SlideShare a Scribd company logo
Ch 7 External Forced
Convection
1
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Faculty of Engineering
Department of Mechanical and Aerospace Engineering
Objectives
2
 เพื่อให้สามารถบอกความแตกต่างระหว่างการไหลแบบ Internal flow และ
External flow ได้
 เพื่อให้เข้าใจถึงแรงต้านเนื่องจากความเสียดทาน (Friction drag) และแรงต้าน
เนื่องจากความดัน (Pressure drag) ได้ รวมทั้งสามารถหาค่าแรงต้านเฉลี่ยและ
สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนเฉลี่ยสาหรับการไหลแบบ External flow ได้
 เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหล
ตลอดความยาวของ Flat plate ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar และ
Turbulent ได้
 เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหลที่
ไหลผ่านท่อทรงกระบอกและรูปร่างทรงกลม ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar
และ Turbulent ได้
Contents
3
 Drag and heat transfer in external flow
 Parallel flow over flat plates
 Flow across cylinders and spheres
 Flow across tube banks
Introduction
4
 ในบทที่แล้ว เรื่องพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อน เราสามารถหาความสัมพันธ์
ของเทอมที่ไม่มีหน่วยต่างๆ ได้ ได้แก่ Nu, Re และ Pr ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวจะ
ถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของการไหล
ภายนอกได้ ทั้งการไหลบน Flat plate การไหลผ่านท่อทรงกระบอก หรือ การ
ไหลผ่านวัตถุทรงกลม
Pr),(ReLL fNu Pr),Re*,( LL xfNu 
Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
5
 เมื่อมีของของไหลผ่านวัตถุ จะมีปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น เช่น
 แรงต้านการเคลื่อนที่ (Drag force) เช่น การต้านการเคลื่อนที่ของรถยนต์s
 แรงต้านการลอยตัว (Lift force) เช่น แรงต้านการลอยตัวของเครื่องบิน
 การทาให้โลหะหรือของแข็งเย็นตัวลง
 คำนิยำม: Free-stream velocity คือ ความเร็วของของไหลที่ระยะใดๆ ที่ไกล
จากวัตถุ
 ความเร็วของของไหลที่ไหลบนพื้นผิวใดๆ จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 (ที่พื้นผิว) ถึง Free-
stream value ที่บริเวณที่อยู่เหนือพื้นผิวมากๆ
 Free-stream velocity จะมีค่าเท่ากับความเร็วของของไหล
Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
6
 แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ (Drag force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ
Wall shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางการเคลื่อนที่
 แรงต้ำนกำรลอยตัว (Lift force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ Wall
shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่
 Drag Force (FD) ขึ้นอยู่กับ density, upstream velocity, geometry
 สัมประสิทธิ์ความต้านทาน (Drag Coefficient, CD)
AV
F
C D
D
2
2
1


Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
7
 ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อมีของไหลไหลผ่านวัตถุ ซึ่งมีผลต่อแรงต้านทางการ
เคลื่อนที่ จะมีผลต่อการถ่ายเทความร้อนด้วย
 ค่า Nu ที่ระยะ x ใดๆ (Nux) และค่า Nu เฉลี่ย สามารถหาได้จากสมการทั่วไป คือ
 คุณสมบัติของของไหลที่นามาใช้ในสมการด้านบน จะต้องเป็นคุณสมบัติที่ Film
temperature (Tf) โดยที่
Pr),Re,( *
xx xfNu 1 Pr),(ReLfNu 2
)PrRe nm
LCNu 
2


TT
T s
f
Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
8
 ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทาน (CDx) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน (hx) จะ
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดความยาวของพื้นผิว ทั้งนี้เนื่องจากผลของ Velocity
boundary layer ที่เกิดขึ้นในทิศทางการไหล
 ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ย (CD) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน
เฉลี่ย (h) ตลอดความยาวของพื้นผิวสามารถหาได้จาก
 อัตราการถ่ายเทความร้อนเข้าหรือออกจากพื้นผิวสามารถหาได้จาก Newton’s
law of cooling
,
0
1
L
D D xC C dx
L
  0
1
L
xh h dx
L
 
)(  TThAQ ss

Parallel Flow Over Flat Plates
9
 พิจารณาของไหลที่ไหลผ่านบน Flat plate ที่มีความยาว L
 ค่า Re ที่ระยะ x จากขอบสามารถหาได้จาก
 Critical Reynolds number คือ
 ในทางปฏิบัติ ค่า Critical Re จะอยู่ใน
ช่วงระหว่าง 105 to 3X106
Rex
Vx Vx
  
5
Re 5 10cr
cr
Vx
  
Friction Coefficient
10
 จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าความหนาของ Boundary layer และค่า
สัมประสิทธิ์ความต้านทานที่ระยะ x ใดๆ บน Flat plate ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
x
x
x
Re
.914

x
xfC
Re
.
,
6640

51
380
x
x
x
Re
.
 51
0590
x
xfC
Re
.
, 
5
105xRe
75
10105  xRe
Friction Coefficient
11
 จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ยตลอดความยาว
ของ Flat plate ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
,
0
1
L
D D xC C dx
L
 
5
105xRe
x
fC
Re
.331

51
0740
x
fC
Re
.
 75
10105  xRe
Heat Transfer Coefficient
12
 จากบทที่ 6 สามารถหา Nu ที่ระยะ x ใดๆ ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
3150
3320 PrRe. .
x
x
x
k
xh
Nu  60.Pr 
3180
02960 PrRe. .
x
x
x
k
xh
Nu 
6060  Pr.
75
10105  xRe
Heat Transfer Coefficient
13
 จากสมการการหา Nux จะนาทาให้สามารถหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน
ที่ระยะ x ใดๆ (hx) ได้ ซึ่ง hx จะเป็นฟังก์ชันของ หรือ x-0.5 สาหรับการไหล
แบบ Laminar
 ดังนั้น ที่ขอบของ Flat plate (x=0), hx จะมีค่าเป็น ∞ และเมื่อระยะ x มากขึ้น ค่า hx
จะลดลง ดังแสดงในรูปด้านขวามือ
 ค่า hx จะเพิ่มขึ้นในช่วง Transition
 เมื่อการไหลเปลี่ยนเป็น Turbulent ค่า hx
จะลดลงเมื่อระยะ x เพิ่มขึ้น ด้วย factor x-0.2
50.
Rex
Heat Transfer Coefficient
14
 การหาค่า Nu และค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน จะแบ่ง Condition ที่
พื้นผิวออกเป็น 2 แบบ คือ
 พื้นผิวที่มีอุณหภูมิที่ผิวคงที่ Ts = constant
 พื้นผิวที่มี Uniform heat flux
Heat Transfer Coefficient (Ts = const.)
15
 ค่า Nu เฉลี่ยตลอดความยาวของ Flat plate สามารถหาได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
 ในกรณีที่ Flat plate ไม่ได้มีความยาวมากพอ ในกรณีนี้จะมีทั้งการไหลแบบ
Laminar และ Turbulent โดยสามารถหาค่า Nu ได้จาก
3150
6640 PrRe. .
x
k
hx
Nu 
3180
0370 PrRe. .
x
k
hx
Nu 
6060  Pr.
75
10105  xRe
5
105xRe
 0.8 1 3
0.037Re 871 PrLNu  
6060  Pr.
75
10105  xRe
Uniform Heat Flux
16
 สาหรับ Flat plate ที่มี Uniform heat flux ที่ผิว สามารถหาค่า Nux ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
3150
4530 PrRe. .
xxNu 
3180
03080 PrRe. .
xxNu 
6060  Pr.
75
10105  xRe
5
105xRe
Flow Across Cylinder and Spheres
17
 ระบบการถ่ายเทความร้อนที่เกี่ยวข้องกับการไหลภายนอกท่อทรงกระบอก หรือ
ทรงกลม เช่น
 shell-and-tube heat exchanger,
 Pin fin heat sinks for electronic cooling.
 ในการหาค่า Re ของการไหลผ่านนอกทรงกระบอกและทรงกลม จะใช้ รัศมี
ภายนอกของทรงกระบอกและทรงกลม (D) เป็นค่า Characteristic length
 ค่า Critical Reynolds สาหรับการไหลนอกทรงกระบอกหรือทรงกลม มีค่าเท่ากับ
Recr=2x105
Heat Transfer Coefficient
18
 ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกระบอก (Churchill and Bernstein), เมื่อ
Re Pr > 0.2, และคุณสมบัติของของไหลคิดที่ Tflim
 ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกลม (Whitaker), เมื่อ 3.5 ≤ Re ≤ 80,000
และ 0.7 ≤ Pr ≤ 380, คุณสมบัติของของไหลคิดที่ T∞ ยกเว้น viscosity ที่ Ts
 
