SlideShare a Scribd company logo
Ch 6 Fundamental of
Convection
1
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Faculty of Engineering
Department of Mechanical and Aerospace Engineering
Objectives
2
 เพื่อให้เข้าใจถึงกลไกของการถ่ายเทความร้อน โดยวิธีการพาความร้อน และการ
แบ่งชนิดของการพาความร้อน
 เพื่อให้เข้าใจการเกิด Velocity และ Thermal boundary layer ที่บริเวณพื้นผิว
 เพื่อให้เข้าใจเทอม Dimensionless ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหลบนพื้นผิว ได้แก่
Re, Pr และ Nu
 เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ลักษณะการไหลแบบ Laminar และ Turbulent ได้
Contents
3
 Physical Mechanism of Convection
 Classification of Fluid Flow
 Velocity Boundary Layer
 Thermal Boundary Layer
 Laminar and Turbulent Flows
 Dimensionless Terms
 Convection Equations
Physical Mechanism of Convection
4
 ที่ผ่านมาเราได้ศึกษาถึงกลไกการถ่ายเทความร้อนแบบ Conduction ในบทเรียนนี้
เราจะศึกษาพื้นฐานของกลไกการถ่ายเทความร้อนแบบ Convection
 การถ่ายเทความร้อนแบบ Conduction และ Convection มีกลไกที่เหมือนกัย
คือ ต้องการตัวกลางในการถ่ายเทความร้อน แต่สิ่งที่แตกต่างกัน คือ การถ่ายเท
ความร้อนแบบการพาความร้อน หรือ Convection ต้องการตัวกลางที่เคลื่อนที่
หรือมีการไหล ที่เรียกว่า Fluid motion
 โดยทั่วไป ของไหลที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงกว่า ก็จะมีอัตราการถ่ายเทความร้อน
ได้ดีกว่า
Physical Mechanism of Convection
5
 อัตราการถ่ายเทความร้อนแบบ Convection จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ
ของของไหล ได้แก่
 ความหนืด (Viscosity, µ)
 ความสามารถในการนาความร้อน (Thermal conductivity, k)
 ความหนาแน่นของของไหล (Density, )
 ความจุความร้อนจาเพาะ (Specific heat, cp)
 ความเร็วของของไหล (Fluid velocity, v)
 รูปร่างและความขรุขระของพื้นผิว
 ลักษณะการไหลของของไหล
 จะเห็นได้ว่า การถ่ายเทความร้อนแบบ Convection จะเป็นกลไกที่ซับซ้อนที่สุด
Physical Mechanism of Convection
6
 จากกฎ Newton’s law of cooling
 คำนิยำม: h เป็นอัตราการถ่ายเทความร้อนระหว่างพื้นผิวกับของไหลต่อหนึ่งหน่วย
พื้นที่ ต่อหนึ่งหน่วยผลต่างของอุณหภูมิ เรียกว่า ค่ำสัมประสิทธิ์กำรถ่ำยเทควำม
ร้อน
 โดยทั่วไป ค่า h เป็นค่าเฉพาะของลักษณะการไหล โดยจะหาได้จาก
 Velocity Boundary Layer
 Thermal Boundary Layer
  2
(W/m )conv sq h T T 
)(  TThAQ ssConv

Convection Heat Transfer Coeff.
7
 พิจารณาการไหลบน Flat plate
 ที่ระยะ y=0, อัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนผ่านพื้นผิว
(Conduction) จะมีค่าเท่ากับอัตราการถ่ายเทความร้อนจากพื้นผิวไปยังของไหล
(Convection)
Classification of Fluid Flows
8
 การแบ่งลักษณะของการไหล จะสามารถแบ่งออกเป็นลักษณต่างๆ ดังนี้
 การไหลแบบ Viscous และ Inviscid
 การไหลภายใน (Internal flow) และการไหลภายนอก (External flow)
 การไหลแบบ Compressible และ Incompressible
 การไหลแบบ Laminar และ Turbulent
 การไหลแบบ Natural และ Forced Flow
 การไหลแบบ Steady State และ Unsteady State
 การไหลแบบ 1-, 2-, 3-ทิศทาง
Velocity B.L.
9
 พิจารณาการไหลบน Flat plate
 คำนิยำม: Boundary layer thickness iคือ ระยะทางตามแกน y จากพื้นผิว ที่
ทาให้ของไหลที่ผ่านบนพื้นผิวมีค่าความเร็ว u = 0.99u∞
สาหรับ
Newtonian fluids: 0



