SlideShare a Scribd company logo
1 of 114
Download to read offline
111
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
คูมือการปฏิบัติงาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
112
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
113
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
คํานํา
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม หมวด 5
มาตรา 39 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และที่
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 มาตรา 8 มาตรา 34 วรรคสอง ไดกําหนดใหมีการแบงเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไดออกประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมีสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา และไดออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบงสวนราชการภายใน
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา ออกเปน 8 กลุม และออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบงสวนราชการ
ภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ออกเปน 7 กลุม
เพื่อใหการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสํานักงาน
เขตพื้นที่มัธยมศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาระบบการปฏิบัติงานเพื่อยกระดับ
คุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงาน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไดจัดทํา
คูมือการปฏิบัติงานขึ้น
สําหรับคูมือปฏิบัติงานฉบับนี้ มีรายละเอียดของกระบวนงานและคูมือขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานของหนวยตรวจสอบภายใน ซึ่งเปนสวนราชการในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จากการวิเคราะห บทบาท อํานาจ
หนาที่ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหเกิดเปนภาระงาน หนวยตรวจสอบภายใน มีบทบาท
อํานาจ หนาที่ที่สําคัญ 5 ประการ ซึ่งเกี่ยวกับการดําเนินงานตรวจสอบการเงิน การบัญชี และระบบ
ดูแลทรัพยสิน การตรวจสอบการดําเนินงานหรือกระบวนการเปรียบเทียบกับผลผลิตหรือเปาหมายที่
กําหนด การประเมินการบริหารความเสี่ยง การดําเนินการอื่นเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในตามที่
กฎหมายกําหนด และการปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะทํางานที่ดําเนินการ
จัดทําคูมือการปฏิบัติงานสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และคณะผูวิพากษจากภูมิภาคตาง ๆ ไว ณ
โอกาสนี้
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
114
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
115
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1
1
Flow Chart 5
2 6
1. 9
1.1 19
1.1.1 21
1.1.2 27
1.2 32
1.2.1 (Financial Audit) 34
1.2.2 (Compliance Audit) 41
1.2.3 (Operational Audit) 48
1.2.4 (Performance Audit) 54
1.2.5 (Information Technology Audit) 63
1.2.6 (Management Audit) 69
1.2.7 (Special Audit) 76
1.3 79
2.
2.1 84
2.2 95
3. 101
สวนที่ 1
ตารางวิเคราะห
กระบวนงาน
2
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
แบบฟอรมการวิเคราะหงานของหนวยตรวจสอบภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
บทบาท/ภารกิจ/หนาที่ตาม
ประกาศศธ.
งาน/เรื่องขั้นตอนการปฏิบัติงาน
บุคคล/
หนวยงานที่
เกี่ยวของ
(ก)ดําเนินงานเกี่ยวกับงาน
ตรวจสอบการเงินการบัญชี
และตรวจสอบระบบการดูแล
ทรัพยสิน
1.งานตรวจสอบภายในสพท.และ
สถานศึกษาประกอบดวย
1.1งานประเมินระบบการควบคุม
ภายในและประเมินความเสี่ยงแยก
งานยอยไดดังนี้
1.1.1งานประเมินระบบการ
ควบคุมภายใน
1.1.2งานประเมินความเสี่ยง
1.2งานตรวจสอบภายในเพื่อให
ความเชื่อมั่นแยกตามประเภทงานตรวจ
ไดดังนี้
1.2.1การตรวจสอบทางการเงิน
(FinancialAudit)
1.2.2การตรวจสอบการปฏิบัติ
ตามกฎระเบียบ(ComplianceAudit)
1.หนวยตรวจสอบภายในรับนโยบายจาก
ผอ.สพป./สพม.และจากผลการประเมิน
ความเสี่ยงของสพท.และสถานศึกษาเพื่อ
จัดทําแผนการตรวจสอบประจําป
2.หนวยตรวจสอบภายในนําเสนอแผนการ
ตรวจสอบประจําปใหผอ.สพป./สพม.
พิจารณาอนุมัติและเมื่อไดรับการอนุมัติ
แผนแลวสําเนาแผนการตรวจสอบแจงให
สพฐ.ทราบ
3.จัดทําแผนการปฏิบัติงาน(Engagement
Plan)ของกิจกรรมงานตรวจสอบที่กําหนด
ในแผนการตรวจสอบพรอมจัดทําแนวการ
ตรวจสอบใหตอบสนองกับวัตถุประสงค
ของกิจกรรมงานตรวจสอบที่แผนกําหนด
และกําหนดเครื่องมือกระดาษทําการที่
สพท./
สถานศึกษา
(ข)ดําเนินงานเกี่ยวกับงาน
ตรวจสอบการดําเนินงานหรือ
กระบวนการเปรียบเทียบกับ
ผลผลิตหรือเปาหมายที่
กําหนด
(ค)ดําเนินงานเกี่ยวกับการ
ประเมินการบริหารความเสี่ยง
3
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
บทบาท/ภารกิจ/หนาที่ตาม
ประกาศศธ.
งาน/เรื่องขั้นตอนการปฏิบัติงาน
บุคคล/
หนวยงานที่
เกี่ยวของ
1.2.3การตรวจสอบการปฏิบัติงาน
(OperationalAudit)
1.2.4การตรวจสอบผลการ
ดําเนินงาน(PerformanceAudit)
1.2.5การตรวจสอบสารสนเทศ
(InformationTechnologyAudit)
1.2.6การตรวจสอบการบริหาร
(ManagementAudit)
1.3งานใหคําปรึกษา
จําเปนใชในการตรวจสอบใหพรอมกอนลง
มือตรวจสอบตามระยะเวลาที่แผนกําหนด
4.ปฏิบัติงานตรวจสอบตามแนวทางของ
แนวการตรวจสอบที่กําหนดไวพรอมจัดเก็บ
ขอมูลที่ตรวจสอบไดไวในกระดาษทําการที่
เกี่ยวของและสรุปผลการตรวจสอบ
5.จัดทํารายงานผลการตรวจสอบพรอม
ขอเสนอแนะแนวทางการแกไขเสนอใหผอ.
สพป./สพม.ทราบและพิจารณาสั่งการ
6.ติดตามผลการดําเนินการตาม
ขอเสนอแนะหรือตามที่ผอ.สพป./สพม.
สั่งการ
(ง)ดําเนินการอื่นเกี่ยวกับการ
ตรวจสอบภายในตามที่
กฎหมายกําหนด
2.งานบริหารการตรวจสอบ
2.1งานวางแผนการตรวจสอบภายใน
2.2งานประกันคุณภาพงานตรวจสอบ
ภายใน
3.งานธุรการและสารสนเทศ
1.สํารวจขอมูลเบื้องตนเพื่อใหเขาใจถึง
รายละเอียดงานระบบงานและผูเกี่ยวของ
2.ประเมินผลระบบการควบคุมภายในเพื่อ
พิจารณาความเพียงพอเหมาะสมของระบบ
การควบคุมภายในที่มีอยู
สพท./
สถานศึกษา
4
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
บทบาท/ภารกิจ/หนาที่ตาม
ประกาศศธ.
งาน/เรื่องขั้นตอนการปฏิบัติงาน
บุคคล/
หนวยงานที่
เกี่ยวของ
(จ)ปฏิบัติงานรวมกับหรือ
สนับสนุนการปฏิบัติงานของ
หนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือ
ที่ไดรับมอบหมาย
งานตรวจสอบพิเศษ(Special
Audit)
การตรวจสอบพิเศษ(Special
Audit)
1)สํารวจขอมูลเบื้องตนตามประเด็นขอ
รองเรียน/ขอสงสัยที่จะสอไปในทางทุจริต
2)กําหนดประเด็นและผูเกี่ยวของกับ
ประเด็นที่ตรวจสอบ
3)ดําเนินการตรวจสอบและรวบรวม
หลักฐานเอกสารรวมถึงถอยคําของ
ผูเกี่ยวของ
4)วิเคราะหและสรุปผลการตรวจสอบ
ขอเท็จจริงเปรียบเทียบกับระเบียบกฎหมาย
ที่เกี่ยวของ
5)รายงานตอผูอํานวยการสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ
สพท./
สถานศึกษา
ทั้งนี้FlowChartภารกิจงานของหนวยตรวจสอบภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาดังแนบ
5
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1.
./
2.1.2.1(FinancialAudit)
1.2.3(OperationalAudit)
1.2.2(ComplianceAudit)
1.2.4(PerformanceAudit)
1.2.6.(ManagementAudit)
1.2.5(InformationTechnologyAudit)
2.1
2.2
1.2.7.(SpecialAudit)
1.11.1.1
1.2
3.
1.3
1.1.2.
6
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
7
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
สวนที่ 2
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
8
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ประเภทเอกสาร : คูมือขั้นตอนการดําเนินงาน
ชื่อเอกสาร : งานตรวจสอบภายใน
9
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1. ชื่องาน งานตรวจสอบภายใน
2. วัตถุประสงค
1) เพื่อใหบริการ ดานความมั่นใจตอประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดําเนินงานและความ
คุมคาของการใชจายเงินในรูปของรายงานที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจของผูบริหาร
2) เพื่อสนับสนุนผูปฏิบัติงานทุกระดับใหสามารถปฏิบัติหนาที่และดําเนินงานเปนไปตาม
กฎหมายระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ ดวยการวิเคราะห ประเมิน ใหคําปรึกษาและให
ขอเสนอแนะ
3) เพื่อสนับสนุนใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา และสถานศึกษา
มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพภายใตคาใชจายที่เหมาะสม
3. ขอบเขตของงาน
ขอบเขตของงานตรวจสอบภายใน ประกอบดวย
1) ตรวจสอบ วิเคราะห ประเมินผล การปฏิบัติงานตางๆของหนวยงาน ดังนี้
1.1) ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุม
กํากับดูแล
1.2) ความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัดของการดําเนินงานหรือกิจกรรมตางๆ
ตลอดทั้งการใชทรัพยากร
1.3) ความถูกตอง เชื่อถือไดของขอมูลทางการเงิน การบัญชี และการดําเนินงานตางๆ
1.4) ความถูกตองในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกฎหมายระเบียบนโยบายตางๆของ
ทางราชการ
1.5) ความเพียงพอเหมาะสมในการควบคุมดูแลรักษาและความปลอดภัยของทรัพยสิน
2) ใหคําแนะนําในการปรับปรุงแกไขระบบปฏิบัติงาน การควบคุม การบริหารความเสี่ยง
การควบคุม กํากับดูแลใหการดําเนินงานถูกตอง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
ภารกิจงานตรวจสอบภายในของผูตรวจสอบภายในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
มัธยมศึกษา แยกไดเปน 2 ระดับ แตละระดับมีขอบเขตเรื่องที่ตรวจสอบดังตอไปนี้
1. งานตรวจสอบภายในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา มีขอบเขตงาน
ตรวจสอบแยกเรื่องได ดังนี้
10
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1) 4
2)
/
3)
(GFMIS)
4)
5)
6)
7)
2.
1)
.
2)
3)
4)
5)
6)
1) (Financial Audit)
2) (Compliance Audit)
3) (Operational Audit)
4) (Performance Audit)
5) (Information Technology Audit)
6) (Management Audit)
7) (Special Audit)
11
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1) (Financial Audit)
2) (Compliance Audit)
/
3) (Operational Audit)
/
4) (Performance Audit)
/
5) (Information Technology Audit)
6) (Management Audit)
/
/
(Good Governance)
12
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
7) (Special Audit)
/
4.
/
/
5.
1)
2)
3)
13
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1) วางแผนการตรวจสอบ มีขั้นตอนยอย คือ
1.1) สํารวจขอมูลเบื้องตน เพื่อใหผูตรวจสอบภายในเรียนรู และทําความเขาใจ
เกี่ยวกับงานของหนวยงานที่ตองทําการตรวจสอบในรายละเอียด เชน ลักษณะของงบประมาณและ
จํานวนเงินที่ไดรับ หลักการ ระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน ขั้นตอนการทํางานหรือสายงานการบังคับบัญชา
ขอมูลจากรายงานหรือสถิติ ประเภทของรายงานที่หนวยงานตองจัดทํา/จัดสง และระบบการควบคุมภายใน
ที่มีอยู รวมทั้งทําความคุนเคยกับหนวยงานและระบบงานที่จะเลือกมาตรวจสอบ ซึ่งจะชวยใหผูตรวจสอบ
สามารถประเมินความเสี่ยงในชั้นตนกอนจะดําเนินการตรวจสอบไดอยางเหมาะสมเปนระบบ
1.2) ประเมินระบบการควบคุมภายใน ผูตรวจสอบภายในตองประเมินผลระบบ
การควบคุมภายในของทุกกลุมในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ที่ไดจัดทําและ
ประเมินตนเองตามระเบียบคตง.วาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 กําหนด โดย
ผูตรวจสอบภายในตองพิจารณาถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
1.3) ประเมินความเสี่ยง ผูตรวจสอบภายในสามารถเลือกประเมินความเสี่ยงในระดับ
หนวยงานในทุกกลุมของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา หรือระดับงาน โครงการ
กิจกรรม ก็ไดตามความเหมาะสมกับศักยภาพของตน ซึ่งจะตองมีการระบุปจจัยเสี่ยง วิเคราะหความเสี่ยง
และจัดลําดับความเสี่ยง
1.4) จัดทําแผนการตรวจสอบ แผนการตรวจสอบ มี 2 ลักษณะคือ
1.4.1) แผนการตรวจสอบระยะยาว (Audit Universe) ระยะเวลา 3-5 ป โดยมี
แผนการตรวจสอบครอบคลุมหนวยรับตรวจที่อยูในความรับผิดชอบทั้งหมด ทั้งระดับสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา และสถานศึกษา
1.4.2) แผนการตรวจสอบประจําป (Audit Plan) ตองจัดทําใหสอดคลองกับ
แผนการตรวจสอบระยะยาวที่กําหนดไว และมีงานตามนโยบายที่ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาหรือ สพฐ.ใหความสําคัญ
ทั้งนี้ควรจัดทําแผนการตรวจสอบเสนอใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา/มัธยมศึกษาอนุมัติแผนการตรวจสอบ ภายใน 30 กันยายน และเมื่อไดรับการอนุมัติแผนแลว