4 55 81 2 1/3
1 42/3
0.62Re Pr Re
0.3 1
282,0001 0.4 Pr
cyl
hD
Nu
k
  
     
      
 
1 4
1 2 2 3 0.4
2 0.4Re 0.06Re Prsph
s
hD
Nu
k



 
       
 
Heat Transfer Coefficient
19
 ในกรณีที่เป็นการไหลภายนอกท่อที่ไม่ใช่ท่อทรงกระบอก จะมีสมการทั่วไปในการ
หาค่า Nu เฉลี่ย คือ
 โดยที่ n = 1/3
 Table 7-1 แสดงรายละเอียดการใช้สมการด้านบน สาหรับท่อที่มีพื้นที่หน้าตัด
รูปร่างต่างๆ
 โดยที่คุณสมบัติของของไหลหาจากอุณหภูมิ Tflim
nm
xC
k
hx
Nu PrRe
Heat Transfer Coefficient
20
Heat Transfer Coefficient
21
Flow Across Tube Banks
22
 ในอุปกรณ์ที่มีการแลกเปลี่ยนความร้อนในชีวิตประจาวัน เช่น Condenser,
evaporator, H.E. จะมีของไหล 2 ชนิดไหลในกลุ่มท่อ โดยของไหลชนิดหนึ่งจะ
ไหลภายในท่อ และของไหลอีกชนิดหนึ่งจะไหลภายนอกท่อในทิศทางตั้งฉากกับท่อ
ดังแสดงในรูป
 อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายในท่อจะถูกพิจารณาเป็นของไหล
ที่ไหลผ่านท่อเพียงท่อเดียวก่อน จากนั้นจึงนาจานวนท่อทั้งหมดมาคูณ
 สาหรับอัตราการถ่ายเทความร้อนของ
ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ
ลักษณะการจัดเรียงตัวของท่อจะมีผลต่อ
สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน และ
อัตราการถ่ายเทความร้อน ดังนั้น ในการพิจารณาจะต้องพิจารณาทั้งกลุ่มท่อ
ทั้งหมด ไม่สามารถแยกพิจารณาทีละท่อได้
Flow Across Tube Banks
23
 ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อ
 แบบ In-line และแบบ Staggered
 Characteristic length: รัศมีภายนอก
 Three characteristics
 Transverse pitch ST
 Longitudinal pitch SL
 Diagonal pitch SD between
tube center โดยที่
 พื้นที่หน้าตัดของการไหลลดลงจาก
A1 = STL ไปเป็น AT = (ST-D)L
 ทาให้ความเร็วของของไหลเพิ่มขึ้น
In-line arrangement
Staggered arrangement
 22
2TLD SSS 
Flow Across Tube Banks
24
 เนื่องจาก Vmax เป็นตัวกาหนดลักษณะการไหลภายนอกกลุ่มท่อ ดังนั้นในการหาค่า
Re จะใช้ Vmax, จะได้
 Vmax หรือค่าความเร็วสูงสุด สามารถคานวณจาก Conservation of mass
 สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ In-line
 สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ Staggered
in case of SD < (ST+D)/2
in case of SD < (ST+D)/2

 DVDV
D
maxmaxRe 
V
DS
S
V
T
T

max
V
DS
S
V
T
T

max
V
DS
S
V
D
T
)(2
max


Flow Across Tube Banks
25
 สมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของ
ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาได้จาก
 โดยที่ 0.7 < Pr < 500 and 0 < ReD < 2x106
 คุณสมบัติของของไหล หาที่อุณหภูมิเฉลี่ย คือ Tm = (Ti + Te)/2
 
0.25
Re Pr Pr Prm n
D D s
hD
Nu C
k
 
Flow Across Tube Banks
26
 Table 7-2 แสดงการหาค่า Nu สาหรับการไหลภายนอกกลุ่มท่อที่มีจานวนท่อ
มากกว่า 16 ท่อ
Flow Across Tube Banks
27
 ในกรณีที่มีจานวนท่อน้อยกว่า 16 ท่อ สามารถหาค่า Nu ได้จาก
 โดยที่ ค่า F เป็น Correction factor หาได้จาก Table 7-3
, LD N DNu F Nu 
Flow Across Tube Banks
28
 อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาค่าได้
จาก Newton’s Law และสมการ conservation of energy
 ∆Tln คือ logarithmic mean temperature difference
)(ln ieps TTcmThAQ  
    ie
ie
ises
ises
TT
TT
TTTT
TTTT
T






lnln
)()(
ln
  








p
s
isse
cm
hA
TTTT

exp
Procedures for Calculation
29
 พิจารณาว่าเป็นการไหลผ่านพื้นผิวแบบไหน เช่น Flat plate, Sphere หรือ
Cylinder
 พิจารณาหาค่าอุณหภูมิที่เหมาะสม เพื่อนามาหาคุณสมบัติของของไหล ซึ่งส่วน
ใหญ่จะใช้ Film temperature
 หาค่า Re เพื่อพิจารณาว่าการไหลเป็นแบบ Laminar หรือ Turbulent
 พิจารณาเลือกใช้ความสัมพันธ์ในการหารค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนที่
เหมาะสม
 เมื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนได้แล้ว ก็สามารถดาเนินการคานวณ
ขั้นตอนต่อๆ ไปได้ เช่น หาค่าอัตราการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น
Example 1
30
Example 1
31
Example 2
32
Example 2
33
Example 2
34
Example 2
35
Example 3
36
Example 3
37

More Related Content

What's hot

00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introduction
Saranyu Pilai
 
008 internal force convection
008 internal force convection008 internal force convection
008 internal force convection
Saranyu Pilai
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
Arsenal Thailand
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTIONAbdul Moiz Dota
 
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTIONChapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Abdul Moiz Dota
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
Thepsatri Rajabhat University
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
 

What's hot (20)

00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introduction
 
008 internal force convection
008 internal force convection008 internal force convection
008 internal force convection
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
 
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTIONChapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
Heat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lectureHeat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lecture
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
Heat 4e chap08_lecture
Heat 4e chap08_lectureHeat 4e chap08_lecture
Heat 4e chap08_lecture
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
Lec03
Lec03Lec03
Lec03
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 

Similar to 007 external forced convection thai

การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfdการวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
Kittipoom Poomkokruk
 
6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
khwanchaipawasan2
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
Kanyawit Klinbumrung
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
ของไหล 2
ของไหล 2ของไหล 2
ของไหล 2
luanrit
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
Chattichai
 
พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้า
sangkhawong
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
Mu PPu
 

Similar to 007 external forced convection thai (12)

การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfdการวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
 
6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
Wave
WaveWave
Wave
 
ของไหล 2
ของไหล 2ของไหล 2
ของไหล 2
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
 
พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้า
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 

007 external forced convection thai

  • 1. Ch 7 External Forced Convection 1 King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Faculty of Engineering Department of Mechanical and Aerospace Engineering
  • 2. Objectives 2  เพื่อให้สามารถบอกความแตกต่างระหว่างการไหลแบบ Internal flow และ External flow ได้  เพื่อให้เข้าใจถึงแรงต้านเนื่องจากความเสียดทาน (Friction drag) และแรงต้าน เนื่องจากความดัน (Pressure drag) ได้ รวมทั้งสามารถหาค่าแรงต้านเฉลี่ยและ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนเฉลี่ยสาหรับการไหลแบบ External flow ได้  เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหล ตลอดความยาวของ Flat plate ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar และ Turbulent ได้  เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ ไหลผ่านท่อทรงกระบอกและรูปร่างทรงกลม ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar และ Turbulent ได้
  • 3. Contents 3  Drag and heat transfer in external flow  Parallel flow over flat plates  Flow across cylinders and spheres  Flow across tube banks
  • 4. Introduction 4  ในบทที่แล้ว เรื่องพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อน เราสามารถหาความสัมพันธ์ ของเทอมที่ไม่มีหน่วยต่างๆ ได้ ได้แก่ Nu, Re และ Pr ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวจะ ถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของการไหล ภายนอกได้ ทั้งการไหลบน Flat plate การไหลผ่านท่อทรงกระบอก หรือ การ ไหลผ่านวัตถุทรงกลม Pr),(ReLL fNu Pr),Re*,( LL xfNu 
  • 5. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 5  เมื่อมีของของไหลผ่านวัตถุ จะมีปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น เช่น  แรงต้านการเคลื่อนที่ (Drag force) เช่น การต้านการเคลื่อนที่ของรถยนต์s  แรงต้านการลอยตัว (Lift force) เช่น แรงต้านการลอยตัวของเครื่องบิน  การทาให้โลหะหรือของแข็งเย็นตัวลง  คำนิยำม: Free-stream velocity คือ ความเร็วของของไหลที่ระยะใดๆ ที่ไกล จากวัตถุ  ความเร็วของของไหลที่ไหลบนพื้นผิวใดๆ จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 (ที่พื้นผิว) ถึง Free- stream value ที่บริเวณที่อยู่เหนือพื้นผิวมากๆ  Free-stream velocity จะมีค่าเท่ากับความเร็วของของไหล
  • 6. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 6  แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ (Drag force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ Wall shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางการเคลื่อนที่  แรงต้ำนกำรลอยตัว (Lift force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ Wall shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่  Drag Force (FD) ขึ้นอยู่กับ density, upstream velocity, geometry  สัมประสิทธิ์ความต้านทาน (Drag Coefficient, CD) AV F C D D 2 2 1  
  • 7. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 7  ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อมีของไหลไหลผ่านวัตถุ ซึ่งมีผลต่อแรงต้านทางการ เคลื่อนที่ จะมีผลต่อการถ่ายเทความร้อนด้วย  ค่า Nu ที่ระยะ x ใดๆ (Nux) และค่า Nu เฉลี่ย สามารถหาได้จากสมการทั่วไป คือ  คุณสมบัติของของไหลที่นามาใช้ในสมการด้านบน จะต้องเป็นคุณสมบัติที่ Film temperature (Tf) โดยที่ Pr),Re,( * xx xfNu 1 Pr),(ReLfNu 2 )PrRe nm LCNu  2   TT T s f
  • 8. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 8  ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทาน (CDx) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน (hx) จะ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดความยาวของพื้นผิว ทั้งนี้เนื่องจากผลของ Velocity boundary layer ที่เกิดขึ้นในทิศทางการไหล  ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ย (CD) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน เฉลี่ย (h) ตลอดความยาวของพื้นผิวสามารถหาได้จาก  อัตราการถ่ายเทความร้อนเข้าหรือออกจากพื้นผิวสามารถหาได้จาก Newton’s law of cooling , 0 1 L D D xC C dx L   0 1 L xh h dx L   )(  TThAQ ss 
  • 9. Parallel Flow Over Flat Plates 9  พิจารณาของไหลที่ไหลผ่านบน Flat plate ที่มีความยาว L  ค่า Re ที่ระยะ x จากขอบสามารถหาได้จาก  Critical Reynolds number คือ  ในทางปฏิบัติ ค่า Critical Re จะอยู่ใน ช่วงระหว่าง 105 to 3X106 Rex Vx Vx    5 Re 5 10cr cr Vx   
  • 10. Friction Coefficient 10  จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าความหนาของ Boundary layer และค่า สัมประสิทธิ์ความต้านทานที่ระยะ x ใดๆ บน Flat plate ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow x x x Re .914  x xfC Re . , 6640  51 380 x x x Re .  51 0590 x xfC Re . ,  5 105xRe 75 10105  xRe
  • 11. Friction Coefficient 11  จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ยตลอดความยาว ของ Flat plate ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow , 0 1 L D D xC C dx L   5 105xRe x fC Re .331  51 0740 x fC Re .  75 10105  xRe
  • 12. Heat Transfer Coefficient 12  จากบทที่ 6 สามารถหา Nu ที่ระยะ x ใดๆ ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow 3150 3320 PrRe. . x x x k xh Nu  60.Pr  3180 02960 PrRe. . x x x k xh Nu  6060  Pr. 75 10105  xRe
  • 13. Heat Transfer Coefficient 13  จากสมการการหา Nux จะนาทาให้สามารถหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน ที่ระยะ x ใดๆ (hx) ได้ ซึ่ง hx จะเป็นฟังก์ชันของ หรือ x-0.5 สาหรับการไหล แบบ Laminar  ดังนั้น ที่ขอบของ Flat plate (x=0), hx จะมีค่าเป็น ∞ และเมื่อระยะ x มากขึ้น ค่า hx จะลดลง ดังแสดงในรูปด้านขวามือ  ค่า hx จะเพิ่มขึ้นในช่วง Transition  เมื่อการไหลเปลี่ยนเป็น Turbulent ค่า hx จะลดลงเมื่อระยะ x เพิ่มขึ้น ด้วย factor x-0.2 50. Rex
  • 14. Heat Transfer Coefficient 14  การหาค่า Nu และค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน จะแบ่ง Condition ที่ พื้นผิวออกเป็น 2 แบบ คือ  พื้นผิวที่มีอุณหภูมิที่ผิวคงที่ Ts = constant  พื้นผิวที่มี Uniform heat flux
  • 15. Heat Transfer Coefficient (Ts = const.) 15  ค่า Nu เฉลี่ยตลอดความยาวของ Flat plate สามารถหาได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow  ในกรณีที่ Flat plate ไม่ได้มีความยาวมากพอ ในกรณีนี้จะมีทั้งการไหลแบบ Laminar และ Turbulent โดยสามารถหาค่า Nu ได้จาก 3150 6640 PrRe. . x k hx Nu  3180 0370 PrRe. . x k hx Nu  6060  Pr. 75 10105  xRe 5 105xRe  0.8 1 3 0.037Re 871 PrLNu   6060  Pr. 75 10105  xRe
  • 16. Uniform Heat Flux 16  สาหรับ Flat plate ที่มี Uniform heat flux ที่ผิว สามารถหาค่า Nux ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow 3150 4530 PrRe. . xxNu  3180 03080 PrRe. . xxNu  6060  Pr. 75 10105  xRe 5 105xRe
  • 17. Flow Across Cylinder and Spheres 17  ระบบการถ่ายเทความร้อนที่เกี่ยวข้องกับการไหลภายนอกท่อทรงกระบอก หรือ ทรงกลม เช่น  shell-and-tube heat exchanger,  Pin fin heat sinks for electronic cooling.  ในการหาค่า Re ของการไหลผ่านนอกทรงกระบอกและทรงกลม จะใช้ รัศมี ภายนอกของทรงกระบอกและทรงกลม (D) เป็นค่า Characteristic length  ค่า Critical Reynolds สาหรับการไหลนอกทรงกระบอกหรือทรงกลม มีค่าเท่ากับ Recr=2x105
  • 18. Heat Transfer Coefficient 18  ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกระบอก (Churchill and Bernstein), เมื่อ Re Pr > 0.2, และคุณสมบัติของของไหลคิดที่ Tflim  ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกลม (Whitaker), เมื่อ 3.5 ≤ Re ≤ 80,000 และ 0.7 ≤ Pr ≤ 380, คุณสมบัติของของไหลคิดที่ T∞ ยกเว้น viscosity ที่ Ts   4 55 81 2 1/3 1 42/3 0.62Re Pr Re 0.3 1 282,0001 0.4 Pr cyl hD Nu k                   1 4 1 2 2 3 0.4 2 0.4Re 0.06Re Prsph s hD Nu k               
  • 19. Heat Transfer Coefficient 19  ในกรณีที่เป็นการไหลภายนอกท่อที่ไม่ใช่ท่อทรงกระบอก จะมีสมการทั่วไปในการ หาค่า Nu เฉลี่ย คือ  โดยที่ n = 1/3  Table 7-1 แสดงรายละเอียดการใช้สมการด้านบน สาหรับท่อที่มีพื้นที่หน้าตัด รูปร่างต่างๆ  โดยที่คุณสมบัติของของไหลหาจากอุณหภูมิ Tflim nm xC k hx Nu PrRe
  • 22. Flow Across Tube Banks 22  ในอุปกรณ์ที่มีการแลกเปลี่ยนความร้อนในชีวิตประจาวัน เช่น Condenser, evaporator, H.E. จะมีของไหล 2 ชนิดไหลในกลุ่มท่อ โดยของไหลชนิดหนึ่งจะ ไหลภายในท่อ และของไหลอีกชนิดหนึ่งจะไหลภายนอกท่อในทิศทางตั้งฉากกับท่อ ดังแสดงในรูป  อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายในท่อจะถูกพิจารณาเป็นของไหล ที่ไหลผ่านท่อเพียงท่อเดียวก่อน จากนั้นจึงนาจานวนท่อทั้งหมดมาคูณ  สาหรับอัตราการถ่ายเทความร้อนของ ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ ลักษณะการจัดเรียงตัวของท่อจะมีผลต่อ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน และ อัตราการถ่ายเทความร้อน ดังนั้น ในการพิจารณาจะต้องพิจารณาทั้งกลุ่มท่อ ทั้งหมด ไม่สามารถแยกพิจารณาทีละท่อได้
  • 23. Flow Across Tube Banks 23  ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อ  แบบ In-line และแบบ Staggered  Characteristic length: รัศมีภายนอก  Three characteristics  Transverse pitch ST  Longitudinal pitch SL  Diagonal pitch SD between tube center โดยที่  พื้นที่หน้าตัดของการไหลลดลงจาก A1 = STL ไปเป็น AT = (ST-D)L  ทาให้ความเร็วของของไหลเพิ่มขึ้น In-line arrangement Staggered arrangement  22 2TLD SSS 
  • 24. Flow Across Tube Banks 24  เนื่องจาก Vmax เป็นตัวกาหนดลักษณะการไหลภายนอกกลุ่มท่อ ดังนั้นในการหาค่า Re จะใช้ Vmax, จะได้  Vmax หรือค่าความเร็วสูงสุด สามารถคานวณจาก Conservation of mass  สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ In-line  สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ Staggered in case of SD < (ST+D)/2 in case of SD < (ST+D)/2   DVDV D maxmaxRe  V DS S V T T  max V DS S V T T  max V DS S V D T )(2 max  
  • 25. Flow Across Tube Banks 25  สมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของ ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาได้จาก  โดยที่ 0.7 < Pr < 500 and 0 < ReD < 2x106  คุณสมบัติของของไหล หาที่อุณหภูมิเฉลี่ย คือ Tm = (Ti + Te)/2   0.25 Re Pr Pr Prm n D D s hD Nu C k  
  • 26. Flow Across Tube Banks 26  Table 7-2 แสดงการหาค่า Nu สาหรับการไหลภายนอกกลุ่มท่อที่มีจานวนท่อ มากกว่า 16 ท่อ
  • 27. Flow Across Tube Banks 27  ในกรณีที่มีจานวนท่อน้อยกว่า 16 ท่อ สามารถหาค่า Nu ได้จาก  โดยที่ ค่า F เป็น Correction factor หาได้จาก Table 7-3 , LD N DNu F Nu 
  • 28. Flow Across Tube Banks 28  อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาค่าได้ จาก Newton’s Law และสมการ conservation of energy  ∆Tln คือ logarithmic mean temperature difference )(ln ieps TTcmThAQ       ie ie ises ises TT TT TTTT TTTT T       lnln )()( ln            p s isse cm hA TTTT  exp
  • 29. Procedures for Calculation 29  พิจารณาว่าเป็นการไหลผ่านพื้นผิวแบบไหน เช่น Flat plate, Sphere หรือ Cylinder  พิจารณาหาค่าอุณหภูมิที่เหมาะสม เพื่อนามาหาคุณสมบัติของของไหล ซึ่งส่วน ใหญ่จะใช้ Film temperature  หาค่า Re เพื่อพิจารณาว่าการไหลเป็นแบบ Laminar หรือ Turbulent  พิจารณาเลือกใช้ความสัมพันธ์ในการหารค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนที่ เหมาะสม  เมื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนได้แล้ว ก็สามารถดาเนินการคานวณ ขั้นตอนต่อๆ ไปได้ เช่น หาค่าอัตราการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น