y
S
y
u
2/2



u
C S
fและ Cf คือ สัมประสิทธิ์
ความเสียดทาน
o บริเวณพื้นผิวที่ของไหลมีการสัมผัสกับ
พื้นผิว ความเร็วของของไหลมีค่าเท่ากับศูนย์
o ชั้นของของไหลจะเคลื่อนที่ด้วยความหน่วง
เนื่องจากความหนืดของของไหล ความให้
ความเร็วของของไหลบนพื้นผิวมีค่าน้อยกว่า
u∞ จนกระทั่งถึงระยะ y =  ความหนืดจะ
ไม่มีผลต่าการไหลของของไหล
Thermal B.L.
10
 Thermal boundary layer จะเกิดขึ้น เมื่ออุณหภูมิของของไหลมีค่าไม่เท่ากับ
อุณหภูมิของพื้นผิว
 คำนิยำม: Thermal boundary thickness คือ ระยะทางตามแกน y ที่ทาให้
อัตราการส่วของอุณหภูมิมีค่า
เมื่อของไหลที่มีอุณหภูมิ T∞ ไหลมาสัมผ้สกับ
พื้นผิว จะทาให้ของไหลมีอุณหภูมิเท่ากับ
อุณหภูมิที่ผิว T = Ts หลังจากนั้นของไหลที่
ไหลบนพื้นผิวจะมีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับ
ชั้นของของไหลที่อยู่ใกล้เคียง ทาให้อุณหภูมิ
ของของไหลมีค่าเพิ่มขึ้นตามระยะในแกน y
จนกระทั่งที่ความสูง y = t อุณหภูมิของของ
ไหลบทพื้นผิวจะมีค่าเท่ากับ T∞
99.0


TT
TT
S
S
Laminar and Turbulent
11
 การไหลใน Boundary layer บน Flat plate สามารถเป็นทั้งการไหลแบบ
Laminar หรือ Turbulent ขึ้นอยู่กับความเร็วของของไหล โดยจะใช้ค่า
Reynolds number เป็นตัวกาหนด
Laminar and Turbulent
12
 ค่า Reynolds number (Re) สามารถหาได้จากสมการ
 ที่ Transition criterion
 สาหรับการไหลบน Flat plate ถ้าค่า Re < 5x105 การไหลจะเป็นแบบ Laminar
 คือ ของไหลจะมีการไหลแบบราบเรียบและเป็นระเบียบ
 สาหรับการไหลบน Flat plate ถ้าค่า Re > 5x105 การไหลจะเป็น Turbulent
 คือ ของไหลจะไหลอย่างปั่นป่วน ไม่เป็นระเบียบ ความเร็วของของไหลจะไม่คงที่
5
105 

 c
crx
xu
,Re

vL
Re
Nusselt No.
13
 ค่า Nusselt number (Nu) เป็นเทอมที่ไม่มีหน่วย
 นามาใช้ในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน h
 คำนิยำม: Nu เป็นอัตราการส่วนของอัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นของของ
ไหลโดย Convection ต่อของอัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นของของไหลโดย
Conduction
Dimensionless Terms: Prandtl Number
14
 ค่า Pr เป็นอัตราส่วนระหว่าง Momentum กับ Thermal diffusivity
 ความร้อนจะถูกถ่ายเทได้ดีใน Liquid metals เนื่องจากมีค่า Pr <<1 และถ่ายเท
ได้ช้าในน้ามัน เนื่องจากมีค่า Pr >>1
Molecular diffusivity of momentum
Pr
Molecular diffusivity of heat
pc
k