สําเนาแผนการตรวจสอบแจงให สพฐ. ทราบ สําหรับองคประกอบของแผนการตรวจสอบ ประกอบดวย
วัตถุประสงคการตรวจสอบ ขอบเขตการปฏิบัติงาน ผูรับผิดชอบ และงบประมาณ
1.5) จัดทําแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) เมื่อไดรับการอนุมัติแผนการ
ตรวจสอบประจําปแลว ผูตรวจสอบภายในจัดทําแผนการปฏิบัติงาน(Engagement Plan) ในแตละเรื่อง
ของกิจกรรมงานตรวจสอบใหสอดคลองกับแผนการตรวจสอบประจําป แตมีความยืดหยุนใหสามารถแกไข
14
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ปรับปรุงใหเหมาะสมกับสถานการณ โดยมีรายละเอียดของเรื่อง และหนวยรับตรวจ วัตถุประสงคในการ
ปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน แนวทางการปฏิบัติงาน ผูรับผิดชอบและ ระยะเวลาที่จะตรวจสอบ
พรอมเครื่องมือกระดาษทําการใหพรอมกอนทําการตรวจสอบ
2) การปฏิบัติงานตรวจสอบ ปฏิบัติงานตรวจสอบตามระยะเวลาที่แผนกําหนด โดยมี
ขั้นตอนยอย คือ
2.1) กอนเริ่มปฏิบัติงานตรวจสอบ ผูตรวจสอบภายในเตรียมความพรอมเกี่ยวกับ
การซักซอมทีมงาน แจงหนวยรับตรวจทราบกําหนดเวลาเขาตรวจ วัตถุประสงคและขอบเขต หรือ
ประสานขอขอมูลที่จําเปนตองใชในการตรวจสอบ
2.2) ระหวางการปฏิบัติงานตรวจสอบ ผูตรวจสอบภายในประชุมเปดตรวจ
ทําการตรวจสอบโดยเลือกวิธีการตรวจสอบและเทคนิคการตรวจสอบใหเหมาะสม โดยรวบรวบขอมูลไว
ในกระดาษทําการ และปดตรวจโดยการแจงสรุปผลการตรวจสอบเบื้องตนที่เปนสาระสําคัญใหผูบริหารของ
หนวยรับตรวจทราบ เพื่อดําเนินการใหมีการปรับปรุงแกไข หรือทําความเขาใจกับผูปฏิบัติงาน
2.3) เมื่อเสร็จสิ้นงานตรวจสอบ เปนการรวบรวมหลักฐานกระดาษทําการและสรุปผล
การตรวจสอบ
3) การจัดทํารายงานและติดตามผล
3.1) รายงานผลการปฏิบัติงาน เสนอใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ทราบและพิจารณาสั่งการ ทั้งนี้ การเสนอรายงานผลการปฏิบัติงานเปน
เทคนิคอยางหนึ่งที่ผูตรวจสอบภายใน จะตองเอาใจใสเปนพิเศษ เพราะรายงานเปนการแสดงให
เห็นถึงคุณภาพของการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบภายในทั้งหมด ลักษณะของรายงานที่ดีตองเปน
รายงานที่มีประโยชนตอผูอานรายงาน เปนเรื่องที่มีสาระสําคัญ ขอตรวจพบเปนเรื่องที่ตรงกับขอเท็จจริง
ขอเสนอแนะหรือขอแนะนําเปนประโยชนและสามารถปฏิบัติได ทั้งนี้ใหจัดทํารายงานสรุปผลการตรวจสอบ
ประจําปแจงให สพฐ.ทราบ ภายใน 30 กันยายน ของทุกป หรือภายในระยะเวลาที่ สพฐ.กําหนด
3.2) การติดตามผล เปนขั้นตอนสุดทายของกระบวนงานตรวจสอบภายในที่ผูตรวจสอบภายใน
ตองติดตามผลวา ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ไดสั่งการไว
อยางไร และหนวยรับตรวจดําเนินการตามขอเสนอแนะของผูตรวจสอบภายในที่ผูบริหารสั่งการหรือไม
การติดตามผลเพื่อใหแนใจวาขอบกพรองที่พบไดรับการแกไขอยางเหมาะสม หรือมีปญหาอุปสรรค
อยางไรที่ไมอาจแกไขได และรายงานผลการติดตามใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ทราบผลหรือพิจารณาสั่งการเพิ่มเติม
15
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
6. Flow Chart การปฏิบัติงาน
กระบวนการ งานตรวจสอบภายใน
การวางแผนการตรวจสอบ
การปฏิบัติงานตรวจสอบ
การจัดทํารายงานและติดตามผล
7. แบบฟอรมที่ใช
กระดาษทําการตางๆ
สํารวจขอมูลเบื้องตน
จัดทําแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan)
จัดทําแผนการตรวจสอบระยะยาว/ประจําป
(Audit Universe หรือ Audit Plan)
ประเมินความเสี่ยง
ประเมินระบบการควบคุมภายใน
เสนอผอ.สพป./สพม.
เสนอ ผอ.ตสน.
การปฏิบัติเมื่อเสร็จสิ้นงานตรวจสอบ
(รวบรวมหลักฐาน กระดาษทําการ และสรุปผลการตรวจสอบ)
ระหวางการปฏิบัติงานตรวจสอบ
กอนเริ่มปฏิบัติงานตรวจสอบ
รายงานผลการปฏิบัติงาน
เสนอ ผอ.สพป./สพม.
ติดตามผลการแกไข
กระดาษ
ทําการ
16
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
8. เอกสาร / หลักฐานอางอิง
1) มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมของผูตรวจสอบภายในของสวนราชการ :
กรมบัญชีกลาง
2) ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการตรวจสอบภายในของสวนราชการ พ.ศ.2551 :
กระทรวงการคลัง
3) หนังสือแนวทางการตรวจสอบภายใน : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสมาคมผู
ตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย
4) หนังสือแนวปฏิบัติการตรวจสอบภายใน : กรมบัญชีกลาง
5) หนังสือแนวปฏิบัติประเมินความเสี่ยงเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ : กรมบัญชีกลาง
6) หนังสือแนวปฏิบัติการวางแผนการตรวจสอบและแผนการปฏิบัติงาน : กรมบัญชีกลาง
7) หนังสือคูมือการตรวจสอบภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
มัธยมศึกษา : หนวยตรวจสอบภายในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปงบประมาณ 2551
8) หนังสือคูมือการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสําหรับผูตรวจสอบภายในสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา : หนวยตรวจสอบภายในสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ 2549
17
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
9.แบบฟอรมสรุปมาตรฐานงาน
ชื่องาน1.งานตรวจสอบภายในสพท.หนวยตรวจสอบภายใน
วัตถุประสงค:1)เพื่อใหบริการดานความมั่นใจตอประสิทธิภาพประสิทธิผลของการดําเนินงานและความคุมคาของการใชจายเงินในรูปของรายงานที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจของผูบริหาร
2)เพื่อสนับสนุนผูปฏิบัติงานทุกระดับใหสามารถปฏิบัติหนาที่และดําเนินงานเปนไปตามกฎหมายระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพดวยการวิเคราะหประเมินใหคําปรึกษาและใหขอเสนอแนะ
3)เพื่อสนับสนุนใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาและสถานศึกษามีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพภายใตคาใชจายที่เหมาะสม
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
1วางแผนการตรวจสอบมี5ขั้นตอนยอยคือ
1.1สํารวจขอมูลเบื้องตนเพื่อใหผูตรวจสอบภายในเรียนรูและทําความเขาใจเกี่ยวกับงานของหนวยงาน
ที่ตองทําการตรวจสอบในรายละเอียด
1.2ประเมินระบบการควบคุมภายในผูตรวจสอบภายในตองประเมินผลระบบการควบคุมภายในของ
ทุกกลุมในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาโดยผูตรวจสอบภายในตองพิจารณาถึง
ความเหมาะสมและความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
1.3ประเมินความเสี่ยงผูตรวจสอบภายในสามารถเลือกประเมินความเสี่ยงในระดับ
หนวยงานในทุกกลุมของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาหรือระดับงานโครงการ
กิจกรรมก็ไดตามความเหมาะสมกับศักยภาพของตนซึ่งจะตองมีการระบุปจจัยเสี่ยงวิเคราะหความเสี่ยงและ
จัดลําดับความเสี่ยง
1.4จัดทําแผนการตรวจสอบระยะยาว(Audituniverse)หรือแผนการตรวจสอบประจําป(AuditPlan)
แลวแตกรณีโดยเสนอใหผอ.สพป./สพม.อนุมัติแผนภายใน30กันยายนและเมื่อไดรับการอนุมัติแผนการ
ตรวจสอบแลวสําเนาแผนการตรวจสอบแจงใหสพฐ.ทราบ
1.5จัดทําแผนการปฏิบัติงาน(EngagementPlan)ใหสอดคลองกับแผนการตรวจสอบประจําปแตมี
ความยืดหยุนใหสามารถแกไขปรับปรุงใหเหมาะสมกับสถานการณไดและมีรายละเอียดของเรื่องหนวยรับตรวจ
วัตถุประสงคขอบเขตแนวทางการปฏิบัติงานผูรับผิดชอบและระยะเวลาที่จะใชเสนอผอ.ตสน.อนุมัติ
พรอมเครื่องมือกระดาษทําการใหพรอมกอนทําการตรวจสอบ
ภายใน30
กันยายน
มาตรฐานการ
ตรวจสอบ
ภายในและ
จริยธรรมของ
ผูตรวจสอบ
ภายใน
ผอ.ตสน.
จัดทําแผนการปฏิบัติงาน
เสนอผอ.ตสน.
สํารวจขอมูล
ประเมินระบบการควบคุมภายใน
ประเมินความเสี่ยง
จัดทําแผนการตรวจสอบระยะยาว/
ประจําป
เสนอผอ.สพป./สพม.
18
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
2การปฏิบัติงานตรวจสอบมี3ขั้นตอนยอยคือ
2.1การเตรียมการกอนเริ่มปฏิบัติงานตรวจสอบของทีมงานและการประสานงานกับหนวยรับตรวจเพื่อ
ขอขอมูลลวงหนาที่จําเปน
2.2ระหวางการปฏิบัติงานตรวจสอบหลักฐานและรวบรวมขอมูลไวในกระดาษทําการโดยตองคํานึงถึง
ความเพียงพอที่จะสรุปผล
2.3เมื่อเสร็จสิ้นงานตรวจสอบเปนการรวบรวมหลักฐานกระดาษทําการและสรุปผลการตรวจสอบ
ภายใน
ระยะเวลาที่
แผนการ
ตรวจสอบ
ประจําป
กําหนด
ผูตรวจสอบ
ภายใน
3การจัดทํารายงานและติดตามผล
3.1จัดทํารายงานผลการตรวจสอบเสนอใหผอ.สพป./สพม.ทราบและพิจารณาสั่งการและจัดทําสรุป
รายงานผลการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําปใหสพฐ.ทราบอยางนอยปละครั้ง
3.2ติดตามผลการแกไขตามขอเสนอแนะที่ผอ.สพป./สพม.ไดสั่งการไวเพื่อใหแนใจวาขอบกพรองที่พบ
ไดรับการแกไขอยางเหมาะสมหรือมีปญหาอุปสรรคอยางไรที่ไมอาจแกไขไดและรายงานผลการติดตาม
ใหผอ.สพป./สพม.ทราบผลหรือพิจารณาสั่งการเพิ่มเติม
คําอธิบายสัญลักษณผังขั้นตอน
จุดเริ่มตนหรือสิ้นสุดกระบวนงานกิจกรรมงานหรือการปฏิบัติการตัดสินใจทิศทางหรือการเคลื่อนไหวของงานจุดเชื่อมตอระหวางหนา(ถาไมจบภายใน๑หนา)
ปฏิบัติงานตรวจสอบ
รายงานผล
ติดตามผลการแกไข
เสนอผอ.สพป.สพม.
19
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1.1
1.1.1
1.1.2
20
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ประเภทเอกสาร : คูมือขั้นตอนการดําเนินงาน
ชื่อเอกสาร : 1.1.1 งานประเมินระบบการควบคุมภายใน
21
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1. ชื่องาน 1.1.1 งานประเมินระบบการควบคุมภายใน
2. วัตถุประสงค
1) เพื่อใหทราบระบบการควบคุมภายในของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
มัธยมศึกษา ที่มีอยู มีความเหมาะสมเพียงพอหรือไม
2) เพื่อใหทราบวาการปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายในที่กําหนดไว ไดผลสําเร็จตาม
เปาหมายหรือวัตถุประสงคที่วางไว อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุมคาเพียงใด
3) เพื่อใหมีฐานขอมูลสารสนเทศเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ
3. ขอบเขตของงาน
1) สอบทานประเมินระบบการควบคุมภายในของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
มัธยมศึกษา ที่มีอยู วามีความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในปจจุบันหรือไม
2) สอบทานรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมของทุกกลุมงานในสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/ มัธยมศึกษาที่ไดจัดทําไว วาไดผลสําเร็จตามเปาหมายเพียงใด
3) ใหความเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม และจัดทํารายงานผลการสอบทานการควบคุม
ของผูตรวจสอบภายใน
4. คําจํากัดความ
การประเมินระบบการควบคุมภายใน เปนการพิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ของระบบการควบคุมที่มี
อยูในทุกกลุมงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา โดยการเปรียบเทียบผลการ
ปฏิบัติงานกับระบบการควบคุมที่กําหนดไว วามีความสอดคลองหรือไมเพียงใด และสอบทานระบบการ
ควบคุมภายในของหนวยงานวามีความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในปจจุบันหรือไม รวมทั้งวิเคราะห
และหาสาเหตุที่เกิดขึ้นเพื่อสรุปผล พรอมทั้งใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของ
หนวยงานใหมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
กําหนดให้ผู้ตรวจสอบภายใน สอบทานความเพียงพอของการควบคุมภายในทีส่วนราชการจัดทํา
22
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
( .)
.2
.3 . 1 .
/
( .)
1)
2)
3)
/
4)
5)
6) ( .)
/
7)
/ .1 .
8)
23
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
6. Flow Chart การปฏิบัติงาน
กระบวนการ งานประเมินระบบการควบคุมภายใน
7. แบบฟอรมที่ใช
1) แบบสอบถาม /กระดาษทําการ
2) รายงานแบบ ปส.
8. เอกสาร/ หลักฐานอางอิง
1) ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายในพ.ศ.2544
2) คูมือแนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน
ของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน
ศึกษาขอมูล ของกิจกรรมการควบคุมที่กําหนด
จัดเตรียมเครื่องมือการสอบทาน
กลุมอํานวยการ
ประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ทั้งในสวนที่มีการจัดวาง และไมจัดวาง
ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
จัดทํารายงาน ตามแบบ ปส.
สอบทานการปฏิบัติงาน
ธุรการและสารสนเทศ
24
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
9.แบบฟอรมสรุปมาตรฐานงาน
ชื่องาน1.1.1งานประเมินระบบการควบคุมภายในสพท.หนวยตรวจสอบภายใน
วัตถุประสงค:1)เพื่อใหทราบระบบการควบคุมภายในของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาที่มีอยูมีความเหมาะสมเพียงพอหรือไม
