SlideShare a Scribd company logo
1 of 116
Microscope
ประวัติความเป็นมาของกล้องจุลทรรศน์
แว่นขยาย
• เดิมการศึกษาวัตถุที่มีขนาดเล็ก
มาก เช่น วัตถุที่อยู่ไกล วัตถุที่อยู่
สูง เป็นต้น ใช้เพียงแว่นขยายและ
เลนส์อันเดียวส่องดู เช่นเดียวกับ
การใช้แว่นขยายส่องดูลายมือ
โรเบิร์ต ฮุก
• ในปี พ.ศ. 2208 โรเบิร์ต ฮุคได้ประดิษฐ์
กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบที่มี
ลากล้องรูปร่างสวยงาม ป้องกันการ
รบกวนจากแสงภายนอกได้ และไม่ต้อง
ถือเลนส์ให้ซ้อนกัน เขาส่องดูไม้คอร์กที่
ฝานบาง ๆ แล้วพบช่องเล็ก ๆ
มากมาย เขาเรียกช่องเหล่านั้นว่าเซลล์
แอนโทนี แวน เลเวนฮุค
• ในปี พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน เลเวนฮุค ชาว
ฮอลันดา สร้างกล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์เดียวจาก
แว่นขยายที่เขาฝนเอง แว่นขยายบางอันขยายได้
ถึง 270 เท่า เขาใช้กล้องจุลทรรศน์ตรวจดูหยดน้า
จากบึงและแม่น้า และจากน้าฝนที่รองไว้ในหม้อ
เห็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆมากมายนอกจากนั้นเขายังส่องดู
สิ่งมีชีวิตต่างๆ เช่น เม็ดเลือด, เซลล์สืบพันธุ์,
กล้ามเนื้อ เป็นต้น เมื่อเขาพบสิ่งเหล่านี้ เขา
รายงานไปยังราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน จึงได้รับ
การยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
(Electron microscopes)
เป็นกล้องจุลทรรศน์ชนิดหนึ่งที่ใช้
อิเล็กตรอน ที่ถูกเร่งความเร็วเป็นแหล่งที่มาของการ
ส่องสว่าง เนื่องจากอิเล็กตรอนมีความยาวคลื่น
มากกว่าโฟตอนของแสงที่มนุษย์มองเห็นได้ถึง
100,000 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจึงมี
กาลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
สามารถมีกาลังขยายได้ถึง 10,000,000 เท่า ในขณะ
ที่ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงสามารถขยายได้ถึง
เพียง 2,000 เท่า
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจึงมีกาลังขยายสูง
กว่ากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง สามารถมี
กาลังขยายได้ถึง 10,000,000 เท่า ในขณะที่
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงสามารถขยายได้
ถึงเพียง 2,000 เท่า
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
(Optical microscopes)
กล้องจุลทรรศน์ชนิดที่พบได้
มากที่สุด เป็นอุปกรณ์ใช้แสงอย่างหนึ่ง
มีเลนส์อย่างน้อย 1 ชิ้น เพื่อทาการ
ขยายภาพวัตถุที่วางในระนาบโฟกัส
ของเลนส์นั้นๆ
Type of Light microscope
Light microscope
Stero microscope
Dark field microscope
Phase
microscpoe
Fluorescence
microscope
Light microscope
เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่พบอยู่
ทั่วไป โดยเวลาส่องดูจะเห็นพื้นหลัง
เป็นสีขาว และจะเห็นเชื้อจุลินทรีย์มีสี
เข้มกว่า
ตัวอย่างภาพจาก Optical microscopes
Stereo microscope
เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ส่องดูสิ่งมีชีวิตที่ไม่
เล็กมาก ส่องดูเป็น 3 มิติ ส่วนใหญ่จะใช้ใน
การศึกษาแมลง
ตัวอย่างภาพจาก Stereo microscope
Dark field microscope
เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีพื้น
หลังเป็นสีดา เห็นเชื้อจุลินทรีย์สว่าง
เหมาะสาหรับใช้ส่องจุลินทรีย์ที่มีขนาด
เล็ก ที่ติดสียาก
ตัวอย่างภาพจาก Stereo microscope
Phase contrast
microscope
ใช้สาหรับส่องเชื้อจุลินทรีย์ที่
ยังไม่ได้ทาการย้อมสี จะเห็นชัดกว่า
Light microscope
ตัวอย่างภาพจาก Phase contrast microscope
Fluorescence
microscope
ใช้แหล่งกาเนิดแสงเป็น
อัลตราไวโอเลต ส่องดูจุลินทรีย์
ที่ย้อมด้วยสารเรืองแสง ซึ่งเมื่อ
กระทบกับแสง UV จะ
เปลี่ยนเป็นแสงช่วงที่มองเห็นได้
แล้วแต่ชนิดของสารที่ใช้ พื้น
หลังมักจะเป็นสีดา
ตัวอย่างภาพจาก Fluorescence microscope
กล้องจุลทรรศน์ (microscope) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการขยายขนาดสิ่งต่างๆ ที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบ
อยู่ส่วนบนของลำกล้อง โดยทั่วไปจะมีกำลังขยำย 10X
ใช้หมุนเมื่อต้องกำรเปลี่ยนกำลังขยำย
ของเลนส์ใกล้วัตถุ
ใช้หนีบสไลด์ให้แน่นอยู่กับที่
ทำหน้ำที่รวมแสงให้เข้มขึ้นเพื่อส่งไปยังวัตถุที่ต้องกำรศึกษำ
แหล่งกำเนิดแสงของกล้องอำจเป็นกระจกเงำหรือหลอดไฟ
ม่ำนปิด-เปิดรูรับแสง สำมำรถปรับขนำดของรูรับแสงให้ได้ปริมำณแสง
ตำมต้องกำร
ด้ำนบนติดกับเลนส์ใกล้ตำ ด้ำนล่ำงติดกับเลนส์ใกล้วัตถุ
มีกำลังขยำยต่ำและสูง (4X 10X 40X 100X)
ใช้จับในขณะเคลื่อนย้ำยกล้องจุลทรรศน์
ใช้วำงสไลด์ที่ต้องกำรศึกษำ
ใช้หมุนเพื่อทำให้เห็นภำพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ใช้หมุนเพื่อเลื่อนตำแหน่งแท่นของวัตถุ เพื่อปรับระยะภำพ
ส่วนที่รองรับน้ำหนักของกล้อง
เลนส์ใกล้ตำ
จำนหมุน
ที่หนีบสไลด์
เลนส์รวมแสง
ไอริส ไดอะแฟรม
แหล่งกำเนิด
ลำกล้อง
เลนส์ใกล้วัตถุ
แขนกล้อง
แท่นวำงวัตถุ
ปุ่มปรับภำพละเอียด
ฐำน
ปุ่มปรับภำพหยำบ
แบบฝึกหัด หน้า 33
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
กิจกรรมต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรดำรงชีวิต
เช่น
กำรกินอำหำร กำรขับถ่ำย กำรสืบพันธุ์
จะเกิดขึ้นภำยในเซลล์เพียงเซลล์เดียว
สิ่งมีชีวิตที่ร่ำงกำย
ประกอบด้วย
พำรำมีเซียม
อะมีบำ
ยูกลีนำ
แบคทีเรีย
เซลล์เพียงเซลล์เดียว
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
Euglena
ยูกลีนา เป็นสัตว์เซลล์เดียว
ขยายพันธุ์ได้โดยวิธีแบ่งเซลล์ มี
ลักษณะเป็นรูปกระสวย หน้าป้าน
ท้ายเรียว
ตัวของยูกลีนาเป็นสีเขียว
เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์รูปไข่
กระจายอยู่ในไซโตพลาสซึม
เมื่ออยู่ในสภาพที่มีแสงจะดารงชีวิตแบบโฮโลไฟติค
อาหารสะสมเป็นพาราไมลอนกระจายในเซลล์ ถ้าอยู่ในสภาพ
ที่ไม่มีแสงจะดารงชีวิตแบบแซบโปรโซอิค โดยคลอโรฟิลล์จะ
สลายไป
การเคลื่อนไหวของยูกลีนา
Paramecium
• พารามีเซียม เป็นสิ่งมีชีวิตขนาด
เล็กจาพวกโปรโตซัว ซึ่งมักเกิด
ในบริเวณที่มีการเน่าของ
อินทรีย์วัตถุ ไม่ว่าจะเป็นซาก
พืช เช่น ใบไม้ หญ้า ซากสัตว์
หรือเศษอาหาร
พารามีเซียม จัดเป็นโปรโตซัวที่เคลื่อนที่ไปมาอย่าง
รวดเร็วและชอบเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา โดยอาศัยการ
โบกพักของ cilia
พารามีเซียมกินอาหารแบบกลืนกิน โดย
การโบกพักของ cilia ทาให้เกิดการ
หมุนเวียนของน้านาเอาจุลินทรีย์หรือ
สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กต่างๆเข้าไปในปาก แล้ว
ถูกล้อมรอบ กลายเป็น food vacuole เข้า
ไปในเซลล์
การเคลื่อนไหวของพารามีเซียม
Bacteria
• แบคทีเรีย คือ จุลินทรีย์ที่เป็น
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่เป็นเซลล์
แบบโปรแคริโอต (prokariotic
cell) พบทั่วไปในธรรมชาติ ดิน
น้า อากาศ
แบคทีเรียมีบทบาทสาคัญต่ออาหาร และ
การผลิตอาหาร เพราะแบคทีเรียเป็นสาเหตุสาคัญที่
ทาให้อาหารเน่าเสีย และทาให้เกิดโรคอาหารเป็น
พิษ ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
ดังนั้น การถนอมอาหารทุกวิธีเป็นเทคนิค
ที่ใช้เพื่อทาลาย หรือควบคุมสภาวะแวดล้อม เพื่อ
ยับยั้งการเพิ่มจานวนของแบคทีเรีย
เม็ดเลือดขาวกาลังกินแบคทีเรีย
Ameba
• อะมีบา เป็นโปรโตซัวสกุลหนึ่ง
สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยส่วน
ของลาตัวที่ยื่นออกมาชั่วคราว
เรียกว่าเท้าเทียม และถือว่าเป็น
ตัวแทนของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ที่รู้จักกันดี
อะมีบา เองนั้นพบได้ในน้าจืด โดยปกติอยู่ในพืชผักที่เน่า
เปื่อย จมอยู่ในลาน้า แต่ไม่ได้พบมากเป็นพิเศษใน
ธรรมชาติ
ติดต่อสู่คนได้โดยการสาลักน้า หรือหายใจเอาฝุ่น ที่มีเชื้อเข้า
ไปและผ่าน olfactory nerve ไปยัง สมองแล้วแบ่งตัวเพิ่มขึ้น
ทาให้เนื้อสมองและเยื่อหุ้มสมอง เกิดการอักเสบ และถูก
ทาลาย
การกินอาหารของอะมีบา
การเคลื่อนที่
ของอะมีบา
Viruses
แบบฝึกหัด หน้า 28
Lab 1
เซลล์ (Cell)
หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุด
เนื้อเยื่อ (tissue)
เซลล์หลายเซลล์ที่อยู่รวมกัน
และทาหน้าที่ร่วมกัน
อวัยวะ (organ)
เนื้อเยื่อหลายเนื้อเยื่อ
ทาหน้าที่ประสานกัน
ทำหน้ำที่
เนื้อเยื่อประสำท
โฟลเอ็ม
ไซเล็ม
ลำต้น
เซลล์ประสำท
พืช
สัตว์
สิ่งมีชีวิต
หลำยเซลล์
ร่ำงกำยประกอบด้วยเซลล์จำนวนมำก
มีทั้งในพืชและสัตว์
สมอง
เซลล์ลำเลียงอำหำร
เซลล์ลำเลียงน้ำ
C
E
L
L
Cell
Cell
membrane
Protoplasm
Cytoplasm Nucleus
นิวเคลียส
ไลโซโซม
กอจิบอดี
ร่างแหเอนโดพลาสซึม
ไมโทรคอนเดรีย
ไรโบโซม
เซนทริโอล
เยื่อหุ้มเซลล์
ผนังเซลล์
คลอโรพลาสต์
สัตว์
พืช
แบบฝึกหัด หน้า 30
1
2
3
4
5
6
7
8
1
2
3
4
5
6
7
8
9
Cell membrane (เยื่อหุ้มเซลล์)
Cell membrane
เป็นเยื่อบางๆที่ล้อมรอบไซ
โทพลาสซึม พบได้ในเซลล์ทุกชนิด
ยกเว้น ไวรัส
เยื่อหุ้มเซลล์มีความหนาและ
สามารถทาหน้าที่ รักษาสมดุลของสาร
ภายในเซลล์ โดยควบคุมการผ่านเข้า
ออกของสารระหว่างเซลล์กับสิ่งแว
กล้อมภายนอก
คาร์โบไฮเดตร
สื่อสารระหว่างเซลล์
โปรตีน
ขนส่งสารเข้าออกเซลล์
Phospholipid
bilayer
Nucleus (นิวเคลียส)
Nucleus
เป็นโครงสร้างที่พบอยู่กลาง
เซลล์ ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน
ต่างๆของเซลล์ รวมทั้งเป็นที่อยู่ของ
สารพันธุกรรม
DNA
เป็นกรดนิวคลีอิกที่มีคาสั่ง
พันธุกรรมซึ่งถูกใช้ในพัฒนาการและ
การทาหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ดีเอ็นเอที่บรรจุข้อมูล
พันธุกรรมนี้เรียกว่า ยีน
Cytoplasm (ไซโทพลาสซึม)
Endoplasmic reticulum
เอนโดพลาสมิกเรทิคิวลัม
SER RER
สังเคราะห์ไขมัน สังเคราะห์โปรตีน
กาจัดสารพิษ -
พบในตับ พบในตับอ่อน
Golgi body , Golgi complex , Golgi apparatus
กอจิบอดี
มีรูปร่างเป็นถุงแบนๆ
ภายในถุงมีของเหลว
บรรจุอยู่ เพื่อช่วยใน
การต่อเติมโปรตีนและ
ไขมันที่รับมาจาก ER
ให้สมบูรณ์มากขึ้น
แล้วทาการขนส่งไปยัง
เซลล์
Golgi body
แบบฝึกหัด หน้า 31
Vacuole
Contractile
vacuole
ทาหน้าที่รักษา
สมดุลของน้า โดยการบีบ
น้าส่วนเกินจากเซลล์ พบ
เฉพาะในโปรโตซัวน้าจืด
Food vacuole
พบมากในเซลล์เม็ดเลือดขาว และสัตว์ชั้น
ต่าเซลล์เดียว เช่น อะมีบา และ พารามีเซียม เป็น
ต้น ทาหน้าที่บรรจุอาหารที่รับมาจากนอกเซลล์
จากนั้นจะย่อยอาหารโดยอาศัย Lysosome
Sap vacuole
พบเฉพาะในเซลล์
พืช ทาหน้าที่บรรจุสาร
ต่างๆ เช่น ของเสีย น้า
ก๊าซระเหย รงควัตถุต่างๆ
ทาให้เกิดสีของกลีบดอก
เป็นต้น
Lysosome
ไลโซโซม
มีลักษณะเป็นถุง
โปรตีนจาพวกเอมไซม์อยู่
เป็นจานวนมาก ไม่พบใน
เซลล์พืช พบในเซลล์ของ
โพรทิสต์บางชนิดและเซลล์
สัตว์เกือบทุกชนิด
Mitochondria
ไมโทคอนเดรีย
เป็นออร์แกแนลที่
เกี่ยวกับกระบวนการสร้าง
พลังงาน ATP ในช่องว่างจะ
เป็นของเหลวที่บรรจุเอมไซม์
หลายชนิด “เมทริกซ์” เป็น
บริเวณที่เกิดกระบวนการ
หายใจระดับเซลล์
Chloroplast
คลอโรพลาสต์
เป็นโครงสร้างที่ใช้รับ
พลังงานจากแสง เพื่อใช้ใน
การสังเคราะห์ด้วยแสง
เนื่องจากบริเวณนี้จะมี
chlorophyll อยู่ ซึ่ง
ภายในจะมีของเหลวบรรจุอยู่
ภายใน
Granum
แบบฝึกหัด หน้า 36
โครงสร้ำงของพืช
มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว 2 อันประกบกัน ทาหน้าที่
ควบคุมการปิด-เปิดของปากใบ
เป็นท่อลาเลียงน้า มีลักษณะกลวงและยาว ทาหน้าที่
ลาเลียงน้าจากรากไปสู่ใบ
เป็นท่อลาเลียงอาหาร มีลักษณะยาว หัวท้ายมีรูพรุน
ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช
มีลักษณะยาว และยื่นเข้าไปในดิน เพื่อเพิ่มพื้นที่
ผิวสัมผัสให้รากสามารถดูดน้าและแร่ธาตุได้มากขึ้น
เนื้อเยื่อผิว
เนื้อเยื่อลำเลียง
เนื้อเยื่อเจริญปลำยรำก
ลำต้น
ใบ
รำก
เซลล์คุม
ไซเล็ม
เซลล์ขนรำก
โฟลเอ็ม
1
2
3
4
มีส่วนที่ยื่นออกไปคล้ายนิ้วมือ เรียกว่า วิลลัส (villus) ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมอาหาร
เซลล์บุผิว
เนื้อเยื่อบุผิว
ลำไส้
เซลล์ประสำท
มีลักษณะเป็นเส้นใยยาว และแตกแขนง
ไปทั่วร่างกาย ทาหน้าที่รับส่งกระแส
ประสาท เพื่อควบคุมการทางานของ
ร่างกาย
สมอง
เนื้อเยื่อประสำท
เนื้อเยื่ออัณฑะ
อวัยวะสืบพันธุ์
น้ำเลือด
เลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
มีลักษณะกลม ตรงกลางเว้า ไม่มีนิวเคลียส
ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
และสามารถลอดผ่านหลอดเลือดฝอยได้
เซลล์อสุจิ
ประกอบด้วยส่วนหัว ลาตัวและหาง โดยส่วนหางที่ยาว
จะช่วยให้เซลล์อสุจิเคลื่อนที่ไปผสมกับเซลล์ไข่ได้
โครงสร้ำงของสัตว์
1
3
2
4
โครงสร้ำงเซลล์สัตว์
โครงสร้ำงเซลล์พืช
ลักษณะเป็นทรงกลมอยู่กลางเซลล์
ทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ
ของเซลล์
ลักษณะเป็นของเหลว ประกอบด้วย
ออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ที่มีหน้าที่
แตกต่างกัน
1. นิวเคลียส 2. ไซทพลำซึม 3. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึม และแสดงขอบเขต
ของเซลล์
โครงสร้ำงของเซลล์
เซนทริโอ
ลักษณะคล้ายท่อทรงกระบอก 2 อัน
วางตั้งฉากกัน เป็นออร์แกเนลล์ ที่ทาให้
โครมาทิดแยกออกจากกันในระหว่าง
การแบ่งเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์
ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุมการผ่านเข้า-ออกของสาร ผนังเซลล์
เป็นโครงสร้างที่ห่อหุ้มด้านนอกของเซลล์พืช ทาให้เซลล์มีความแข็งแรง
และช่วยให้เซลล์สามารถคงรูปอยู่ได้
แวคิวโอล
ลักษณะเป็นถุงภายในมี
สารละลายอยู่ ในเซลล์พืช
ทาหน้าที่เก็บสะสมน้าและ
สารอื่น ๆ แต่ในสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวทาหน้าที่ควบคุม
ปริมาณน้าและของเสีย
ไมโทคอนเดรีย
มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
ทาหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์
แวคิวโอล
มีขนาดเล็กกว่าเซลล์พืช ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้า
ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด หรือใช้บรรจุอาหารใน
เซลล์เม็ดเลือดขาวของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ร่ำงแหเอนโดพลำซึม
ลักษณะเป็นท่อแบน บางส่วนพองออกเป็นถุง
เรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน
ไรโบโซม
มีขนาดเล็ก กระจายอยู่ในไซโทพลาซึม
ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน
กอลจิบอดี ถุงที่เป็นเยื่อบาง ๆ เรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ
และส่วนปลายของถุงมักโป่งออก ทาหน้าที่เก็บสารที่
ร่างแหเอนโดพลาซึมสร้างขึ้น
คลอโรพลำสต์ พบเฉพาะในเซลล์พืช
มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ภายในมีรงควัตถุที่เกี่ยวข้อง
กับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เรียกว่า
คลอโรฟิลล์
นิวเคลียส
ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ภายในเซลล์
แบบฝึกหัด หน้า 37
1 .................... เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มี
ลักษณะแตกต่างกันตามชนิดของสิ่งมีชีวิต
2 .................... เป็นสิ่งมีชีวิตที่ร่างกายประกอบด้วยเพียงเซลล์
เดียว กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต จะเกิดขึ้นใน
เซลล์เดียวเพียงเซลล์เดียว ส่วนใหญ่จะสามารถดารงชีวิตอยู่
เป็นอิสระได้ เช่น .....................
3 ........................................................ เป็นสิ่งมีชีวิตที่ร่างกาย
ประกอบด้วยเซลล์จานวนมากหลายล้านเซลล์ โดยเซลล์ชนิด
เดียวกันมาอยู่รวมกัน ทาหน้าที่เดียวกัน เรียกกลุ่มเซลล์เหล่านี้
ว่า ................. และเนื้อเยื่อหลายชนิดประกอบกันเป็น
................... ซึ่งอวัยวะต่างๆหลายอวัยวะจะทาหน้าที่ประสาน
สัมพันธ์กันเป็น ............................ ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิต
...............................
4 .................... เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่พบในโครงสร้างของ
สัตว์ ทีลักษณะกลม ตรงกลางเว้า ไม่มีนิวเคลียส ช่วยเพิ่มพื้นที่
ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
5 .................... พบในโครงสร้างของพืช มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว
2 อัน ประกบกัน ทาหน้าที่ควบคุมการเปิด-ปิดของปากใบ
6 เนื้อเยื่อเจริญปลายรากของพืชจะมี .................... ที่มีลักษณะ
ยาวและยื่นลงไปในดิน ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสให้รากดูดน้าและ
แร่ธาตุได้มากขึ้น
7 ลาไส้ของสัตว์มีเนื้อเยื่อบุผิวประกอบไปด้วย ................... ที่
ช่วยเพิ่มพื้นที่ในการดูดซึมสารอาหาร
8 อวัยวะสืบพันธุ์ของสัตว์เพศผู้ที่มีเนื้อเยื่อภายในอัณฑะที่
ประกอบไปด้วย ....................... ที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์ของเพศผู้
9 อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาเซลล์ขนาดเล็กที่มองด้วยตาเปล่าไม่
เห็น คือ .......................
10 นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ ........................ เป็นผู้
ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เพื่อใช้ในการสังเกตส่วนของไม้คอร์ก
ทาให้ค้นพบเซลล์ของสิ่งมีชีวิตคั้งแรกผ่านกล้องจุลทรรศน์
กระบวนการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่
บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า จนกระทั่งความเข้มข้นของสารทั้งสองบริเวณ
สมดุลกัน
กำรแพร่ (diffusion)
= อนุภำคน้ำ = อนุภำคสีผสมอำหำร
กำรแพร่ของสีผสมอำหำรในน้ำ
CO
2
O
2
กำรแพร่ของแร่ธำตุในดิน
เข้ำสู่เซลล์ขนรำกของพืช
กำรแพร่ของแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์เข้ำสู่ใบพืช
เพื่อใช้ในกำรสังเครำะห์ด้วยแสง
กำรแพร่ในสิ่งมีชีวิต
ควำมเข้มข้นของสำร ขนำดอนุภำคของ
สำร
อุณหภูมิ ควำมสำมำรถในกำร
ละลำยของสำร
ปัจจัยควบคุมกำรแพร่
กระบวนการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่าไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายสูง
กำรออสโมซิส
(osmosis)
ปัจจัยควบคุมกำรออสโมซิส
ควำมเข้มข้นของสำร อุณหภูมิ
ถ้ำควำมเข้มข้นของสำรละลำยระหว่ำง 2 บริเวณต่ำงกันมำก
กำรออสโมซิสจะเกิดขึ้นได้เร็ว
กำรเพิ่มอุณหภูมิทำให้อนุภำคเคลื่อนที่เร็ว
เยื่อเลือกผ่ำน
โมเลกุลโปรตีน
น้ำ
โมเลกุลโปรตีน มีขนำดใหญ่ ไม่สำมำรถเคลื่อนที่ผ่ำนเยื่อเลือกผ่ำนได้
Thank you

More Related Content

Similar to 2เซลล์.ppt

อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางนาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางNaw Fatt
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 

Similar to 2เซลล์.ppt (16)

Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางนาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

2เซลล์.ppt