SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Facebook หลาย ๆ ท่านคงเคยได้ยินชื่อ facebookว่าเป็น social network ที่ได้รับความนิยมอีกแห่งหนึ่งในโลก ซึ่งถ้าในต่างประเทศ ความยิ่งใหญ่ของ facebookมีมากกว่า Hi5 เสียอีก แต่ในประเทศไทยของเรา Hi5 ยังครองความเป็นเจ้าในด้าน social network ในหมู่คนไทย แต่อย่างไรก็ตาม เราลองมาดูประวัติของ facebookกันดีกว่า ว่าเป็นอย่างไร ประวัติ facebook เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 Mark Zuckerburgได้เปิดตัวเว็บไซต์ facebookซึ่งเป็นเว็บประเภท social networkที่ตอนนั้น เปิดให้เข้าใช้เฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดเท่านั้น และเว็บนี้ก็ดังขึ้นมาในชั่วพริบตา เพราะแค่เพียงเปิดตัวได้สองสัปดาห์ ครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ก็สมัครเป็นสมาชิก facebookเพื่อเข้าใช้งานกันอย่างล้นหลาม และเมื่อทราบข่าวนี้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเขตบอสตั้นก็เริ่มมีความต้องการ และอยากขอเข้าใช้งาน facebookบ้างเหมือนกัน มาร์คจึงได้ชักชวนเพื่อของเค้าที่ชื่อ Dustin Moskowitzและ Christ Hughesเพื่อช่วยกันสร้าง facebookและเพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจากนั้น facebookจึงได้เพิ่มรายชื่อและสมาชิกของมหาวิทยาลัยอีก 30 กว่าแห่ง
ไอเดียเริ่มแรกในการตั้งชื่อ facebookนั้นมาจากโรงเรียนเก่าในระดับมัธยมปลายของมาร์ค ที่ชื่อฟิลิปส์เอ็กเซเตอร์อะคาเดมี่ โดยที่โรงเรียนนี้ จะมีหนังสืออยู่หนึ่งเล่มที่ชื่อว่า The Exeter Face Book ซึ่งจะส่งต่อ ๆ กันไปให้นักเรียนคนอื่น ๆ ได้รู้จักเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ซึ่ง face book นี้จริง ๆ แล้วก็เป็นหนังสือเล่มหนึ่งเท่านั้น จนเมื่อวันหนึ่ง มาร์คได้เปลี่ยนแปลงและนำมันเข้าสู่โลกของอินเทอร์เน็ต เมื่อประสบความสำเร็จขนาดนี้ ทั้งมาร์ค ดัสติน และ ฮิวจ์ ได้ย้ายออกไปที่ Palo Alto ในช่วงฤดูร้อนและไปขอแบ่งเช่าอพาร์ทเมนท์ แห่งหนึ่ง หลังจากนั้นสองสัปดาห์ มาร์คได้เข้าไคุยกับ ชอน ปาร์คเกอร์ (Sean Parker) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Napster จากนั้นไม่นาน ปาร์คเกอร์ก็ย้ายเข้ามาร่วมทำงานกับมาร์คในอพาร์ตเมนท์ โดยปาร์คเกอร์ได้ช่วยแนะนำให้รู้จักกับนัลงทุนรายแรก ซึ่งก็คือ ปีเตอร์ธีล (Peter Thiel) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Paypalและผู้บริหารของ The Founders Fund โดยปีเตอร์ได้ลงทุนใน facebookเป็นจำนวนเงิน 500,000 เหรียญสหรัฐฯ
ด้วยจำนวนสมาชิกหลายล้านคน ทำให้บริษัทหลายแห่งสนใจในตัว facebookโดย friendsterพยายามที่จะขอซื้อ facebookเป็นเงิน 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในกลางปีพ.ศ. 2548 แต่ facebookปฎิเสธข้อเสนอไป และได้รับเงินทุนเพิ่มเติมจาก Accel Partners เป็นจำนวนอีก 12.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในตอนนั้น facebookมีมูลค่าจากการประเมินอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านเหรียญสหรัฐฯ facebookยังเติบโตต่อไป จนถึงเดือนกันยายนปีพ.