2)เพื่อใหทราบวาการปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายในที่กําหนดไวไดผลสําเร็จตามเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่วางไวอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผลและคุมคาเพียงใด
3)เพื่อใหมีฐานขอมูลสารสนเทศเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
1ศึกษาขอมูลของกิจกรรมการควบคุมที่กําหนดไวในปปจจุบันและการปรับปรุงการควบคุม
ใหมวามีอะไรบาง
ระยะเวลา
ตาม
แผนการ
ตรวจสอบ
ประจําป
กําหนด
มาตรฐานการ
ตรวจสอบ
ภายใน
มาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน
รหัส2120
การควบคุม
และ
ระเบียบคตง.
วาดวยการ
กําหนด
มาตรฐานการ
ควบคุมภายใน
พ.ศ.2544
หนวย
ตรวจสอบ
ภายใน
2จัดเตรียมเครื่องมือการสอบทาน
3ประเมินผลระบบการควบคุมภายในทั้งในสวนที่ไดมีการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
ไวแลวและที่ไมไดมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในไวเพื่อใหทราบวากิจกรรมการ
ควบคุมที่จัดวางไวแลวครอบคลุมภารกิจหลักของแตละกลุมงานในสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา
4สอบทานผลการปฏิบัติงานวากิจกรรมการควบคุมที่กําหนดไวสามารถลดความเสี่ยงได
เพียงใดซึ่งรวมถึงผลการตรวจสอบอื่นที่เกี่ยวของที่ไดทําการตรวจสอบแลวตาม
แผนการตรวจสอบประจําปกําหนด
5ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในที่กําหนดไวโดยการเปรียบเทียบผล
การปฏิบัติงานที่สุมตรวจกับระบบการควบคุมที่กําหนดไววาสามารถลดความเสี่ยง
สําคัญไดหรือไมเพียงใดหรือมีความเสี่ยงใดที่ตองกิจกรรมการควบคุมเพิ่มเติม
ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
ประเมินผลระบบการควบคุมภายใน
ทั้งในสวนที่มีการจัดวางและไมจัดวาง
จัดเตรียมเครื่องมือการสอบทาน
สอบทานการปฏิบัติงาน
ศึกษาขอมูลของกิจกรรมการควบคุม
25
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
6จัดทํารายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมของผูตรวจสอบภายใน(ปส.)สงให
กลุมที่รับผิดชอบการจัดวางระบบการควบคุมภายในของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา/มัธยมศึกษากลุมที่รับผิดชอบฯเสนอรายงานทั้งหมดใหผูอํานวยการ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาพิจารณากอนลงนามหนังสือ
รับรองการประเมินตามแบบปอ.1เพื่อสงสตง.ตอไป
7รวบรวมขอมูลผลการประเมินระบบควบคุมภายในเปนสารสนเทศเพื่อใชในการประเมิน
และจัดลําดับความเสี่ยงและวางแผนการตรวจสอบตอไป
คําอธิบายสัญลักษณผังขั้นตอน
จุดเริ่มตนหรือสิ้นสุดกระบวนงานกิจกรรมงานหรือการปฏิบัติการตัดสินใจทิศทางหรือการเคลื่อนไหวของงานจุดเชื่อมตอระหวางหนา(ถาไมจบภายใน๑หนา)
กลุมอํานวยการ
จัดทํารายงานตามแบบปส.ธุรการ
และ
สารสน
เทศ
26
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ประเภทเอกสาร : คูมือขั้นตอนการดําเนินงาน
ชื่อเอกสาร : 1.1.2 งานประเมินความเสี่ยง
27
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1. ชื่องาน 1.1.2 งานประเมินความเสี่ยง
2. วัตถุประสงค
เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถวางแผนการตรวจสอบไดครอบคลุมภารกิจที่สําคัญ และ
เปนไปอยางมีหลักเกณฑ มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมภายใตขอจํากัดตางๆ
3. ขอบเขตของงาน
ประเมินความเสี่ยงของกิจกรรมการบริหารงานในดานตางๆ ของทุกกลุมงานในสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/ มัธยมศึกษา เชน ดานกลยุทธ ดานการดําเนินงานหรือปฏิบัติงานตามหนาที่ความ
รับผิดชอบ ดานการบริหารความรู ดานการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ อยางนอย
ปละ 1 ครั้ง
4. คําจํากัดความ
ความเสี่ยง (Risk) สถานการณที่อาจจะเกิดขึ้นและเปนอุปสรรคตอการบรรลุเปาหมายขององคกร
หรืออาจหมายถึง โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ หรือการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งมีผลกระทบใหการ
ดําเนินงานขององคกรเกิดความเสียหาย ความผิดพลาด การรั่วไหล ความสูญเปลาและไมบรรลุวัตถุประสงค
ของหนวยงาน ซึ่งรวมถึงการทําใหวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคกรเบี่ยงเบนไป
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการระบุปจจัยเสี่ยงและวิเคราะห
ความเสี่ยงอยางเปนระบบ รวมถึงการจัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยงวาเหตุการณใดหรือเงื่อนไขอยางใดที่
จะมีผลตอการไมบรรลุวัตถุประสงคขององคกร การประเมินความเสี่ยงจึงเปนแนวคิดในเชิงปองกันเหตุการณที่
อาจเกิดผลกระทบกับองคกร
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การประเมินความเสียงเป็นกระบวนงานทีเชือมต่อมาจากการประเมินระบบควบคุมภายใน ซึงในการตรวจสอบ
แต่ละกิจกรรมจะมีการประเมินการควบคุมภายในและประเมินความเสียงเสมอ สําหรับกระบวนงานนีเป็นการนําเสนอ
การประเมินความเสียงเพือการวางแผนการตรวจสอบระยะยาวและแผนการตรวจสอบประจําปี ซึงกระทรวงการคลังได้มี
คู่มือการปฏิบัติงานเพือการนีโดยเฉพาะให้ศึกษาเพิมเติม ทังนีสรุปขันตอนการปฏิบัติงานได้ดังนี
28
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1) ศึกษาและทําความเขาใจสภาพแวดลอมโดยรวม ของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
มัธยมศึกษา ทั้งภายในและภายนอก เชน โครงสราง กลยุทธการดําเนินงาน ระบบงาน หรือการปฏิบัติงาน
ตามกิจกรรมสําคัญๆ ความรูความสามารถของผูปฏิบัติงานในเบื้องตน กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวของกับการ
ปฏิบัติงานตามภาระหนาที่ และนโยบายตางๆที่เกี่ยวของ
2) ศึกษาทําความเขาใจวัตถุประสงคและเปาหมายงาน ทั้งในระดับหนวยงาน และระดับกิจกรรม
3) จัดทําและรวบรวมขอมูลเบื้องตน เชน โครงสราง ผังทางเดินขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขอมูลผล
การดําเนินงานของทุกกลุม ทั้งจากภายในและภายนอก
4) ประเมินผลระบบการควบคุมภายในของหนวยงานหรือของกิจกรรมตางๆ ทั้งที่มีการจัดวางแลว
และยังไมจัดวาง ซึ่งขั้นตอนนี้อยูในกระบวนงานการประเมินระบบการควบคุมภายใน
5) ระบุปจจัยเสี่ยง โดยแยกปจจัยเสี่ยงตามกิจกรรมการบริหารแตละดาน ซึ่งตามแนวทางที่
กรมบัญชีกลางกําหนดมี 5 ดาน ไดแก ดานกลยุทธ ดานการดําเนินงาน ดานการบริหารความรู ดานการเงิน
และดานการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ซึ่งการกําหนดปจจัยเสี่ยง อยางนอยควรมี 3 ดานขึ้นไป ไดแก
ดานการดําเนินงาน ดานการเงินหรืองบประมาณ และดานการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ
6) วิเคราะหความเสี่ยง โดยอาจใชแบบสอบถามหรือขอตกลง จากทุกกลุมงาน เพื่อกําหนดเกณฑ
และระดับความเสี่ยงของงาน ทั้งนี้สามารถวิเคราะหความเสี่ยงแยกตามกลุม หรือแยกตามกิจกรรม
7) จัดลําดับความเสี่ยง เปนการรวบรวมและจัดลําดับของความเสี่ยงทั้งหมดที่วิเคราะหได โดย
จัดลําดับจากมากไปหานอย
8) จัดทําบัญชีรายการความเสี่ยง เปนการจัดทําขอมูลสารสนเทศ ของประวัติหรือบัญชีรายการ
ความเสี่ยงในภาพรวมของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/ มัธยมศึกษา วามีความเสี่ยงในกิจกรรม
ใดบาง และมีความเสี่ยงในดานใด
9) นําผลการประเมินความเสี่ยงไปใชเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ เปนการนําผลการจัดลําดับ
ความเสี่ยงมาพิจารณาในการวางแผนการตรวจสอบ ทั้งนี้ ใหพิจารณาถึงนโยบายและแผนการบริหารความ
เสี่ยงของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/ มัธยมศึกษา ที่มีอยู เรื่องที่ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/ มัธยมศึกษา ตองการใหตรวจ และเรื่องที่อยูในความสนใจของสาธารณชน
29
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ฏ
กระบวนงาน งานประเมินความเสี่ยง
7. แบบฟอรมที่ใช
1) แบบสอบถาม
2) กระดาษทําการเก็บขอมูล เพื่อชวยในการวิเคราะหและจัดลําดับความเสี่ยง
3) กระดาษทําการจัดทําปจจัยเสี่ยงและเกณฑความเสี่ยง
8. เอกสาร/ หลักฐานอางอิง
หนังสือกระทรวงการคลัง ที่กค 0416.3/ว 380 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2546 แนวปฏิบัติการตรวจสอบ
ภายในภาคราชการ เรื่อง การประเมินความเสี่ยงเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ
ศึกษาและทําความเขาใจวัตถุประสงค เปาหมายของงาน
จัดลําดับความเสี่ยง
จัดทําและรวบรวมขอมูลเบื้องตน ของโครงสราง ผังการปฏิบัติงาน ผลการดําเนินงานฯ
ศึกษาทําความเขาใจสภาพแวดลอมโดยรวม
นําผลการประเมินไปใชเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ
ประเมินระบบการควบคุมภายใน
ระบุปจจัยเสี่ยง
วิเคราะหความเสี่ยง
จัดทําบัญชีรายการความเสี่ยง
30
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
9.แบบฟอรมสรุปมาตรฐานงาน
ชื่องาน1.1.2งานประเมินความเสี่ยงสพท.หนวยตรวจสอบภายใน
วัตถุประสงค:เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถวางแผนการตรวจสอบไดครอบคลุมภารกิจที่สําคัญและเปนไปอยางมีหลักเกณฑมีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมภายใตขอจํากัดตางๆ
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
1ศึกษาและทําความเขาใจสภาพแวดลอมโดยรวมของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาทั้งภายในและภายนอกเชนโครงสราง
กลยุทธการดําเนินงานระบบงานหรือการปฏิบัติงานตามกิจกรรมสําคัญๆ
ความรูความสามารถของผูปฏิบัติงานในเบื้องตนกฎหมายระเบียบที่
เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานตามภาระหนาที่และนโยบายตางๆที่เกี่ยวของ
ภายใน30
กันยายน
มาตรฐานการ
ตรวจสอบภายใน
มาตรฐานการ
ปฏิบัติงานรหัส
2110
หนวยตรวจสอบ
ภายใน
2ศึกษาทําความเขาใจวัตถุประสงคและเปาหมายงานทั้งในระดับหนวยงาน
และระดับกิจกรรม
3จัดทําและรวบรวมขอมูลเบื้องตนเชนโครงสรางผังทางเดินขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานขอมูลผลการดําเนินงานของทุกกลุมทั้งจากภายในและภายนอก
4ประเมินผลระบบการควบคุมภายในของหนวยงานหรือของกิจกรรมตางๆ
ทั้งที่มีการจัดวางแลวและยังไมจัดวางซึ่งขั้นตอนนี้อยูในกระบวนงานการ
ประเมินระบบการควบคุมภายใน
5ระบุปจจัยเสี่ยงโดยแยกปจจัยเสี่ยงตามกิจกรรมการบริหารแตละดานซึ่ง
ตามแนวทางที่กรมบัญชีกลางกําหนดมี5ดานไดแกดานกลยุทธดานการ
ดําเนินงานดานการบริหารความรูดานการเงินและดานการปฏิบัติตาม
กฎหมายและระเบียบซึ่งการกําหนดปจจัยเสี่ยงอยางนอยควรมี3ดานขึ้น
ไปไดแกดานการดําเนินงานดานการเงินหรืองบประมาณและดานการ
ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ
จัดทําและรวบรวมขอมูลเบื้องตนของโครงสราง
ผังการปฏิบัติงานผลการดําเนินงานฯ
ประเมินระบบการควบคุมภายใน
ศึกษาและทําความเขาใจวัตถประสงคเปาหมายของ
ศึกษาทําความเขาใจ
สภาพแวดลอมโดยรวม
ระบุปจจัยเสี่ยง
31
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
6วิเคราะหความเสี่ยงโดยอาจใชแบบสอบถามหรือขอตกลงจากทุกกลุมงาน
เพื่อกําหนดเกณฑและระดับความเสี่ยงของงานทั้งนี้สามารถวิเคราะหความ
เสี่ยงแยกตามกลุมหรือแยกตามกิจกรรม
7จัดลําดับความเสี่ยงเปนการรวบรวมและจัดลําดับของความเสี่ยงทั้งหมดที่
วิเคราะหไดโดยจัดลําดับจากมากไปหานอย
8จัดทําบัญชีรายการความเสี่ยงเปนการจัดทําขอมูลสารสนเทศหรือบัญชี
รายการความเสี่ยงในภาพรวมของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
มัธยมศึกษาวามีความเสี่ยงในกิจกรรมใดบางและมีความเสี่ยงในดานใด
9นําผลการประเมินความเสี่ยงไปใชเพื่อการวางแผนการตรวจสอบเปนการ
นําผลการจัดลําดับความเสี่ยงมาพิจารณาในการวางแผนการตรวจสอบทั้งนี้
ใหพิจารณาถึงนโยบายและแผนการบริหารความเสี่ยงของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาที่มีอยูเรื่องที่ผูอํานวยการสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาตองการใหตรวจและเรื่องที่อยูใน
ความสนใจของสาธารณชน
คําอธิบายสัญลักษณผังขั้นตอน
จุดเริ่มตนหรือสิ้นสุดกระบวนงานกิจกรรมงานหรือการปฏิบัติการตัดสินใจทิศทางหรือการเคลื่อนไหวของงานจุดเชื่อมตอระหวางหนา(ถาไมจบภายใน๑หนา)
จัดลําดับความเสี่ยง
นําผลการประเมินไปใชเพื่อ
การวางแผนการตรวจสอบ
วิเคราะหความเสี่ยง
จัดทําบัญชีรายการความเสี่ยง
1.2 งานตรวจสอบดานการใหความเชื่อมั่น แยกตามประเภทการตรวจสอบ ไดแก
1.2.1 งานตรวจสอบการเงินการบัญชี (Financial Audit)
1.2.2 งานตรวจสอบการปฏิบัติการตามกฎระเบียบ (Compliance Audit)
1.2.3 งานตรวจสอบการปฏิบัติงาน (Operational Audit)
1.2.4 งานตรวจสอบการดําเนินงาน (Performance Audit)
1.2.5 งานตรวจสอบสารสนเทศ (Information Technology Audit)
1.2.6 งานตรวจสอบการบริหาร (Management Audit)
1.2.7 งานตรวจสอบพิเศษ (Special Audit)
ประเภทเอกสาร : คูมือขั้นตอนการดําเนินงาน
ชื่อเอกสาร : 1.2.1 งานตรวจสอบการเงินการบัญชี
(Financial Audit)
34
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
1. ชื่องาน 1.2.1 งานตรวจสอบการเงินการบัญชี (Financial Audit)
2. วัตถุประสงค
1) ตรวจสอบการใชจายเงินของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา
และสถานศึกษา ใหเปนไปตามระเบียบ แนวปฏิบัติ ขอกําหนดตาง ๆ หรือการควบคุมการใชจายเงินให
ถูกตอง เหมาะสม
2) ตรวจสอบความครบถวน ถูกตอง เปนปจจุบันของการบันทึกรายการทางบัญชี และ
รายงานทางการเงิน
3) สอบทานความเพียงพอ เหมาะสมของระบบการควบคุมภายในดานการเงินการบัญชี
3. ขอบเขตของงาน
ตรวจสอบระบบการเงินการบัญชีของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา
และสถานศึกษา ในดานการบริหารการเงินการรับจายเงินการเก็บรักษาเงินการจัดทําบัญชี การรายงานทาง
การเงิน วาถูกตองครบถวน เปนปจจุบัน และการควบคุมทางการเงิน มีความเพียงพอ เหมาะสมเชื่อถือ
ไดและมีความโปรงใส
4. คําจํากัดความ
การตรวจสอบการเงินการบัญชี เปนการตรวจสอบที่มุงจะพิสูจน ความนาเชื่อถือของขอมูลทาง
การเงินการบัญชีวา เอกสารประกอบรายการทางการเงินและการบัญชี รายการที่บันทึกและรายงานที่
ปรากฏ ถูกตอง ครบถวน เปนปจจุบัน โปรงใส และสมเหตุสมผล และมั่นใจไดวาการควบคุมทางการเงินที่
มีอยูในระบบการเบิกจายเงิน การรับเงิน การจายเงิน การนําสง / นําฝาก และการเก็บรักษาเงิน มีความ
เหมาะสมเพียงพอที่จะทําใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1) ศึกษาวิเคราะห ระเบียบ กฎหมาย ทางการเงินการบัญชี และขอมูลทั่วไปของกิจกรรม
ตามแผนการตรวจสอบประจําป (Audit Plan) เพื่อนํามาจัดทําแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan)
ที่มีการประเมินความเสี่ยงเบื้องตน นํามากําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ และขอบเขตการตรวจสอบ
2) กําหนดประเด็นการตรวจสอบใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการตรวจ พรอมจัดทําแนวทาง
การตรวจสอบ (Audit Program) ระบบการเงินการบัญชี และการสอบทานการควบคุมภายใน
35
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
3)
4) (Audit Program)
-
-
-
-
5)
6) (Audit Report )
/
7)
8) (AuditFollow up)
9) /
10)
36
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
6. Flow Chart การปฏิบัติงาน
กระบวนการ งานตรวจสอบการเงินการบัญชี
ทบทวน
เห็นชอบ
สั่งการเพิ่มเติม
เสร็จสิน
ศึกษาวิเคราะหระเบียบฯ จัดทําแผนปฏิบัติงาน
(Engagement Plan)
จัดทํารายงานผลการตรวจสอบ
เสนอ ผอ. สพป./สพม.
ดําเนินการตรวจสอบ
กําหนดประเด็นการตรวจสอบ จัดทําแนวทางการตรวจสอบ
(Audit Program)
วิเคราะหสรุปผลการตรวจสอบ
จัดเก็บเปนสารสนเทศ
จัดทําเครื่องมือกระดาษทําการ
แจงหนวยรับตรวจแกไข
ติดตามผลการแกไข /สรุปผลการแกไข
จัดทํารายงาน
เสนอ ผอ. สพป./สพม.
37
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
7.
8. /
1) . . 2542
2)
. . 2545
3) . .2551
4)
5)
2549 2551
38
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
9.แบบฟอรมสรุปมาตรฐานงาน
ชื่องาน1.2.1การตรวจสอบการเงินการบัญชี(FinancialAudit)สพท.หนวยตรวจสอบภายใน
วัตถุประสงค:1)ตรวจสอบการใชจายเงินของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาและสถานศึกษาใหเปนไปตามระเบียบแนวปฏิบัติขอกําหนดตางๆหรือการควบคุมการใชจายเงินใหถูกตอง
เหมาะสม
2)ตรวจสอบความครบถวนถูกตองเปนปจจุบันของการบันทึกรายการทางบัญชีและรายงานทางการเงิน
3)สอบทานความเพียงพอเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในดานการเงินการบัญชี
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
1ศึกษาวิเคราะหระเบียบกฎหมายทางการเงินการบัญชีและขอมูลทั่วไปของกิจกรรมตาม
แผนการตรวจสอบประจําป(AuditPlan)เพื่อนํามาจัดทําแผนการปฏิบัติงาน
(EngagementPlan)ที่มีการประเมินความเสี่ยงเบื้องตนนํามากําหนดวัตถุประสงคการ
ตรวจสอบและขอบเขตการตรวจสอบ
ตาม
ระยะเวลาที่
แผนการ
ตรวจสอบ
ประจําป
กําหนด
มาตรฐานการ
ตรวจสอบ
ภายใน
รหัสชุด2300
การปฏิบัติงาน
ผูตรวจสอบ
ภายใน
ผูรับผิดชอบ
กิจกรรมตาม
แผน2กําหนดประเด็นการตรวจสอบใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการตรวจพรอมจัดทําแนวทางการ
ตรวจสอบ(AuditProgram)ระบบการเงินการบัญชีและการสอบทานการควบคุมภายใน
3จัดทําเครื่องมือกระดาษทําการตรวจสอบเพื่อเก็บขอมูล
4ดําเนินการตรวจสอบตามแนวทางการตรวจสอบ(AuditProgram)โดยสอบทานการ
ปฏิบัติงานดานการเงินและการบัญชีและการสอบทานการควบคุมภายใน
5
ทบทวน
วิเคราะหและสรุปผลการตรวจสอบ
6จัดทํารายงานผลการตรวจสอบ(AuditReport)พรอมขอเสนอแนะในการแกไขปรับปรุง
รายงานตอผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา
รหัสชุด2400
การรายงาน
ผล
ดําเนินการตรวจสอบ
จัดทําเครื่องมือกระดาษทําการ
วิเคราะหสรุปผลการตรวจสอบ
กําหนดประเด็นจัดทําแนวทางการตรวจสอบ(AuditProgram)
ศึกษาวิเคราะหระเบียบฯจัดทําแผน
ปฏิบัติงาน(EngagementPlan)
ทํารายงานเสนอ
ผอ.สพป./สพม.
39
คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนวยตรวจสอบภายใน
ลําดับผังขั้นตอนการดําเนินงานรายละเอียดงาน
เวลา
ดําเนินการ
มาตรฐาน
คุณภาพงาน
ผูรับผิดชอบ
7แจงหนวยรับตรวจทราบผลการตรวจสอบและแกไขตามขอเสนอแนะโดยใหแจงผลการดําเนินการ
แกไขภายในกําหนดเวลา
รหัสชุด2500
การติดตามผล
8ติดตามผลการแกไขปรับปรุงตามขอเสนอแนะ(AuditFollowup)และวิเคราะหสรุปผลการแกไข
วาเปนไปตามขอเสนอแนะเพียงใด
9รายงานผลเสนอผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาใหทราบ
ผลการแกไขหรือพิจารณาสั่งการเพิ่มเติมแลวแตกรณี
10ผลการแกไขที่เห็นวาเสร็จสิ้นใหรวบรวมเก็บเปนขอมูลสารสนเทศ
คําอธิบายสัญลักษณผังขั้นตอน
จุดเริ่มตนหรือสิ้นสุดกระบวนงานกิจกรรมงานหรือการปฏิบัติการตัดสินใจทิศทางหรือการเคลื่อนไหวของงานจุดเชื่อมตอระหวางหนา(ถาไมจบภายใน๑หนา)
จัดเก็บเปนสารสนเทศ
แจงหนวยรับตรวจแกไข
ติดตามผลการแกไข/สรุปผลการแกไข
จัดทํารายงาน
เสนอผอ.สพป./สพม.
ประเภทเอกสาร : คูมือขั้นตอนการดําเนินงาน
ชื่อเอกสาร : 1.2.2 งานตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
(Compliance Audit)
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน
คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน

More Related Content

What's hot

สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้าThakorn Yimtae
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558ประพันธ์ เวารัมย์
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษาคู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษาTotsaporn Inthanin
 

What's hot (20)

หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
สรุปพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
หลักสูตรกิจกรรมผู้บำเพ็ญ56
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษาคู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
 

More from ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล

เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 

More from ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล (20)

การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
 
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
 
2562
25622562
2562
 
62
6262
62
 
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
 
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.การแบ่งส่วนราชการ สพป.
การแบ่งส่วนราชการ สพป.
 
Kum 2
Kum 2Kum 2
Kum 2
 
Kum 2
Kum 2Kum 2
Kum 2
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉัยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
 
co 1
co 1co 1
co 1
 
Kum 1
Kum 1Kum 1
Kum 1
 
Kum 1
Kum 1Kum 1
Kum 1
 
kum
kumkum
kum
 
Kum 1
Kum 1Kum 1
Kum 1
 
Kum 1
Kum 1Kum 1
Kum 1
 
Kum 1
Kum 1Kum 1
Kum 1
 
คำวินิจฉัยข้อมูลข่าวสาร
คำวินิจฉัยข้อมูลข่าวสารคำวินิจฉัยข้อมูลข่าวสาร
คำวินิจฉัยข้อมูลข่าวสาร
 
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
 
Protect kru studetn
Protect kru studetnProtect kru studetn
Protect kru studetn
 

คู่มือการปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน