฤติกรรมการใช้สารเสพติด การติด เกม ่ การตังครรภ์กอนวัยอันเหมาะสม การพนัน การใช้ความรุนแรง และโดยที่สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ ้ ่ และพิทกษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของ ั ู ่ มนุษย์ (พม.) มีหน้าทีและรับผิดชอบในการส่งเสริม พัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทกษ์เด็กและเยาวชน ่ ั ให้มคณภาพทีดและความมันคงในชีวต โดยกาหนดมาตรการ กลไกในการส่งเสริมสนับสนุ นภาคส่วน ีุ ่ ี ่ ิ ต่า ง ๆ ให้ม ีก ารด าเนิ น การ ดัง นั ้น ตลอดระยะเวลาที่ผ่ า นมาตัง แต่ ปี 2545 สท. จึง ได้ ร่ว มงานกับ ้ หน่วยงาน เครือข่ายด้านเด็กและเยาวชนทุกภาคส่วนทังระดับชาติและระดับพื้นที่ใ นการส่งเสริม พัฒนา ้ ศักยภาพ คุมครองและพิทกษ์สทธิเด็กและเยาวชน และพบว่ามีหน่ วยงานและเครือข่ายกลุ่มต่าง ๆ ด้าน ้ ั ิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนมีความพยายามสนับสนุ นขับเคลื่อนให้เ กิด การรวมกลุ่มคน /งาน/กิจกรรม จานวนและรูปแบบทีหลากหลายมากขึนอย่างชัดเจน ทังทีเป็นหน่วยงานและกลุ่มเด็กและเยาวชนทังจาก ่ ้ ้ ่ ้ การก่อตังของภาครัฐ เช่น สภาเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน ้ แห่งชาติ พ.ศ.2550 ทีกาหนดให้มการจัดตังสภาเด็กและเยาวชน ให้ครบทุกอาเภอ (878 แห่ง) จังหวัด ่ ี ้ (77 แห่ง) และประเทศตังแต่ปี 2552 และในปี 2553 ได้ขยายระดับตาบลได้ประมาณ 4,000 แห่ง และกลุ่ม ้ องค์กรอาสาของภาคเอกชน ภาคประชาชน ทังนี้ จากการสนับสนุ นของสานักงานกองทุนสนับสนุ นการ ้ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มูลนิธสยามกัมมาจล จานวนมากกว่า 1,000 แห่ง ิ ผลงานที่ปรากฏดังกล่ าวมีรูปแบบทังที่เหมือนกัน และแตกต่ างกัน ออกไปตามขอบเขตความ ้ รับ ผิด ชอบและทรัพ ยากรที่ม ีอยู่ ของหน่ วยงาน/องค์กร แต่ ยัง ไม่ป รากฏความชัด เจนแน่ น อนในเชิง ่ี ั ้ ั ผลลัพธ์ทตวเด็ก อีกทังพฤติกรรมปญหาของเด็กและเยาวชนยังคงปรากฏอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ จาก การประเมิน การด าเนิ น งานตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนตามยุ ทธศาสตร์ก ารพัฒนาเด็ก “โลกที่ เหมาะสมสาหรับเด็ก” ในช่วงปี 2550 - 2552 พบว่า การประสานงานสร้างความร่วมมือการบูรณาการ (integrate) ของทุกภาคส่วน กลับ ส่งผลให้ง านการพัฒ นาเด็กและเยาวชนในระดับพื้นที่ จังหวัด และ ระดับประเทศไม่เ ชื่อมต่ อกัน อย่างเป็ น ระบบชัด เจนและแสดงถึง ความยังยืน ด้วยเหตุน้ี บุคลากรของ ่ หน่วยงานต่าง ๆ ทังภาครัฐและเอกชนทีรบผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะ สท. พม. ที่ต้อง ้ ่ั เป็ น หลัก ในการประสานความร่ว มมือตังแต่ก ลุ่ม /ฝ่ ายงานระดับปฏิบัติข้น ไปจนถึง ระดับ สูง ทังด้ า น ้ ึ ้ นโยบายและยุทธศาสตร์ ระบบข้อมูลและการให้บริการ ฯลฯ จึงจาเป็ นต้องพัฒนาให้ มระบบการทางานที่ี มีประสิทธิภ าพ มีการประสานความร่วมมือระหว่างกัน และต้องตระหนักถึงความจาเป็ นในการป ฏิรูป ่ ั รูปแบบการทางานทีเป็ น อยู่ใ นปจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความคิด เห็นดังกล่าวเป็ น สิงที่กลุ่มผู้บริหาร ่ ของ พม. ได้เล็งเห็นว่าเป็นสิงที่ต้องเร่งด าเนินการ เพื่อให้กระบวนการพัฒนาเด็กและเยาวชน มีระบบ ่ 1
  • 2. ปฏิบตงานทีมประสิทธิภาพมากขึน เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีคุณภาพที่ด ีมความมันคงในชีวตอย่างเป็ น ั ิ ่ ี ้ ี ่ ิ รูปธรรมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในประเทศ ภูมภาค และสังคมโลก ิ อนึ่ง ผู้บริหารของ พม. และ สสส. โดยการนาของปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคง ่ ของมนุษย์ และผู้จด การ สสส. ได้มการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการด าเนินการ ั ี ขับเคลื่อนและพัฒนาสังคมอย่างเป็ น รูปธรรม เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2553 ที่กาหนดว่าความร่วมมือใน ระดับกระทรวง ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้ระดับผู้บริหาร การพัฒนาศักยภาพผู้นาเพื่อการเปลี่ยนแปลง สังคมร่วมกันในระดับกรม มีความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเด็ก และเยาวชน ครอบครัว ชุมชน ท้องถิน โดยมีกลไกการทางานร่ว มกัน (Co-Management) ระหว่างหน่ วยงานใน พม. ่ และภาคีเครือข่ายของ สสส. ในระดับพื้นที่มการนาประเด็นข้อตกลงจากระดับกรมไปปฏิบัติใ นระดับ ี พื้นที่ (อปท./ชุมชน) อย่างเป็ น รูปธรรม และความร่วมมือในการจัด คณะกรรมการเพื่อวางแนวทางและ ประสานการด าเนิ น งาน โดยมีผู้อานวยการ สท. เป็ นประธานกรรมการรับผิด ชอบงานด้า นเด็กและ เยาวชน ภารกิจดังกล่าวเป็นทีมาของการหารือร่วมกันของผู้ท่เกี่ยวข้องทังจากสานักส่งเสริมและพิทกษ์ ่ ี ้ ั เด็ก (สทด.) สานักส่งเสริมพิทกษ์เยาวชน (สทย.) สสส. ผู้ทรงคุณวุฒ ิ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ และได้ม ี ั ความเห็นร่วมกันว่าต้องมีโครงการปฏิรปการทางานด้านเด็กและเยาวชนแนวทางใหม่ข้น เพื่อให้มระบบ ู ึ ี และกระบวนการทางานทีมประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของประเทศ ่ ี อย่างไรก็ด ี ต่ อมาคณะรัฐมนตรีไ ด้มมติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2554 เห็นชอบให้ กระทรวงพัฒนา ี สังคมและความมันคงของมนุ ษย์ ปรับโครงสร้างหน่ วยงานระดับกรม 5 กรม ซึ่ง 1 ใน 5 ก็คอ การรวม ่ ื งานด้านเด็กและเยาวชนเข้าด้วยกันขึนเป็นระดับกรม คือ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ทาหน้ าที่ดูแลส่วน ้ งานด้านเด็กและเยาวชนอย่างเต็มทีเพื่อความคล่องตัวในการปฏิบตงาน (อยู่ในระหว่างการพิจารณาของ ่ ั ิ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) จากนโยบายของรัฐ บาล รวมทังผู้บริหารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ษย์ ้ ่ จึงนับได้วา เป็นความท้าทายที่ สท. ต้องหาแนวทางการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทังกระบวนการและ ่ ้ ระบบการทางานให้มประสิทธิภาพทีดยง ๆ ขึน ดังนั น สท. จึงขอเสนอโครงการปฏิ รูปการทางานด้ าน ี ่ ี ิ่ ้ ้ เด็กและเยาวชนแนวทางใหม่ “สานเสริ ม พลัง ... พัฒนาเด็กและเยาวชน” เพื่อ ให้เ กิด เป็ นการ พัฒนาระบบให้มประสิทธิภ าพมากกว่าเดิม รวมถึงการพัฒนายุทธวิธใ นการส่งเสริมสุขภาพและความ ี ี มันคงของชีวตเด็กและเยาวชนให้เกิดประสิทธิผลเป็น รูปธรรมอย่างจริงจังและเด่นชัดยิงขึน ่ ิ ่ ้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มวสยทัศน์และความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อการขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนาสังคมด้าน ีิั เด็กและเยาวชนในอนาคต ของหน่วยงาน บุคลากรด้านเด็กและเยาวชนในส่วนกลางและจังหวัด /พื้นที่ 2. เพื่อสร้างทีมงานกลางมืออาชีพของประเทศ ที่ประกอบด้วยบุคลากรด้านเด็กและเยาวชนทังใน ้ ส่วนกลางและจังหวัด/พื้นที)่ ทีมคณภาพสูง สามารถเป็นผู้นา เป็นทีปรึกษาและพี่เลี้ยง ร่วมทางานสอดคล้อง ่ ีุ ่ เชือมเสริมกันของประเทศ ่ 2
  • 3. 3. เพื่อสร้างระบบการพัฒนาสังคมด้านเด็กและเยาวชนที่มประสิทธิภาพและสร้างความยังยืน ี ่ โดยความร่วมมือระหว่างกลุ่มบุ คคล เจ้าหน้ าที่ต่ าง ๆ และภาคีก ิจกรรมร่วม โดยใช้ยุ ทธศาสตร์และ ยุทธวิธเี พื่อช่วยให้ชมชนสามารถนาไปพัฒนาด้วยตนเองได้ในทีสด อย่างกระตือรือร้นไปพร้อมกัน ุ ุ่ กลุ่มเป้ าหมาย กลุ่มเป้ าหมายหลัก 1. ปี 2555 บุคลากรที่ร ับผิด ชอบงานด้านเด็กและเยาวชนจากทุก ภาคส่วนในส่วนกลางและ จังหวัด/พื้นทีจานวน 208 คน โดยแบ่งออกเป็น ่ 1.1 ผู้บ ริห ารและผู้ ปฏิบัติง านของหน่ วยงานหลัก ภาครัฐ 7 กระทรวง และเอกชน จาก ส่วนกลางระดับชาติ และส่วนภูมภาคในระดับจังหวัด (ชายและหญิงจานวนใกล้เคียงกัน) ิ 1.2 เด็กและเยาวชนทีเป็นกลุ่มสภาเด็กและเยาวชนในจังหวัด และกลุ่มทัวไป อายุระหว่าง 15 - 25 ่ ่ ปี (ชายและหญิงจานวนใกล้เคียงกัน) 2. คุณสมบัติหลักของบุคลากร 208 คน (กลุ่มเป้าหมายหลัก) ที่จะคัด เลือกเข้าร่วมเป็ นทีม มี ดังนี้ 2.1 มีความตังใจ มุงมันในการทางาน ชอบช่วยเหลือผู้อนในการพัฒนางาน ้ ่ ่ ่ื ั 2.2 เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง และรับฟงความเห็นของผู้อน ่ื 2.3 มีประสบการณ์/ผลงานทีปรากฏชัดเจน เป็นทียอมรับของผู้บริหารและเพื่อนร่วมงาน ่ ่ 2.4 รับผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนโดยตรงหรือมีความสามารถ/แนวคิด การทางานเชิง ยุทธศาสตร์ 2.5 ต้ อ งสามารถท างานร่ว มกับ ทีม งานของโครงการนี้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งไม่ น้ อ ยกว่า 2 ปี ข้างหน้า เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ได้ตามทีกาหนดไว้ ่ 2.6 รับผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนของหน่ วยงานในด้านยุทธศาสตร์ หรือ การพัฒนา บุค ลากร หรือ การปฏิบัติก ารในพื้นที่ท่เ กี่ย วข้องกับ สภาเด็กและเยาวชน คาราวาน ี เสริมสร้างเด็ก พื้นทีสร้างสรรค์ ศูนย์พฒนาครอบครัว (สค.) งานคุมครองเด็ก ่ ั ้ เป้ าหมายโครงการ เป้ าหมายหลัก ปี 2555 1. ทีมงานกลางมืออาชีพระดับชาติทเี่ กิดขึนใหม่ โดยความร่วมมือของหน่ วยงานหลักส่วนกลาง ้ และภูมภาคของภาครัฐ 7 กระทรวง ภาคเอกชน และประชาชน จานวน 70 คน ทีสามารถพัฒนางานจาก ิ ่ การวางอนาคตร่วมกัน ทางานร่วมกันอย่างชัดเจน แน่นแฟ้น และมีประสิทธิภาพ 2. ทีม งานกลางมือ อาชีพ ในพื้น ที่ 4 จัง หวัด และ 2 เขตกรุง เทพมหานครที่เ กิด ขึ้น ใหม่ ประกอบด้ วยผู้ร ับ ผิด ชอบงานเด็กและเยาวชนของหน่ วยงานหลักทัง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ้ ประชาชน 6 พื้นที่ ๆ ละ 23 คน (ผู้ใหญ่ 12 คน เยาวชน 11 คน) จานวน 138 คน ที่สามารถพัฒนางาน จากการวางอนาคตร่ว มกัน ท างานร่ว มกัน อย่ า งชัด เจน แน่ น แฟ้น และมีประสิทธิภ าพบนพื้น ฐาน สถานการณ์จงหวัดั 3
  • 4. 3. รูปแบบการสานเสริมพลังการทางานพัฒนาเด็กและเยาวชนแนวใหม่ 7 รูปแบบ ในภาพรวม ของโครงการ 1 รูปแบบ และจังหวัด/พื้นที่ 6 รูปแบบ พื้นที่ดาเนิ นงาน (แบ่งตามเขตปกครอง) - พื้นทีสวนกลาง คือ สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทกษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ่่ ั ผู้สงอายุ และกรุงเทพฯ 2 เขต ู - ส่วนภูมภาคใน 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ระยอง ยโสธร และสตูล ิ 4
  • 5. ตารางแผนปฏิบติการโครงการ ั ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ ้ั ี่ กิจกรรม/วิธีการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พืนทีดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ ้ ่ วัตถุประสงค์ ขัน ตอนที่ 1 สร้ า งความเข้า ใจและ ้ ความร่วมมือของผู้บริหารระดับสูง 1 วัน 1. ประชุ ม สร้ า งความเข้า ใจใกล้ชิ ด 1. เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจในการ - ผู้ บ ริห ารระดับ สูง รับ ทราบ และแสดง - ผู้ บ ริ ห ารระดับ สูง ของ 7 กรุงเทพฯ (High Level Meeting) ด า เ นิ น โ คร ง ก า ร แก่ ผู้ บ ริ ห า ร ค ว า ม จ า น ง ส นั บ ส นุ น บุ ค ล า ก ร ใ ห้ กระทรวง และกรม/สานัก 2. ผู้บริหารระดับ สูง พิจ ารณาตัดสินใจ ระดับ สูง จาก 7 กระทรวง กรม ปฏิบติการโครงการฯ โดยนับ เป็ นผลงาน ั ต่าง ๆ ได้แก่ พม. ศธ. สธ. มอบหมายบุคลากรที่ทางานเกี่ยวข้อง สานักต่าง ๆ องค์กรเครือข่ายหลัก ในการประเมินสมรรถนะบุคคล มท. วธ. กก. ทก. จ านวน โดยตรงมาปฏิบ ัติง านเพื่อพัฒ นาเป็ น ด้านเด็กและเยาวชนของประเทศ 30 คน ทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team) 2. สานเสริมการมีส่วนร่วม รวม 70 คน ด้วยรูป แบบต่ าง ๆ เช่ น ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง การสั ่งการ การแต่งตัง ฯลฯ ้ หน่ วยงาน องค์ก รเครื อข่ ายหลัก ด้านเด็กและเยาวชนของประเทศ ในการสนั บ สนุ น การด าเนิ น งาน อย่างตังใจมั ่นถึงผลสาเร็จร่วมกัน ้ ขันตอนที่ 2 สร้างความเข้าใจให้ ้ ทีมงานกลางมืออาชีพ เข้าใจบทบาท หน้าทีตามโครงการฯและรูจกตนเอง ่ ้ั (Core Team Meeting & Leadership Analysis) 1 วัน วิธีการ 1. เพื่ อ ท าความเข้ า ใจเกี่ย วกับ 1. บุ คลากรที่ได้ร ับ มอบหมายให้พฒ นา ั - บุ ค ลากร/เจ้ า หน้ า ที่จ าก กรุงเทพฯ 1. ประชุมสร้างความเข้าใจ โครงการ กระบวนการพัฒ นาและ เป็ นทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team) มี ภาครัฐ เอกชน รวมทัง เด็ก ้ บทบาทหน้ า ที่ ก ารเป็ นที ม งาน ควา ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ แ นว ท า ง กา ร และเยาวชนทัง ส่ ว นกลาง ้ กลางมืออาชีพ (Core Team) ดาเนินงานโครงการ และ 6 พื้น ที่น าร่ อง รวม 70 คน ได้แก่ 5
  • 6. ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้อง ้ั ี่ กิจกรรม/วิธีการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พืนทีดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ ้ ่ กับวัตถุประสงค์ 2.ทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team) 2. เพื่อ ศึ ก ษาข้ อ มูล ของที ม งาน 2. ผลการวิ เ คราะห์ ผ ลข้ อ มู ล และทิ ศ 1. ส่วนกลาง แต่ ล ะคนตอบแบบส ารวจความเป็ น กลางมื อ อาชี พ แต่ ละคน (Core ทาง กา รเ พิ่ ม ศั ก ย ภา พภา พร วม และ -จาก พม. 16 คน ได้แก่ ผู้นาของตนเอง Team) จากการให้ประเมินตนเอง รายบุคคลของบุคลากรที่ได้ร ับ มอบหมาย สท. 6 คน สค. 2 คน 3.ทีมงานกลางมืออาชีพ (Core Team) และ เพื่อการส่งเสริมความเป็ นผู้นา ให้ พ ัฒ นาเป็ นที ม งานกลางมื อ อาชี พ พส . 2 คน สป . 2 ค น ให้ผู้ใกล้ชดเช่น ผู้ร่ วมงาน ครอบครัว ิ ให้เหมาะสมและเต็มศักยภาพ (Core Team) สถาบันพัฒ นาสัง คม 2 คน ญาติ เพื่อน คนละ 5 คน ตอบแบบ 3.ข้อมูลการประเมินตนเองเพื่อเป็ น เอกชน 1 คน ประชาสัง คม สารวจความเป็ นผู้นาของทีมงานกลาง การเปิ ดมุมมองของการเป็ นผู้นา 1 คน อปท.1 คน 4. ที่ป รึกษาโครงการฯน าผลการการ -จาก 6 กระทรวง 12 คน วิเ คราะห์ความเป็ น ผู้นา(Leadership) กระทรวง ละ 2 คน ทีมงานกลางมืออาชีพใช้วางแผนเพิ่ม ศักยภาพให้เ หมาะสมกับ Core Team 2. พืนทีนาร่องพืนทีละ7 คน ้ ่ ้ ่ แต่ละคน รวม 42 คน ได้แก่ เด็ก เยาวชน พมจ. ศพค. ภาคธุ ร กิจ เอกชน องค์ ก ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ภ า ค ประชาสังคม อปท. ฯลฯ) 6
  • 7. ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ ้ั ี่ ระยะเวลา กิจกรรม/วิธีการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พืนทีดาเนินการ ้ ่ วัตถุประสงค์ ดาเนินการ ขันตอนที่ 3 การระดมผู้เกียวข้องร่วม ้ ่ ค้นหาอนาคต (future search) 1.โครงการแผนปฏิบติการการทางานเพื่อ ั Work Day ช่วงที่ 1 - การพัฒนาเด็กและเยาวชน (ภาพรวมของ - - - กระบวนการสร้างอนาคตร่ว มกัน โครงการและพืนที) ้ ่ (future search) 2. กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่ วมเพื่อ การทางานด้านเด็กและเยาวชน วิธีการ 1.ปฏิบติการครังที่ 1 โดยใช้ ั ้ 1. เพื่อทาความเข้าใจร่วมกันเรื่อง 1. วิสยทัศน์ร่วม และข้อเสนอแนวทาง ั - เด็กเยาวชน และบุคลากร กทม./ภูมภาค ิ 2 วัน 2 คืน กระบวนการค้นหาอนาคต (future Future Search ใหม่ (ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน)จาก รวม 120 คน ได้แก่ search conference 1) 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ เด็กและเยาวชนผู้เข้าร่วมปฏิบติการ ั 1. เด็กและเยาวชนทีมอายุ ่ ี ทีประกอบด้วย การให้ผู้ร่วม ่ ร่วมกันสร้างวิสยทัศน์ และเสนอ ั 2. โครงร่างแผนปฏิบติการการทางานเพื่อ ั 15-25 ปี จาก 6 พืนที่ ๆ ละ ้ ปฏิบติการย้อนกลับไปตรวจสอบและ ั แนวคิดการทางานด้านเด็กและ การพัฒนาเด็กและเยาวชน 18 คน รวม 108 คน ั ั ค้นหาอดีต ปจจุบนและอนาคตของ เยาวชนโดยใช้กระบวนการสร้าง 2. บุคลากรด้านเด็กและ สังคมโลก ประเทศ องค์กร และผูร่วม ้ อนาคต (future search) เยาวชน 6 พืนที่ ๆ ละ 2 ้ ประชุมเอง เพื่อเชื่อมให้เห็นเป็ นพลัง 3. เจ้าหน้าทีปฏิบติงานเด็กและ ่ ั คน รวม 12 คน และความสัมพันธ์ของการเปลียนแปลง ่ เยาวชนได้ร่วมกันสร้างวิสยทัศน์ ั ของสรรพสิง่ และเสนอแนวคิดการทางานด้าน เด็กและเยาวชนโดยใช้ กระบวนการสร้างอนาคต (future search) 7
  • 8. ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ ้ั ี่ ระยะเวลา กิจกรรม/วิธีการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พืนทีดาเนินการ ้ ่ วัตถุประสงค์ ดาเนินการ Work Day ช่วงที่ 2 กระบวนการสร้ า งอนาคตร่ ว มกั น (future search) วิธีการ 1.ปฏิบติการครังที่ 2 โดยใช้กระบวนการ ั ้ 1. เพื่อทาความเข้าใจร่วมกันเรื่อง 1. วิ ส ัย ทัศ น์ ร่ วม และข้ อ เสนอ ผู้ร่วมปฏิบติการ จานวน ั ภูมภาค ิ 4 วัน 4 คืน ค้นหาอนาคต (future search Future Search แนวทางใหม่ (ในการพัฒ นาเด็ ก 120 คน ประกอบด้วย conference 2) 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมปฏิบติการ ได้ร่วมกัน ั แล ะ เ ย า วช น )จ า กผู้ เ ข้ า ร่ ว ม 1. Core Team 70 คน ทีประกอบด้วย การให้ผู้ร่วม ปฏิบติการ ่ ั สร้างวิสยทัศน์ และร่วม เสนอแนวทาง ั ปฏิบติการ ั 2. ผู้บริหารจาก 7 กระทรวง ย้อนกลับไปตรวจสอบและค้นหาอดีต การทางานด้านเด็กและเยาวชนโดยใช้ 2. โครงร่างแผนปฏิบติการการ ั 3. NGO/นั ก จั ด กิ จ กร ร ม ั ั ปจจุบนและอนาคตของสังคมโลก กระบวนการสร้างอนาคต (future ทางานเพื่อการพัฒนาเด็กและ (Activist) ประเทศ องค์กร และผู้ร่วมประชุมเอง search) ทีจะนาไปใช้ทาแผนปฏิบตงาน ่ ั ิ เยาวชน 4. สถาบันการศึกษา เพื่อเชื่อมให้เห็นเป็ นพลังและ (Action Plan) ของ Core Team ต่อไป 3.ร่างแผนการทางานของ core 5. สื่อมวลชน ความสัมพันธ์ของการเปลียนแปลงของ ่ team 6. สสส. สรรพสิง ่ 4.ตารางเวลา (Time Table) 7. ผู้ทรงคุณวุฒิ/ ภาพรวมและพืนที่ ้ นักวิชาการ 5.แผนปฏิบติการทางานของ พม. ั ฯลฯ 8
  • 9. ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ ้ั ี่ ระยะเวลา กิจกรรม/วิธีการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พืนทีดาเนินการ ้ ่ วัตถุประสงค์ ดาเนินการ ขันตอนที่ 4 การออกแบบการปฏิบติงาน ้ ั Out put 1.Core Team ของประเทศ ระดับจังหวัด/พืนที่ ้ - 1. Core Team ระดับพืนที่ ้ 70 คน แบ่งเป็ น 6 กลุ่ม ๆ พืนทีนาร่อง 6 ้ ่ 6 วัน 2. ระบบการทางาน ในพืนที่ 6 แห่ง ้ ละ 11-12 คน (ส่วนกลาง แห่ง 3. คู่มอการปฏิบตงานในพืนที่ 6 แห่ง ื ั ิ ้ 4-5 คน พืนที่ 7 คน) ้ วิธีการ 1. ปฏิบติการระดมความคิดและศึกษา ั 1. เพื่อจัดทาระบบ (System Design) 1.1 ระบบ (System Design) ข้อมูลในพืนทีจริง เพื่อจัดทาระบบ ้ ่ กระบวนการ (Process Design) และ กระบวนการ (Process Design) และ (System Design) กระบวนการ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี (Strategy ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี (Strategy (Process Design) และยุทธศาสตร์ Mechanism Design) ในแต่ละพืนที่ ้ Mechanism Design) ในแต่ละพืนที่ ้ ยุทธวิธี (Strategy Mechanism Design) (6 แห่ง) (6 แห่ง) ไปพร้อม ๆ กัน 1.2 คู่มอการปฏิบตงานในจังหวัด/ ื ั ิ พืนที่ 6 แห่ง ้ 2. เปิ ดเวที Core Team ระดับจังหวัด/ 2. เพื่อสร้าง Core Team ระดับ 2. Core Team ระดับจังหวัด/พืนที่้ 2. บุคลากรด้านเด็กและ พืนที่ ้ จังหวัด/พืนที่ ให้มส่วนร่วมในการ ้ ี เยาวชนจากภาครัฐ เอกชน วางแผนและดาเนินงาน ประชาชน รวมทังเด็กและ ้ เยาวชนระดับจังหวัด /พืนที่ ้ 6 พืนทีๆละ 23 คน (ผู้ใหญ่ ้ ่ 12 คน เด็กและเยาวชน 11 คน รวม 138 คน(รวมกลุ่ม 1 และ 2 รวมเป็ น 208 คน Out put 3. การเสริมสร้างความรู้เรื่อง Capacity 3. เพื่อเสริมความรู้ในการปฏิบตงาน 1. Core Team ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Core Team ของ ั ิ ส่วนกลาง/ 5 วัน Building / Leadership / Negotiation ตามความจาเป็ นและความต้องการ เพิ่มศัก ยภาพและทักษะตามความ ประเทศ 70 คน ส่วนภูมภาค ิ Skill/etc. ของแต่ละพืนทีให้มประสิทธิภาพมาก จาเป็ นและความต้องการมากขึน ้ ่ ี ้ ขึน ้ 9
  • 10. กิจกรรม/ วัตถุประสงค์ ตัวชีวด ผลลัพธ์ทสอดคล้องกับ ้ั ี่ กลุ่มเป้าหมาย พืนทีดาเนินการ ้ ่ ระยะเวลา วิธีการ วัตถุประสงค์ ดาเนินการ Out put 4. Core Team ในจังหวัด/พืนที่ ้ 3.1 เพื่อฝึ กปฏิ บ ัติก ารในจัง หวัด /พื้น ที่ 1.การขับ เคลื่อ นการท างานด้า น 3. บุคลากรด้านเด็กและ 3 เดือน ปฏิ บ ัติ ก ารในพื้น ที่ ครัง ที่ 1 โดยการ ้ ของ Core Team เด็กและเยาวชนในจังหวัด/พืนที่ ้ เยาวชน และเด็ก เยาวชน ก.พ.-เม.ย. 2555 ส นั บ ส นุ น ด้ า น ง บ ป ร ะ ม า ณ จ า ก 3.2 เพื่อ ติ ด ตาม นิ เ ทศงาน และถอด รวม 30-34 คน ต่อพืนที่ ้ (แต่ละพืนที่ ้ โครงการฯ และได้ร ับ คาแนะนาปรึกษา บ ท เ รี ย นในพื้ นที่ ส า ห รั บ ป รั บ กา ร ประกอบด้วย Core Team จะกาหนดเวลา จากการติดตาม นิเทศของคณะทีปรึกษา ่ ปฏิบติการ ั ของประเทศ 11 -12 คน ของตนเอง) (ส่วนกลาง 4-5 คน พืนที่ 7 ้ คน) และ Core Team ของจังหวัด/พืนทีนาร่องๆ ้ ่ พืนที่ ๆ ละ 23 คน ้ Out put 5. Core Team ปฏิบ ัติการในพื้นที่ ครัง ้ 5.1 เพื่อทาให้ Core Team มีศกยภาพ 5.1 Core Team ที่มีศกยภาพและ - บุ ค ลากรด้า นเด็ก และ ั ั พืนทีนาร่อง ้ ่ 3 เดือน ที่ 2 (6 พืนที)่ ้ และมีความมั ่นใจในการ เป็ นผู้ นาการ มีความมั ่นใจในการเป็ นผู้ นาการ เยาวชนจากภาครัฐ เอกชน 6 แห่ง มิย.-สค. 2555 โ ด ย ก า ร ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น ด้ า น เปลี่ย นแปลงการท างานด้า นเด็ก และ เปลี่ยนแปลงการท างานด้านเด็ก ประชาชน รวมทัง เด็กและ ้ งบประมาณจากโครงการฯ และจากการ เยาวชนมากขึน ้ และเยาวชนมากขึน ้ เยาวชนของประเทศ ระดับ ติดตาม นิเทศจากคณะทีปรึกษา่ 5.2 เพื่อสร้างรูป แบบและวางนโยบาย 5.2 รู ป แบบการท างานด้า นเด็ก จังหวัด /พืนที่ รวม 208 คน้ การท างานด้า นเด็ ก และเยาวชนของ และเยาวชน 6 พืนที่ ้ หน่วยงานหลักส่วนกลางและพืนที่ ้ 5.3 นโยบายการทางานด้านเด็ก และเยาวชนของพืนที่ ้ 6. การถอดบทเรียน - เพื่อให้ได้รูปแบบการสานเสริมพลังการ - คู่มือ การปฏิ รู ป การท างานด้า น - บุ คลา กร ด้ า นเด็ ก และ พืนทีนาร่อง ้ ่ สค. 2555 ทางานพัฒ นาเด็กและเยาวชนแนวใหม่ เด็กและเยาวชนแนวใหม่ เยาวชนจากภาครัฐ เอกชน 6 แห่ง 7 รูปแบบ (ในภาพรวมของโครงการ 1 ประชาชน รวมทัง เด็กและ้ รูปแบบ และจังหวัด/พืนที่ 6 รูปแบบ) ้ เยาวชนของประเทศ ระดับ จังหวัด /พืนที่ รวม 208 คน ้ 10
  • 11. ผลผลิ ตและผลลัพธ์โครงการ ผลผลิต 1. รูป แบบการท างานด้ านเด็ก และเยาวชนที่เ กิด จากการผนึ ก ก าลัง เป็ น ทีม งานบนความ หลากหลายของหน่วยงานเชิงโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และความเชี่ยวชาญภายใต้จุด ยืนร่วมกันเพื่อให้ เกิดการพัฒนา โดยการสนับสนุนของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน 2. เกิด บุคลากรที่เป็ น กุญแจส าคัญ (key persons) หรือทีมมืออาชีพของกระทรวงด้ านสังคม โดยเฉพาะกระทรวง พม. ทีทาหน้ าที่เป็ น ทีมนาการปรับเปลี่ยนการทางานด้านเด็กและเยาวชน ซึ่งผ่าน ่ กระบวนการพัฒนากรอบแนวคิด ความรู้ ทักษะทีได้ปฏิบตการจริงในพื้นที่ 4 จังหวัด นาร่อง และ 2 พื้นที่ ่ ั ิ ในเขต กทม. ในการค้นหาอนาคตร่วม (future search) ระบบ/กระบวนการ/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การเป็ น ผู้นา และการเจรจาต่อรองฯ ภายในหนึ่งปี รวมทังทีมในพื้นทีอย่างน้อย 200 คน ้ ่ 3. เกิดเครือข่ายบุคลากรผู้ทางานด้านเด็กและเยาวชนระหว่างกระทรวงที่เป็ นกุญแจสาคัญ (key persons) ทังในส่วนกลาง ในระดับจังหวัด/พื้นที่ ทีมาจากชุมชน/หมูบ้าน ตาบล อาเภอ และมีบทบาทใน ้ ่ ่ การกาหนดแนวทางการทางานบนพื้นฐานสถานการณ์ความต้องการของคนในจังหวัด /พื้นที่ รวมทัง เป็ น ้ เครือข่ายเชือมต่อกับหน่วยงานในส่วนกลางระดับกระทรวง ่ 4. เกิดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการการทางานด้านเด็กและเยาวชนแนวใหม่ ที่จะต้อง ปฏิบตการให้เป็นรูปธรรมภายใน 3 ปี โดยมีตวชีวดทีประเมินผลได้อย่างชัดเจน ั ิ ั ้ั ่ ผลลัพธ์ 1. เกิดกลุ่มคนองค์กรด้านเด็กและเยาวชน (ที่มาจากแนวคิด ร่วม การทางานร่วม ระหว่างทีม ส่วนกลาง ทีมจังหวัด ทีมอาเภอ ทีมตาบล /ชุมชน รวมทังแกนนาเด็กและเยาวชน เช่น สภาเด็กและ ้ เยาวชน) ที่เป็ น แกนหลักในการเชื่อมโยงนโยบายระดับชาติ (แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนระดับชาติ พ.ศ.2555-2559 ที่ ครม. เห็นชอบประกาศใช้ เมือ 3 พ.ค.2554) องค์ความรู้ ทรัพยากรของทุกภาคส่วน ่ ทีเกียวข้องด้านเด็กและเยาวชนที่ประสานการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนอย่างครอบคลุมเป็ น ่ ่ องค์รวม 2. เด็กและเยาวชนในพื้น ที่ 4 จังหวัด นาร่อง และ 2 พื้นที่ใ นเขต กทม. ได้รบการเสริมสร้าง ั ศักยภาพ ได้รบการคุมครองและพิทกษ์สทธิในด้านต่าง ๆ ทีสามารถประเมินได้ ั ้ ั ิ ่ 3. ผู้ทางานด้านเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ชุมชน สังคม เห็นความเปลี่ยนแปลงและเกิด การเรียนรู้ นาไปปรับใช้ในพื้นที่ 4. มีก ารผลัก ดัน รูปแบบ/ผลการด าเนิ นงานด้ านเด็กและเยาวชนแนวใหม่ (เป็ นงานวิจยเชิง ั ปฏิบตการ) ให้เกิดการสนับสนุนในระดับชาติ โดย สท. พม. นาเสนอคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนา ั ิ เด็กและเยาวชนแห่ง ชาติ เพื่อเสนอคณะรัฐ มนตรีใ นการระดมทรัพยากร การลงทุนงานด้านเด็กและ เยาวชนทังประเทศในช่วงแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนระดับชาติ พ.ศ. 2555-2559 ตามมติ ครม. ้ 11
  • 12. ผู้รบผิดชอบโครงการ ั ผู้รบทุน ั นายปิ่ น ชาย ปิ่ น แก้ว ผู้ อานวยการส านั ก งานส่ง เสริม สวัส ดิ ภาพและพิท ัก ษ์ เ ด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สงอายุ (สท.)กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ ู ่ ผู้รบผิดชอบ ั นางสุกญญา เวชศิลป์ ผู้เชียวชาญเฉพาะด้านเด็ก ั ่ สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทกษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สงอายุ (สท.) ั ู กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์การบริหารโครงการ ่ การบริหารโครงการ โครงการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการทีประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของ สท. ผู้อานวยการ ่ สานัก/กองของ สท. ผู้เชียวชาญ และเจ้าหน้ าที่ท่รบผิด ชอบงานด้านเด็กและเยาวชน ของ สท. ทังด้าน ่ ีั ้ การพัฒนามาตรการกลไก ยุทธศาสตร์การส่งเสริมศักยภาพ และการคุมครองสิทธิ ้ การกากับติ ดตาม และประเมินผล ทีมทีปรึกษา และคณะกรรมการโครงการ ของ สท. จานวน 15 คน จะมีการออกแบบการติด ตาม ่ และประเมิน ผลและมีการติด ตามประเมิน ผล ทังในหน่ วยงานส่วนกลางและพื้นที่ภายหลังการประชุม ้ ปฏิบตการแต่ละครัง ในขันตอนที่ 4 ของการดาเนินงาน ั ิ ้ ้ งบประมาณรวมทังสิน 9,857,100 บาท (เก้าล้านแปดแสนห้าหมื่นเจ็ดพันหนึ่ งร้อยบาทถ้วน) ้ ้ ความต่อเนื่ องยังยืนและการขยายผล ่ โครงการนี้จะได้ รบการบรรจุเป็ น กลยุทธ์ โครงการตามยุทธศาสตร์ของ สท. พมจ. พม. โดยเป็ น ั ความร่วมมือกับหน่วยงาน ทีเกียวข้องทีรวมเป็นทีมมืออาชีพ (Core Team) ได้แก่ กรมพัฒนาสังคมและ ่ ่ ่่ สวั ส ดิ ก าร ส านั ก งานกิจ การสตรี แ ละสถาบั น ครอบครั ว กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงยุติธรรม กระทรวงกีฬาและการ ท่องเที่ย ว กระทรวงสื่อ สารและเทคโนโลยี สานักงานตารวจแห่งชาติ สภาเด็กและเยาวชน และกลุ่ ม บุคคลภาคประชาชน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเผยแพร่ผลการดาเนิ นโครงการ ในกระบวนการการพัฒนา Core team จะมีการเชิญ สื่อมวลชนและบุคลากรจากหน่ วยงานอื่นที่ เกียวข้องเข้ามามีสวนร่วมกิจกรรม เช่น กระบวนการ Future Search หรือเชิญร่วมสังเกตการณ์ และมี ่ ่ การเผยแพร่ความรูผ่านสือต่าง ๆ เช่น สือสิงพิมพ์ เว็บไซต์ของ สท. (www.opp.go.th) และผู้ทรงคุณวุฒ ิ ้ ่ ่ ่ คณะทางานจะลงติดตาม นิเทศ ประเมินผล รวมทังจัดกระบวนการจัดการความรู้ใ นทีมมืออาชีพ และทีม ้ พื้นทีจงหวัด ่ั ------------------------------------------------------------------------------- 12