ศ. 2549 ก็ได้เปิดในโรงเรียนในระดับมัธยมปลาย เข้าร่วมใช้งานได้ และในเดือนถัดมา facebookได้เพิ่มฟังค์ชั่นใหม่ โดยสามารถให้สมาชิก เอารูปภาพมาแบ่งปันกันได้ ซึ่งฟังชั่นนี้ได้รับความนิยมอย่างล้นหลาม ในฤถูใบไม้ผลิ facebookได้รับเงินจากการลงทุนเพิ่มอีกของ Greylock Partners, Meritech Capitalพร้อมกับนักลงทุนชุดแรกคือ Accel Partners และ ปีเตอร์ธีล เป็นจำนวนเงินถึง 25 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมูลค่าการประเมินมูลค่าในตอนนั้นเป็น 525 ล้านเหรียญ หลังจากนั้น facebookได้เปิดให้องค์กรธุรกิจหรือบริษัทต่าง ๆ ให้สามารถเข้าใช้งาน facebookและสร้าง network ต่าง ๆ ได้ ซึ่งในที่สุดก็องค์กรธุรกิจกว่า 20,000 แห่งได้เข้ามาใช้งาน และสุดท้ายในปีพ.ศ. 2550 facebookก็ได้เปิดให้ทุกคนที่มีอีเมล์ ได้เข้าใช้งาน ซึ่งเป็นยุคที่คนทั่วไป ไม่ว่าเป็นใครก็สามารถเข้าไปใช้งาน facebookได้เพียงแค่คุณมีอีเมล์เท่านั้น
ในช่วงฤดูร้อนปี 2550 ครั้งนั้น Yahoo พยายามที่จะขอซื้อ facebookด้วยวงเงินจำนวน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีรายงานว่ามาร์คได้ทำการตกลงกันด้วยวาจาไปแล้วด้วยว่า จะยอมขาย facebookให้กับ Yahoo และเพียงแค่สองสามวันถัดมา หุ้นของ Yahoo ก็ได้พุ่งขึ้นสูงเลยทีเดียว แต่ว่าข้อเสนอซื้อได้ถูกต่อรองเหลือเพียงแค่ 800 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทำให้มาร์คปฎิเสธข้อเสนอนั้นทันที  ภายหลังต่อมา ทาง Yahoo ได้ลองเสนอขึ้นไปที่ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ อีกครั้ง คราวนี้มาร์คปฎิเสธYahoo ทันที และได้รับชื่อเสียงในทางไม่ดีว่า ทำธุรกิจเป็นเด็กฯ ไปในทันที นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่มาร์คปฎิเสธขอเสนอซื้อบริษัท เพราะเคยมีบริษัท Viacom ได้เคยลองเสนอซื้อ facebookด้วยวงเงิน 750 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และถูกปฎิเสธไปแล้วในเดือนมีนาคมปี 2550 มีข่าวอีกกระแสหนึ่งที่ไม่ค่อยดีสำหรับ facebookที่ได้มีการโต้เถียงกันอย่างหนัก กับ Social Network ที่ชื่อ ConnectUโดยผู้ก่อตั้ง ConnectUซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนกับมาร์ค ซัคเคอร์เบิร์กที่ฮาเวิร์ด ได้กล่าวหาว่ามาร์คได้ขโมยตัว source code สำหรับ facebookไปจากตน โดยกรณีนี้ได้มีเรื่องมีราวไปถึงชั้นศาล และตอนนี้ได้แก้ไขข้อพิพาทกันไปเรียบร้อยแล้ว
ถึงแม้ว่าจะมีข้อพิพาทอย่างนี้เกิดขึ้น การเติบโตของ facebookก็ยังขับเคลื่อนต่อไป ในฤดูใบไม่ร่วงปี 2551 facebookมีสมาชิกที่มาสมัครใหม่มากกว่า 1 ล้านคนต่อสัปดาห์ โดยเฉลี่ยจะอยู่ที่วันละ 200,000 คน ซึ่งรวมกันแล้วทำให้ facebookมีสมาชิกมากถึง 50 ล้านคน โดย facebookมียอดผู้เข้าชมเฉลี่ยอยู่ที่ 40,000 ล้านเพจวิวต่อเดือน จากวันแรกที่ facebookเป็น social network ของนักศึกษามหาวิทยาลัย จนวันนี้ สมาชิกของ facebook 11% มีอายุมากกว่า 35 ปี และสมาชิกที่มีอายุมากกว่า 30 ปีก็เข้ามาสมัครใช้ facebookกันเยอะมาก นอกเหนือจากนี้ facebookยังเติบโตอย่างยิ่งใหญ่ในตลาดต่างประเทศอีกด้วย โดย 15% ของสมาชิก เป็นคนที่อยู่ในประเทศแคนาดา ซึ่งมีรายงานออกมาด้วยว่า ค่าเฉลี่ยของสมาชิกที่มาใช้งาน facebookนั้นอยู่ที่ 19 นาทีต่อวันต่อคน โดย facebookถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดเป็นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกาและเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้อัพโหลดรูป ภาพสูงที่สุดด้วยจำนวน 4 หมื่นหนึ่งพันล้านรูป
จากจำนวนสถิติเหล่านี้ ไมโครซอฟต์ได้ร่วมลงทุนใน facebookเป็นจำนวนเงิน 240 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อแลกกับหุ้นจำนวน 1.6 % ในเดือนตุลาคม 2551 ทำให้มูลค่ารวมของ facebookมีมากกว่า 15,000 ล้านบาท และทำให้ facebookเป็นบริษัทอินเทอร์เน็ตที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 5 ในหมู่บริษัทอินเทอร์เน็ตในสหรัฐอเมริกา ด้วยมูลค่ารายรับต่อปีเพียงแค่ 150 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หลายฝ่ายได้อธิบายว่า การตัดสินใจของไมโครซอฟต์ในครั้งนี้ทำเพียงเพื่อที่จะเอาชนะ Google ซึ่งเป็นคู่แข่งขันที่จะขอซื้อ facebookในครั้งเดียวกันนั้น
คู่แข่งของ facebookก็คือ� MySpace, Bebo, Friendster, LinkedIn, Tagged, Hi5, Piczo, และ Open Social ความนิยมของ facebookในประเทศไทย โดยดูจากข้อมูลของ Google Trend
หากจะอธิบายคำว่า Facebookคืออะไรนั้น คงต้องอธิบายคำว่า Social network กันก่อนSocial network คือ การที่คนเราสามารถทำความรู้จักหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล เชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็น เว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกัน ซึ่งทำให้เกิดเครือข่ายสังสังคมที่ทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันบนโลกอินเตอร์เน็ท Facebook คือ  เว็บไซต์ Social Network เว็บหนึ่ง เป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก การได้รับความนิยมของ Facebookอาจเนื่องมาจากบน Facebookนั้น ผู้ใช้งานสามารถใช้เพื่อติดต่อสื่อสารหรือร่วมทำกิจกรรมกับผู้ใช้งานท่าน อื่นได้เช่น การเขียนข้อความ เล่าเรื่อง ความรู้สึก แสดงความคิดเห็นเรื่องที่สนใจ โพสต์รูปภาพ โพสต์คลิปวิดีโอ แชทพูดคุย เล่นเกมที่สามารถชวนผู้ใช้งานท่านอื่นมาเล่นกับเราได้ รวมไปถึงทำกิจกรรมอื่นๆ ผ่านแอพลิเคชั่นเสริม (Applications) ที่มีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งแอพลิเคชั่นดังกล่าวได้ถูกพัฒนาเข้ามาเพิ่มเติมอยู่เรื่อยๆ แอพลิเคชั่นยังแบ่งออกเป็นหลายหมวดหมู่ เช่น เพื่อความบันเทิง เกมปลูกผักยอดนิยม เป็นต้น หรือไม่ว่าจะเป็นเชิงธุรกิจ แอพลิเคชั่นของ Facebookก็มีให้ใช้งานเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้Facebookจึงได้รับความนิยมไปทั่วโลก
สำหรับมือใหม่ที่ยังไม่มี Facebookท่านสามารถทำการสมัครใช้งาน Facebookได้ดังนี้ 1. เข้าสู่เว็บไซต์ www.facebook.com 1. เข้าสู่เว็บไซต์ www.facebook.com
2. ทำการลงทะเบียนสมัครโดยกรอก ชื่อ-นามสกุล, อีเมล์, พาสเวิร์ด, เพศ,วัน เดือน ปี เกิด ให้ครบถ้วนและกด ลงทะเบียน
3. กรอกรหัสผ่าน ตามรูปภาพที่กำหนดให้ แล้วกดปุ่มลงทะเบียน
4. คลิ๊ก ข้าม
 5. คลิ๊ก ข้ามขั้นตอนนี้
6. คลิ๊กข้าม
7. คลิ๊กข้าม
8. อัพโหลด รูปภาพประจำตัว แล้ว กดบันทึก
9. ข้อความแจ้งว่าให้ไปที่อีเมล์ เพื่อทำการกดลิงค์ ยืนยันเข้าใช้งาน Facebook
สมาชิก นายศรัทธาวุฒิ     วงษ์ไชยา         52814402016 นายสุจินต์           ไกรยะสินธุ์52814402018 นายสราวุธ          สุริยโรจน์         52814402043 นายรัฐพล	          มาโยธา            52814402011 นายอดิศร             คำมะณี     52814402057 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา  ห้อง  2

More Related Content

What's hot

ประโยชน์ของ Social network
ประโยชน์ของ Social networkประโยชน์ของ Social network
ประโยชน์ของ Social networkThanawat Boontan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้นPimsiri Dum
 
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยวิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยSaowalak Kaewket
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17sangkom
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Noo Pui Chi Chi
 
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาNattakarntick
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาNattakarntick
 

What's hot (14)

2
22
2
 
ประโยชน์ของ Social network
ประโยชน์ของ Social networkประโยชน์ของ Social network
ประโยชน์ของ Social network
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
 
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยวิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
4
44
4
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Inno4
Inno4Inno4
Inno4
 
ZDRAVLJE I BLAGOSTANJE
ZDRAVLJE I BLAGOSTANJEZDRAVLJE I BLAGOSTANJE
ZDRAVLJE I BLAGOSTANJE
 
Footwear Design Overview
Footwear Design OverviewFootwear Design Overview
Footwear Design Overview
 
Actividades de-comprension-lectora
Actividades de-comprension-lectoraActividades de-comprension-lectora
Actividades de-comprension-lectora
 
IOS solutions
IOS solutionsIOS solutions
IOS solutions
 
Hardware y Software
Hardware y SoftwareHardware y Software
Hardware y Software
 
Check grammar beginner level
Check grammar beginner levelCheck grammar beginner level
Check grammar beginner level
 
Trabajo 3
Trabajo 3Trabajo 3
Trabajo 3
 
Fernandacs presents ies
Fernandacs presents iesFernandacs presents ies
Fernandacs presents ies
 
Historia de calatayud
Historia de calatayudHistoria de calatayud
Historia de calatayud
 
22 phrasal verbs5th
22 phrasal verbs5th22 phrasal verbs5th
22 phrasal verbs5th
 
CS Sessions - Where Digital Meets Real - PART 2
CS Sessions - Where Digital Meets Real - PART 2CS Sessions - Where Digital Meets Real - PART 2
CS Sessions - Where Digital Meets Real - PART 2
 
01kanji
01kanji01kanji
01kanji
 
Trabajo2
Trabajo2Trabajo2
Trabajo2
 
File0003
File0003File0003
File0003
 
4thgrade countable-uncountable-sept1
4thgrade countable-uncountable-sept14thgrade countable-uncountable-sept1
4thgrade countable-uncountable-sept1
 
How much how many
How much how manyHow much how many
How much how many
 
Socks
SocksSocks
Socks
 
Métodos de investigación
Métodos de investigaciónMétodos de investigación
Métodos de investigación
 
Undersøgelse af et OOS resultat
Undersøgelse af et OOS resultatUndersøgelse af et OOS resultat
Undersøgelse af et OOS resultat
 

Similar to Facebook

Profile facebook
Profile facebookProfile facebook
Profile facebooktestja
 
Social network and_ir
Social network and_irSocial network and_ir
Social network and_irTeeranan
 
คู่มือการใช้งานFacebook
คู่มือการใช้งานFacebookคู่มือการใช้งานFacebook
คู่มือการใช้งานFacebookssuser72c983
 
คู่มือการใช้งาน Facebook
คู่มือการใช้งาน Facebookคู่มือการใช้งาน Facebook
คู่มือการใช้งาน FacebookareeyaPhumchaichoti
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
Facebook Strategy
Facebook StrategyFacebook Strategy
Facebook StrategyPuttasak
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Kiw Kongsak Kc
 
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้ Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้ Kiw Kongsak Kc
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คprakaytip
 
Workshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียน
Workshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียนWorkshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียน
Workshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียนMaykin Likitboonyalit
 

Similar to Facebook (20)

Profile facebook
Profile facebookProfile facebook
Profile facebook
 
Socialmediabyvorawannuttaphol 120701010244-phpapp02
Socialmediabyvorawannuttaphol 120701010244-phpapp02Socialmediabyvorawannuttaphol 120701010244-phpapp02
Socialmediabyvorawannuttaphol 120701010244-phpapp02
 
Social network and_ir
Social network and_irSocial network and_ir
Social network and_ir
 
38
3838
38
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
คู่มือการใช้งานFacebook
คู่มือการใช้งานFacebookคู่มือการใช้งานFacebook
คู่มือการใช้งานFacebook
 
คู่มือการใช้งาน Facebook
คู่มือการใช้งาน Facebookคู่มือการใช้งาน Facebook
คู่มือการใช้งาน Facebook
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Facebook Strategy
Facebook StrategyFacebook Strategy
Facebook Strategy
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
 
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้ Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
 
Social network nhso
Social network nhsoSocial network nhso
Social network nhso
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Workshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียน
Workshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียนWorkshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียน
Workshop : Facebook Fanpage สำหรับวงการห้องสมุดในยุคประชาคมอาเซียน
 

Facebook

  • 1. Facebook หลาย ๆ ท่านคงเคยได้ยินชื่อ facebookว่าเป็น social network ที่ได้รับความนิยมอีกแห่งหนึ่งในโลก ซึ่งถ้าในต่างประเทศ ความยิ่งใหญ่ของ facebookมีมากกว่า Hi5 เสียอีก แต่ในประเทศไทยของเรา Hi5 ยังครองความเป็นเจ้าในด้าน social network ในหมู่คนไทย แต่อย่างไรก็ตาม เราลองมาดูประวัติของ facebookกันดีกว่า ว่าเป็นอย่างไร ประวัติ facebook เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 Mark Zuckerburgได้เปิดตัวเว็บไซต์ facebookซึ่งเป็นเว็บประเภท social networkที่ตอนนั้น เปิดให้เข้าใช้เฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดเท่านั้น และเว็บนี้ก็ดังขึ้นมาในชั่วพริบตา เพราะแค่เพียงเปิดตัวได้สองสัปดาห์ ครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ก็สมัครเป็นสมาชิก facebookเพื่อเข้าใช้งานกันอย่างล้นหลาม และเมื่อทราบข่าวนี้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเขตบอสตั้นก็เริ่มมีความต้องการ และอยากขอเข้าใช้งาน facebookบ้างเหมือนกัน มาร์คจึงได้ชักชวนเพื่อของเค้าที่ชื่อ Dustin Moskowitzและ Christ Hughesเพื่อช่วยกันสร้าง facebookและเพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจากนั้น facebookจึงได้เพิ่มรายชื่อและสมาชิกของมหาวิทยาลัยอีก 30 กว่าแห่ง
  • 2. ไอเดียเริ่มแรกในการตั้งชื่อ facebookนั้นมาจากโรงเรียนเก่าในระดับมัธยมปลายของมาร์ค ที่ชื่อฟิลิปส์เอ็กเซเตอร์อะคาเดมี่ โดยที่โรงเรียนนี้ จะมีหนังสืออยู่หนึ่งเล่มที่ชื่อว่า The Exeter Face Book ซึ่งจะส่งต่อ ๆ กันไปให้นักเรียนคนอื่น ๆ ได้รู้จักเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ซึ่ง face book นี้จริง ๆ แล้วก็เป็นหนังสือเล่มหนึ่งเท่านั้น จนเมื่อวันหนึ่ง มาร์คได้เปลี่ยนแปลงและนำมันเข้าสู่โลกของอินเทอร์เน็ต เมื่อประสบความสำเร็จขนาดนี้ ทั้งมาร์ค ดัสติน และ ฮิวจ์ ได้ย้ายออกไปที่ Palo Alto ในช่วงฤดูร้อนและไปขอแบ่งเช่าอพาร์ทเมนท์ แห่งหนึ่ง หลังจากนั้นสองสัปดาห์ มาร์คได้เข้าไคุยกับ ชอน ปาร์คเกอร์ (Sean Parker) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Napster จากนั้นไม่นาน ปาร์คเกอร์ก็ย้ายเข้ามาร่วมทำงานกับมาร์คในอพาร์ตเมนท์ โดยปาร์คเกอร์ได้ช่วยแนะนำให้รู้จักกับนัลงทุนรายแรก ซึ่งก็คือ ปีเตอร์ธีล (Peter Thiel) หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง Paypalและผู้บริหารของ The Founders Fund โดยปีเตอร์ได้ลงทุนใน facebookเป็นจำนวนเงิน 500,000 เหรียญสหรัฐฯ
  • 3. ด้วยจำนวนสมาชิกหลายล้านคน ทำให้บริษัทหลายแห่งสนใจในตัว facebookโดย friendsterพยายามที่จะขอซื้อ facebookเป็นเงิน 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในกลางปีพ.ศ. 2548 แต่ facebookปฎิเสธข้อเสนอไป และได้รับเงินทุนเพิ่มเติมจาก Accel Partners เป็นจำนวนอีก 12.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในตอนนั้น facebookมีมูลค่าจากการประเมินอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านเหรียญสหรัฐฯ facebookยังเติบโตต่อไป จนถึงเดือนกันยายนปีพ.ศ. 2549 ก็ได้เปิดในโรงเรียนในระดับมัธยมปลาย เข้าร่วมใช้งานได้ และในเดือนถัดมา facebookได้เพิ่มฟังค์ชั่นใหม่ โดยสามารถให้สมาชิก เอารูปภาพมาแบ่งปันกันได้ ซึ่งฟังชั่นนี้ได้รับความนิยมอย่างล้นหลาม ในฤถูใบไม้ผลิ facebookได้รับเงินจากการลงทุนเพิ่มอีกของ Greylock Partners, Meritech Capitalพร้อมกับนักลงทุนชุดแรกคือ Accel Partners และ ปีเตอร์ธีล เป็นจำนวนเงินถึง 25 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมูลค่าการประเมินมูลค่าในตอนนั้นเป็น 525 ล้านเหรียญ หลังจากนั้น facebookได้เปิดให้องค์กรธุรกิจหรือบริษัทต่าง ๆ ให้สามารถเข้าใช้งาน facebookและสร้าง network ต่าง ๆ ได้ ซึ่งในที่สุดก็องค์กรธุรกิจกว่า 20,000 แห่งได้เข้ามาใช้งาน และสุดท้ายในปีพ.ศ. 2550 facebookก็ได้เปิดให้ทุกคนที่มีอีเมล์ ได้เข้าใช้งาน ซึ่งเป็นยุคที่คนทั่วไป ไม่ว่าเป็นใครก็สามารถเข้าไปใช้งาน facebookได้เพียงแค่คุณมีอีเมล์เท่านั้น
  • 4. ในช่วงฤดูร้อนปี 2550 ครั้งนั้น Yahoo พยายามที่จะขอซื้อ facebookด้วยวงเงินจำนวน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีรายงานว่ามาร์คได้ทำการตกลงกันด้วยวาจาไปแล้วด้วยว่า จะยอมขาย facebookให้กับ Yahoo และเพียงแค่สองสามวันถัดมา หุ้นของ Yahoo ก็ได้พุ่งขึ้นสูงเลยทีเดียว แต่ว่าข้อเสนอซื้อได้ถูกต่อรองเหลือเพียงแค่ 800 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทำให้มาร์คปฎิเสธข้อเสนอนั้นทันที ภายหลังต่อมา ทาง Yahoo ได้ลองเสนอขึ้นไปที่ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ อีกครั้ง คราวนี้มาร์คปฎิเสธYahoo ทันที และได้รับชื่อเสียงในทางไม่ดีว่า ทำธุรกิจเป็นเด็กฯ ไปในทันที นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่มาร์คปฎิเสธขอเสนอซื้อบริษัท เพราะเคยมีบริษัท Viacom ได้เคยลองเสนอซื้อ facebookด้วยวงเงิน 750 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และถูกปฎิเสธไปแล้วในเดือนมีนาคมปี 2550 มีข่าวอีกกระแสหนึ่งที่ไม่ค่อยดีสำหรับ facebookที่ได้มีการโต้เถียงกันอย่างหนัก กับ Social Network ที่ชื่อ ConnectUโดยผู้ก่อตั้ง ConnectUซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนกับมาร์ค ซัคเคอร์เบิร์กที่ฮาเวิร์ด ได้กล่าวหาว่ามาร์คได้ขโมยตัว source code สำหรับ facebookไปจากตน โดยกรณีนี้ได้มีเรื่องมีราวไปถึงชั้นศาล และตอนนี้ได้แก้ไขข้อพิพาทกันไปเรียบร้อยแล้ว
  • 5. ถึงแม้ว่าจะมีข้อพิพาทอย่างนี้เกิดขึ้น การเติบโตของ facebookก็ยังขับเคลื่อนต่อไป ในฤดูใบไม่ร่วงปี 2551 facebookมีสมาชิกที่มาสมัครใหม่มากกว่า 1 ล้านคนต่อสัปดาห์ โดยเฉลี่ยจะอยู่ที่วันละ 200,000 คน ซึ่งรวมกันแล้วทำให้ facebookมีสมาชิกมากถึง 50 ล้านคน โดย facebookมียอดผู้เข้าชมเฉลี่ยอยู่ที่ 40,000 ล้านเพจวิวต่อเดือน จากวันแรกที่ facebookเป็น social network ของนักศึกษามหาวิทยาลัย จนวันนี้ สมาชิกของ facebook 11% มีอายุมากกว่า 35 ปี และสมาชิกที่มีอายุมากกว่า 30 ปีก็เข้ามาสมัครใช้ facebookกันเยอะมาก นอกเหนือจากนี้ facebookยังเติบโตอย่างยิ่งใหญ่ในตลาดต่างประเทศอีกด้วย โดย 15% ของสมาชิก เป็นคนที่อยู่ในประเทศแคนาดา ซึ่งมีรายงานออกมาด้วยว่า ค่าเฉลี่ยของสมาชิกที่มาใช้งาน facebookนั้นอยู่ที่ 19 นาทีต่อวันต่อคน โดย facebookถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดเป็นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกาและเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้อัพโหลดรูป ภาพสูงที่สุดด้วยจำนวน 4 หมื่นหนึ่งพันล้านรูป
  • 6. จากจำนวนสถิติเหล่านี้ ไมโครซอฟต์ได้ร่วมลงทุนใน facebookเป็นจำนวนเงิน 240 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อแลกกับหุ้นจำนวน 1.6 % ในเดือนตุลาคม 2551 ทำให้มูลค่ารวมของ facebookมีมากกว่า 15,000 ล้านบาท และทำให้ facebookเป็นบริษัทอินเทอร์เน็ตที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 5 ในหมู่บริษัทอินเทอร์เน็ตในสหรัฐอเมริกา ด้วยมูลค่ารายรับต่อปีเพียงแค่ 150 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หลายฝ่ายได้อธิบายว่า การตัดสินใจของไมโครซอฟต์ในครั้งนี้ทำเพียงเพื่อที่จะเอาชนะ Google ซึ่งเป็นคู่แข่งขันที่จะขอซื้อ facebookในครั้งเดียวกันนั้น
  • 7. คู่แข่งของ facebookก็คือ� MySpace, Bebo, Friendster, LinkedIn, Tagged, Hi5, Piczo, และ Open Social ความนิยมของ facebookในประเทศไทย โดยดูจากข้อมูลของ Google Trend
  • 8. หากจะอธิบายคำว่า Facebookคืออะไรนั้น คงต้องอธิบายคำว่า Social network กันก่อนSocial network คือ การที่คนเราสามารถทำความรู้จักหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล เชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็น เว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกัน ซึ่งทำให้เกิดเครือข่ายสังสังคมที่ทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันบนโลกอินเตอร์เน็ท Facebook คือ  เว็บไซต์ Social Network เว็บหนึ่ง เป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก การได้รับความนิยมของ Facebookอาจเนื่องมาจากบน Facebookนั้น ผู้ใช้งานสามารถใช้เพื่อติดต่อสื่อสารหรือร่วมทำกิจกรรมกับผู้ใช้งานท่าน อื่นได้เช่น การเขียนข้อความ เล่าเรื่อง ความรู้สึก แสดงความคิดเห็นเรื่องที่สนใจ โพสต์รูปภาพ โพสต์คลิปวิดีโอ แชทพูดคุย เล่นเกมที่สามารถชวนผู้ใช้งานท่านอื่นมาเล่นกับเราได้ รวมไปถึงทำกิจกรรมอื่นๆ ผ่านแอพลิเคชั่นเสริม (Applications) ที่มีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งแอพลิเคชั่นดังกล่าวได้ถูกพัฒนาเข้ามาเพิ่มเติมอยู่เรื่อยๆ แอพลิเคชั่นยังแบ่งออกเป็นหลายหมวดหมู่ เช่น เพื่อความบันเทิง เกมปลูกผักยอดนิยม เป็นต้น หรือไม่ว่าจะเป็นเชิงธุรกิจ แอพลิเคชั่นของ Facebookก็มีให้ใช้งานเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้Facebookจึงได้รับความนิยมไปทั่วโลก
  • 9. สำหรับมือใหม่ที่ยังไม่มี Facebookท่านสามารถทำการสมัครใช้งาน Facebookได้ดังนี้ 1. เข้าสู่เว็บไซต์ www.facebook.com 1. เข้าสู่เว็บไซต์ www.facebook.com
  • 10. 2. ทำการลงทะเบียนสมัครโดยกรอก ชื่อ-นามสกุล, อีเมล์, พาสเวิร์ด, เพศ,วัน เดือน ปี เกิด ให้ครบถ้วนและกด ลงทะเบียน
  • 18. สมาชิก นายศรัทธาวุฒิ วงษ์ไชยา 52814402016 นายสุจินต์ ไกรยะสินธุ์52814402018 นายสราวุธ สุริยโรจน์ 52814402043 นายรัฐพล มาโยธา 52814402011 นายอดิศร คำมะณี 52814402057 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ห้อง 2