  
Prandtl No.
15
 ค่า Prandtl number เป็นเทอมที่ไม่มีหน่วย
 ใช้ในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน h
Dimensionless Terms: Reynolds Number
16
 Reynolds number (Re) เป็นเทอมที่ไม่มีหน่วย
 คำนิยำม: Re คือ อัตราส่วนของ Inertia force ต่อ Viscous force
 ถ้า Re มีค่ามาก การไหลจะเป็นแบบ Turbulent ซึ่ง Inertia forces จะมีค่ามาก
เมื่อเทียบกับ Viscous forces.
 ถ้า Re มีค่าน้อย การไหลจะเป็นแบบ Laminar โดยที่ Viscous forces จะมีค่า
มากเพียงพอที่จะทาให้การไหลมีความเป็นระเบียบ ไม่ปั่นป่วน
 Critical Reynolds number คือ ค่า Re ที่ทาให้ของไหลเปลี่นสภาพการไหล
จาก Laminar ไปเป็น Turbulent.
Inertia forces
Re
Viscous forces
c cVL VL
 
  
Differential Equations
17
 ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน h จะสามารถหาได้จาก
ความสัมพันธ์ของสมการ Differential equations ต่างๆ ดังต่อไปนี้
 Continuity equation
 Momentum balance
 Energy balance
 โดยจะต้องมีการกาหนด Boundary conditions เพื่อแก้สมการ Differential
equation
Differential Equations: Continuity
18
 สาหรับการไหลแบบ Steady และของไหลแบบ Incompressible
 อัตราการไหลเชิงมวลที่เข้าระบบจะต้องมีค่าเท่ากับอัตราการไหลเชิงมวลที่ออก
จากระบบ
 สามารถเขียน Continuity equation ได้
ดังนี้
0





y
v
x
u
 สาหรับการไหลแบบ Steady และของไหลแบบ Incompressible
 โมเมนตัมของของไหลที่เข้าระบบจะต้องมีค่าเท่ากับโมเมนตัมของของไหลที่ออก
จากระบบ
 สามารถเขียน Momentum equation ได้
ดังนี้
Differential Equations: Momentum
19
Differential Equations: Energy
20
 สาหรับการไหลแบบ Steady และของไหลแบบ Incompressible
 สามารถเขียน Energy equation ได้ดังนี้
 ในกรณีที่ ของไหลอยู่นิ่ง
 u and v = 0 จะได้
Differential Equations
21
 สาหรับการไหลแบบ Steady เป็น Laminar และของไหลแบบ Incompressible
 Continuity equation
 Momentum equation
 Energy equation
2
2
y
u
y
u
v
x
u
u









2
2
y
T
y
T
v
x
T
u









0





y
v
x
u
Boundary Conditions and Solutions
22
x
x
xV Re
.. 914914


 21
2
6640
2

 x
w
xf
V
C Re.,


x
t
x
RePr
.
Pr 3131
914


 2131
3320 x
x
x
k
xh
Nu RePr.
Functional Forms of Convection Coeff.
23
 จากการแก้สมการทางคณิตศาตร์โดยวิธีเชิงตัวเลข จะทาให้สามารถหาค่า Nu
สาหรับการไหลผ่านพื้นผิวรูปร่างใดๆ มีค่า ดังแสดงด้านล่าง
Local Nusselt No. Nux = f(x*, ReL, Pr)
Average Nusselt No. Nu = f(ReL, Pr)
 สมการทั่วไปสาหรับใช้ในการหาค่า Nu คือ
nm
LC
k
hL
Nu PrRe

More Related Content

What's hot

ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
Arsenal Thailand
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
Thepsatri Rajabhat University
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2Khwan Jomkhwan
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
Dr.Woravith Chansuvarn
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวtewin2553
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
Chanthawan Suwanhitathorn
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
Wijitta DevilTeacher
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าadriamycin
 

What's hot (20)

ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 

006 fundamental of convection thai

  • 1. Ch 6 Fundamental of Convection 1 King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Faculty of Engineering Department of Mechanical and Aerospace Engineering
  • 2. Objectives 2  เพื่อให้เข้าใจถึงกลไกของการถ่ายเทความร้อน โดยวิธีการพาความร้อน และการ แบ่งชนิดของการพาความร้อน  เพื่อให้เข้าใจการเกิด Velocity และ Thermal boundary layer ที่บริเวณพื้นผิว  เพื่อให้เข้าใจเทอม Dimensionless ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหลบนพื้นผิว ได้แก่ Re, Pr และ Nu  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ลักษณะการไหลแบบ Laminar และ Turbulent ได้
  • 3. Contents 3  Physical Mechanism of Convection  Classification of Fluid Flow  Velocity Boundary Layer  Thermal Boundary Layer  Laminar and Turbulent Flows  Dimensionless Terms  Convection Equations
  • 4. Physical Mechanism of Convection 4  ที่ผ่านมาเราได้ศึกษาถึงกลไกการถ่ายเทความร้อนแบบ Conduction ในบทเรียนนี้ เราจะศึกษาพื้นฐานของกลไกการถ่ายเทความร้อนแบบ Convection  การถ่ายเทความร้อนแบบ Conduction และ Convection มีกลไกที่เหมือนกัย คือ ต้องการตัวกลางในการถ่ายเทความร้อน แต่สิ่งที่แตกต่างกัน คือ การถ่ายเท ความร้อนแบบการพาความร้อน หรือ Convection ต้องการตัวกลางที่เคลื่อนที่ หรือมีการไหล ที่เรียกว่า Fluid motion  โดยทั่วไป ของไหลที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงกว่า ก็จะมีอัตราการถ่ายเทความร้อน ได้ดีกว่า
  • 5. Physical Mechanism of Convection 5  อัตราการถ่ายเทความร้อนแบบ Convection จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ของของไหล ได้แก่  ความหนืด (Viscosity, µ)  ความสามารถในการนาความร้อน (Thermal conductivity, k)  ความหนาแน่นของของไหล (Density, )  ความจุความร้อนจาเพาะ (Specific heat, cp)  ความเร็วของของไหล (Fluid velocity, v)  รูปร่างและความขรุขระของพื้นผิว  ลักษณะการไหลของของไหล  จะเห็นได้ว่า การถ่ายเทความร้อนแบบ Convection จะเป็นกลไกที่ซับซ้อนที่สุด
  • 6. Physical Mechanism of Convection 6  จากกฎ Newton’s law of cooling  คำนิยำม: h เป็นอัตราการถ่ายเทความร้อนระหว่างพื้นผิวกับของไหลต่อหนึ่งหน่วย พื้นที่ ต่อหนึ่งหน่วยผลต่างของอุณหภูมิ เรียกว่า ค่ำสัมประสิทธิ์กำรถ่ำยเทควำม ร้อน  โดยทั่วไป ค่า h เป็นค่าเฉพาะของลักษณะการไหล โดยจะหาได้จาก  Velocity Boundary Layer  Thermal Boundary Layer   2 (W/m )conv sq h T T  )(  TThAQ ssConv 
  • 7. Convection Heat Transfer Coeff. 7  พิจารณาการไหลบน Flat plate  ที่ระยะ y=0, อัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนผ่านพื้นผิว (Conduction) จะมีค่าเท่ากับอัตราการถ่ายเทความร้อนจากพื้นผิวไปยังของไหล (Convection)
  • 8. Classification of Fluid Flows 8  การแบ่งลักษณะของการไหล จะสามารถแบ่งออกเป็นลักษณต่างๆ ดังนี้  การไหลแบบ Viscous และ Inviscid  การไหลภายใน (Internal flow) และการไหลภายนอก (External flow)  การไหลแบบ Compressible และ Incompressible  การไหลแบบ Laminar และ Turbulent  การไหลแบบ Natural และ Forced Flow  การไหลแบบ Steady State และ Unsteady State  การไหลแบบ 1-, 2-, 3-ทิศทาง
  • 9. Velocity B.L. 9  พิจารณาการไหลบน Flat plate  คำนิยำม: Boundary layer thickness iคือ ระยะทางตามแกน y จากพื้นผิว ที่ ทาให้ของไหลที่ผ่านบนพื้นผิวมีค่าความเร็ว u = 0.99u∞ สาหรับ Newtonian fluids: 0    y S y u 2/2    u C S fและ Cf คือ สัมประสิทธิ์ ความเสียดทาน o บริเวณพื้นผิวที่ของไหลมีการสัมผัสกับ พื้นผิว ความเร็วของของไหลมีค่าเท่ากับศูนย์ o ชั้นของของไหลจะเคลื่อนที่ด้วยความหน่วง เนื่องจากความหนืดของของไหล ความให้ ความเร็วของของไหลบนพื้นผิวมีค่าน้อยกว่า u∞ จนกระทั่งถึงระยะ y =  ความหนืดจะ ไม่มีผลต่าการไหลของของไหล
  • 10. Thermal B.L. 10  Thermal boundary layer จะเกิดขึ้น เมื่ออุณหภูมิของของไหลมีค่าไม่เท่ากับ อุณหภูมิของพื้นผิว  คำนิยำม: Thermal boundary thickness คือ ระยะทางตามแกน y ที่ทาให้ อัตราการส่วของอุณหภูมิมีค่า เมื่อของไหลที่มีอุณหภูมิ T∞ ไหลมาสัมผ้สกับ พื้นผิว จะทาให้ของไหลมีอุณหภูมิเท่ากับ อุณหภูมิที่ผิว T = Ts หลังจากนั้นของไหลที่ ไหลบนพื้นผิวจะมีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับ ชั้นของของไหลที่อยู่ใกล้เคียง ทาให้อุณหภูมิ ของของไหลมีค่าเพิ่มขึ้นตามระยะในแกน y จนกระทั่งที่ความสูง y = t อุณหภูมิของของ ไหลบทพื้นผิวจะมีค่าเท่ากับ T∞ 99.0   TT TT S S
  • 11. Laminar and Turbulent 11  การไหลใน Boundary layer บน Flat plate สามารถเป็นทั้งการไหลแบบ Laminar หรือ Turbulent ขึ้นอยู่กับความเร็วของของไหล โดยจะใช้ค่า Reynolds number เป็นตัวกาหนด
  • 12. Laminar and Turbulent 12  ค่า Reynolds number (Re) สามารถหาได้จากสมการ  ที่ Transition criterion  สาหรับการไหลบน Flat plate ถ้าค่า Re < 5x105 การไหลจะเป็นแบบ Laminar  คือ ของไหลจะมีการไหลแบบราบเรียบและเป็นระเบียบ  สาหรับการไหลบน Flat plate ถ้าค่า Re > 5x105 การไหลจะเป็น Turbulent  คือ ของไหลจะไหลอย่างปั่นป่วน ไม่เป็นระเบียบ ความเร็วของของไหลจะไม่คงที่ 5 105    c crx xu ,Re  vL Re
  • 13. Nusselt No. 13  ค่า Nusselt number (Nu) เป็นเทอมที่ไม่มีหน่วย  นามาใช้ในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน h  คำนิยำม: Nu เป็นอัตราการส่วนของอัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นของของ ไหลโดย Convection ต่อของอัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นของของไหลโดย Conduction
  • 14. Dimensionless Terms: Prandtl Number 14  ค่า Pr เป็นอัตราส่วนระหว่าง Momentum กับ Thermal diffusivity  ความร้อนจะถูกถ่ายเทได้ดีใน Liquid metals เนื่องจากมีค่า Pr <<1 และถ่ายเท ได้ช้าในน้ามัน เนื่องจากมีค่า Pr >>1 Molecular diffusivity of momentum Pr Molecular diffusivity of heat pc k     
  • 15. Prandtl No. 15  ค่า Prandtl number เป็นเทอมที่ไม่มีหน่วย  ใช้ในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน h
  • 16. Dimensionless Terms: Reynolds Number 16  Reynolds number (Re) เป็นเทอมที่ไม่มีหน่วย  คำนิยำม: Re คือ อัตราส่วนของ Inertia force ต่อ Viscous force  ถ้า Re มีค่ามาก การไหลจะเป็นแบบ Turbulent ซึ่ง Inertia forces จะมีค่ามาก เมื่อเทียบกับ Viscous forces.  ถ้า Re มีค่าน้อย การไหลจะเป็นแบบ Laminar โดยที่ Viscous forces จะมีค่า มากเพียงพอที่จะทาให้การไหลมีความเป็นระเบียบ ไม่ปั่นป่วน  Critical Reynolds number คือ ค่า Re ที่ทาให้ของไหลเปลี่นสภาพการไหล จาก Laminar ไปเป็น Turbulent. Inertia forces Re Viscous forces c cVL VL     
  • 17. Differential Equations 17  ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน h จะสามารถหาได้จาก ความสัมพันธ์ของสมการ Differential equations ต่างๆ ดังต่อไปนี้  Continuity equation  Momentum balance  Energy balance  โดยจะต้องมีการกาหนด Boundary conditions เพื่อแก้สมการ Differential equation
  • 18. Differential Equations: Continuity 18  สาหรับการไหลแบบ Steady และของไหลแบบ Incompressible  อัตราการไหลเชิงมวลที่เข้าระบบจะต้องมีค่าเท่ากับอัตราการไหลเชิงมวลที่ออก จากระบบ  สามารถเขียน Continuity equation ได้ ดังนี้ 0      y v x u
  • 19.  สาหรับการไหลแบบ Steady และของไหลแบบ Incompressible  โมเมนตัมของของไหลที่เข้าระบบจะต้องมีค่าเท่ากับโมเมนตัมของของไหลที่ออก จากระบบ  สามารถเขียน Momentum equation ได้ ดังนี้ Differential Equations: Momentum 19
  • 20. Differential Equations: Energy 20  สาหรับการไหลแบบ Steady และของไหลแบบ Incompressible  สามารถเขียน Energy equation ได้ดังนี้  ในกรณีที่ ของไหลอยู่นิ่ง  u and v = 0 จะได้
  • 21. Differential Equations 21  สาหรับการไหลแบบ Steady เป็น Laminar และของไหลแบบ Incompressible  Continuity equation  Momentum equation  Energy equation 2 2 y u y u v x u u          2 2 y T y T v x T u          0      y v x u
  • 22. Boundary Conditions and Solutions 22 x x xV Re .. 914914    21 2 6640 2   x w xf V C Re.,   x t x RePr . Pr 3131 914    2131 3320 x x x k xh Nu RePr.
  • 23. Functional Forms of Convection Coeff. 23  จากการแก้สมการทางคณิตศาตร์โดยวิธีเชิงตัวเลข จะทาให้สามารถหาค่า Nu สาหรับการไหลผ่านพื้นผิวรูปร่างใดๆ มีค่า ดังแสดงด้านล่าง Local Nusselt No. Nux = f(x*, ReL, Pr) Average Nusselt No. Nu = f(ReL, Pr)  สมการทั่วไปสาหรับใช้ในการหาค่า Nu คือ nm LC k hL Nu PrRe