SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ภาษาเพื่อสอน
การสอนภาษาไทยสาหรับผู้เรียน
ชาวต่างประเทศนั้น ผู้สอนและผู้เรียนต้อง
เปลี่ยนความเคยชินทางภาษาทั้งการ
ประกอบคา และรูปประโยค
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ภาษาเพื่อสอน (ต่อ)
ดังนั้นผู้สอนและผู้เรียนควรเรียนรู้ซึ่ง
กันและกัน และผู้สอนควรดึง
ความเป็ นสากลของภาษา หรือ ความ
เหมือนกันของภาษามาใช ้ให้เกิดประโยชน์
ในการสอน ซึ่งทางเทคนิค
ของการจัดทาบทเรียนและหาจุดเน้นใน
การสอนมีวิธีการที่เรียกว่า การวิเคราะห์
ความแตกต่างระหว่างภาษาของผู้เรียนกับ
ภาษาเป้ าหมาย ซึ่งวิธีการนี้มีความสาคัญ
และจาเป็ นสาหรับการเรียนการสอน
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ภาษาเพื่อสอน (ต่อ)หลักการของการเรียนการสอน
ภาษาต่างประเทศ ควร
เริ่มต้นการวางแผนด้วยการวิเคราะห์
ภาษาทั้งสองก่อน และเริ่มสอนโดยการ
แนะนาหรือบอกกล่าวขั้นต้นในด้าน
ความแตกต่างและความคล้ายคลึง
ระหว่างภาษาทั้งสองของนักศึกษา ซึ่ง
ขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสาคัญมากใน
กระบวนการสอน
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ภาษาเพื่อสอน (ต่อ)ในการสอนภาษาไทยให้นักศึกษา
ชาวต่างชาติ ในช่วงแรกของการเรียน
ควรแจกผังภูมิเสียงภาษาไทย (Table of
Thai consonants and vowels ) แล้ว
ออกเสียงเป็ นตัวอย่างให้นักศึกษา ชี้ให้เห็น
ตัวอย่างในคาภาษาอังกฤษที่มีความ
แตกต่างกับภาษาไทย เช่น เสียง ง / ng /
ของไทยมีทั้งตาแหน่งต้นคาและท้ายคา แต่
ในภาษาอังกฤษมีเฉพาะตาแหน่งท้ายเมื่อ
แนะนาอย่างนี้ นักศึกษาจะเปรียบเทียบ
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาเพื่อสอน
(ต่อ)
โครงสร้างของภาษา
ประโยคบางประโยคที่ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เหมือนกันจนผู้เรียนคาดไม่ถึง อาจก่อให้เกิดความ
ผิดพลาดเช่นเดียวกับความต่าง การฝึกจะช่วยแก้นิสัย
เดิมและปลูกฝังความเคยชินใหม่ ดังนั้นการสอนแบบตรง
จึงมีข้อดีที่ช่วยไม่ให้ นักเรียนใช้การแปลเป็นภาษาของ
ตนอยู่ตลอดเวลา
ประโยชน์จากการวิเคราะห์และ
เปรียบเทียบภาษา
1. ช่วยให้ผู้สอนเข้าถึงปัญหาล่วงหน้า และ
เตรียมการสอนให้ถูกต้องรัดกุม
2. ช่วยชี้ขอบข่ายของความลาบาก หรือปัญหาที่
จะเกิดขึ้นในการเรียนรู้
3. ช่วยให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมเนื้อหาในการ
สอนได้เหมาะสมยิ่งขึ้น
4. สามารถให้เหตุผลกับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้
5. ช่วยในการจัดทาแบบทดสอบและประเมินผล
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ภาษาเพื่อสอน (ต่อ)การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษา
เป็ นงานของผู้สอนที่จะต้องทาก่อนการ
สอน เพื่อเตรียมการแต่ไม่ใช่เนื้อหาที่จะ
นาไปสอนผู้เรียน ผู้สอนต้องนาวิธี
วิเคราะห์มาใช ้กับการทาแบบเรียนภาษาที่
จะสอน โดยเปรียบเทียบกับภาษาแม่ของ
ผู้เรียนเพื่อให้ได้ประโยชน์ และนาไปสู่การ
สอนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สาหรับผู้สอนภาษาไทยให้
การเปรียบเทียบภาษาไทย
กับภาษาญี่ปุ่ น
เสียงพยัญชนะ
1. กรณีที่ภาษาไทยเป็น 2 หน่วยเสียง ภาษาญี่ปุ่น
ถือเป็นหน่วยเสียงเดียว คือ
ภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น
p, ph p
t, th t
k, kh k
ดังนั้นคนญี่ปุ่นจะมีปัญหาใน
การออกเสียง ผ พ ภ /ph/ และ ป /p/
การออกเสียง ถ ท ธ ฑ ฒ /th/ และ ต ฏ / t/
การออกเสียง ข ค ฆ /kh/ และ ก /k/
การเปรียบเทียบภาษาไทยกับ
ภาษาญี่ปุ่ น (ต่อ)เสียงพยัญชนะ
2. เสียงที่คล้ายคลึงกันบางส่วน แต่ไม่เหมือนกัน
ทีเดียว เช่น /r/, /j/
3. เสียงที่ไม่มีในภาษาไทย แต่มีในภาษาญี่ปุ่น
4. เสียงที่ไม่มีในภาษาญี่ปุ่น แต่มีในภาษาไทย
เช่น ph, th, kh, ng
เสียงวรรณยุกต์
ภาษาญี่ปุ่นไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่มีระดับ
เสียงในคาหรือวลี เรียกว่า “การเน้นเสียง”
การเปรียบเทียบภาษาไทยกับ
ภาษาญี่ปุ่ น (ต่อ)
เสียงสระ
นักศึกษาชาวญี่ปุ่ นมักบอกภาษาไทยมี
สระมากกว่าญี่ปุ่น ทาให้ผู้เรียนมีปัญหาในการ
ออกเสียง อีกประการหนึ่งเสียงบางเสียงน่าจะไม่
มีปัญหาเพราะ ในภาษาญี่ปุ่ นก็มี แต่กลับเป็ น
ปัญหาเพราะ ความคล้ายคลึงกันนั่นเอง เช่น
เอะ เอ ของญี่ปุ่นเมื่อออกเสียงลิ้นจะต่ากว่า เอะ
เอ ของไทย ประกอบกับ แอะ แอ ไม่มีใน
ภาษาญี่ปุ่น คนญี่ปุ่นจึงออกเสียง เกะ แกะ, เตะ
แตะ แทบไม่ต่างกัน
การเปรียบเทียบภาษาไทยกับ
ภาษาญี่ปุ่ น (ต่อ)
ประการที่สองเสียงที่ไม่มีในภาษาญี่ปุ่น แต่
มีในภาษาไทยรวมทั้งการออกเสียงสระให้สั้น-
ยาว เป็ นเรื่องที่ต้องฝึ กฝน ชี้ให้เห็นความ
แตกต่างของแบบฝึก
เสียงวรรณยุกต์
ภาษาญี่ปุ่นไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่มีระดับเสียงในคา
หรือวลี เรียกว่า “การเน้นเสียง”
วิธีการเปรียบเทียบ
ภาษาเพื่อสอนแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นแรก สังเกตความแตกต่าง
ระหว่างโครงสร ้างผิวของทั้งสองภาษา ความ
แตกต่างเหล่านี้อาจสังเกตได้จากส่วนที่ขาด
ไปจากภาษาหนึ่งหรือเกิดขึ้นมาจากภาษา
หนึ่ง สรุปได้ว่าส่วนที่ต่างกันนี้เราสามารถ
อธิบายได้ในแง่ที่ว่าภาษาที่ส่วนร่วมกันอัน
เป็นสากล
วิธีการเปรียบเทียบภาษา
เพื่อสอน (ต่อ)
2. ขั้นที่สอง พิจารณาส่วนที่เป็ น
สากลแล้วพยายามหาข้ออ้างอิงมาอธิบาย
ปัญหานั้น
3. ขั้นตอนสุดท้าย ควรจะหาขั้นตอน
และกฎที่เปลี่ยนรูปแบบของส่วนนั้นจาก
โครงสร ้างลึกมาสู่โครงสร ้างผิวในการ
วิเคราะห์และเปรียบเทียบ โดยพยายามหา
กฎที่ร่วมกันให้มากที่สุด
สรุป
วิธีการที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนี้จะทา
ให้ผู้ศึกษาเปรียบเทียบภาษาพอจะเข้าใจ
แนวทางการวิเคราะห์และเปรียบเทียบ
ภาษาอย่างเป็ นระบบและรายละเอียดที่
มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ผลที่ได้จากการ
เปรียบเทียบเป็ นผลที่มีประสิทธิภาพ
พอที่จะนามาทานายถึงปัญหาการเรียน
การสอนได้ถูกต้องแม่นยามากขึ้น อันจะ
อ า น ว ย ป ร ะ โ ย ช น์แ ก่ ว ง ก า ร ส อ น
การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย

More Related Content

Similar to การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย

การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
Kobwit Piriyawat
 
Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
Itnog Kamix
 
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษรูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
ฝ้าย อ้าย
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการ
somthawin
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
kruthirachetthapat
 

Similar to การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย (20)

Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
 
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยรายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
 
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษรูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
 
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษรูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการ
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 

การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย