SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Free Powerpoint Templates
Page 1
Free Powerpoint Templates
โรคลีเจียนเนลโลสิส
(Legionellosis)
Free Powerpoint Templates
Page 2
สถานการณ์โรค :
• พ.ศ.2490 พบผู้ป่ วยรายแรก
• พ.ศ. 2500 ระบาดครั้งแรกที่รัฐ
มินนิโซตา
• พ.ศ. 2519 ระบาดครั้งใหญ่ ใน
หมู่ผู้ร่วมประชุมสมาคม "สหาย
สงคราม" (American Legion
Convention) ที่เมืองฟิ ลาเดล
เฟี ย สหรัฐอเมริกา
Free Powerpoint Templates
Page 3
สถานการณ์
โรค
• จึงเป็ นที่มาของชื่อ "โรค Legionella
pneumophila"
• พ . ศ . 2527 ร า ย ง า น ค รั้ง แ ร กใ น
ประเทศไทย
• โรงพยาบาลชลประทาน นนทบุรี
พบผู้ป่ วย คิดเป็ นร้อยละ 4.16 ของ
ผู้ป่ วยปอดอักเสบทั้งหมดที่รับไว้รักษา
ในโรงพยาบาล
Free Powerpoint Templates
Page 4
Free Powerpoint Templates
Page 5
สถิติการแพร่ระบาดของโรคลี
เจียนแนร ์ทั่วโลก
ปี ค.ศ. 1976 จานวนผู้ป่ วย จานวน
ผู้เสียชีวิต
แหล่งที่พบ ประเทศที่พบ
1976 221 34 หอผึ่งเย็น สหรัฐอเมริกา
2001 449 6 หอผึ่งเย็น สเปน
2002 172 7 หอผึ่งเย็น อังกฤษ
2004 86 21 หอผึ่งเย็น ฝรั่งเศส
2005 21 0 หอผึ่งเย็น สหรัฐอเมริกา
2006 10 1 หอผึ่งเย็น ออสเตรเลีย
2006 26 2 หอผึ่งเย็น ฝรั่งเศส
2006-2007 4 0 ไม่ระบุ ประเทศไทย
(ภูเก็ต)
แหล่งข ้อมูล :
http://en.wikipedia.org/wiki/legionell
Free Powerpoint Templates
Page 6
Free Powerpoint Templates
Page 7
จานวนผู้ป่ วยโรค Legionnaire
ประเทศไทย
ระหว่างปี พ.ศ.2536-2553
Free Powerpoint Templates
Page 8
สาเหตุ
• เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ลีเจียนแนลลา
นิวโมฟิ ลลา (Legionella
pneumophilla)
• พบได้ทั่วไปในแหล่งน้าที่มีอุณหภูมิ
32-45˚C
• สามารถมีชีวิตอยู่ได้นานหลายเดือน
ในสิ่งแวดล้อมที่มีความชื้นสูง และ
่ ่
Free Powerpoint Templates
Page 9
Free Powerpoint Templates
Page 10
ลักษณะของเชื้อ Legionella
• ลักษณะของเชื้อนี้ ผอมบาง อาจมีรูปร่างได้
มากกว่าหนึ่งแบบ ขนาด 2-20 ไมครอนย้อม
ติดสีแกรมลบ
• บางครั้งเปลี่ยนรูปเป็ นชนิดตัวยาว มีหางตรง
เมื่ออยู่ในสภาพ แวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์จะ
เจริญเติบโตได้รวดเร็ว
• โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์มีสองชั้น มีขน
เล็กโบกสะบัดและมีแฟลกเจลลาหนึ่งอัน ช่วย
ให้เชื้อสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว
Free Powerpoint Templates
Page 11
ระยะฟักตัว
• โรคลีเจียนแนร ์ 2-10 วัน ส่วนใหญ่จะปรากฏ
อาการภายใน 5-6 วัน
• โรคไข้ปอนเตียกจะปรากฏอาการ 5-6
วัน แต่ส่วนใหญ่จะปรากฏอาการ 24-48
ชั่วโมง
Free Powerpoint Templates
Page 12
Cooling Tower
น้าพุเทียม
อ่างน้าร้อน
บ่อ บึง สระน้า
ดินริมตลิ่งของแหล่งน้า
Free Powerpoint Templates
Page 13
Sources of Legionella Infection: Cooling Towers
Free Powerpoint Templates
Page 14
วิธีการติดต่อ
• การสูดหายใจเอาเชื้อที่ปนเปื้ อนอยู่
ในละอองฝอยของน้า เช่น น้าจาก
ห อ ผึ่ ง เ ย็ น ค ว า ม ร้อ น ( cooling
towers) ของระบบปรับอากาศ ฝักบัว
อาบน้า อ่างน้าวน เครื่องมือช่วย
หายใจ น้าพุสาหรับตกแต่งอาคาร
สถานที่ต่างๆ
• การแพร่เชื้อจากคนไปสู่คนยังไม่มี
Free Powerpoint Templates
Page 15
Free Powerpoint Templates
Page 16
Free Powerpoint Templates
Page 17
ลักษณะโรค
• อาการทาง คลินิกแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
1.โรคลีเจียนแนร ์
Legionella Pneumonia
(“Legionnaires’ Disease”).
2.โรคไข้ปอนเตียก (Pontiac Fever)
Free Powerpoint Templates
Page 18
โรคลีเจียนแนร ์
Legionella Pneumonia
(“Legionnaires’ Disease”).
Free Powerpoint Templates
Page 19
อาการและอาการแสดง
• เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวด
กล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
• มีไข้สูงหนาวสั่น อุณหภูมิสูงถึง 39-
40 ˚C
• ไอไม่มีเสมหะ ปวดท้อง อุจจาระร่วง
• ภาพเอ็กซเรย์ปอดมีการอักเสบเป็ น
ปื้นหรือจุดขาว
• การหายใจล้มเหลวถึงเสียชีวิตได้
Free Powerpoint Templates
Page 20
Free Powerpoint Templates
Page 21
กลุ่มเสี่ยง
• กลุ่มผู้สูงอายุ
• กลุ่มผู้สูบบุหรี่
• กลุ่มที่มีการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์จัด
• กลุ่มบุคคลที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่า หรือเป็ น
โรคต่าง ๆ เช่น มะเร็ง โรคไต โรคปอด
โรคเบาหวาน โรคติดเชื้อ เอชไอวี
• ผู้ที่อยู่ระหว่างการปลูกถ่ายเนื้อเยื่อ (ไต
หัวใจ)
Free Powerpoint Templates
Page 22
ไข้ปอนเตียก
• มีลัก ษ ณ ะ อ า ก า ร ที่แ ส ด ง
เบื้องต้น เหมือนกับการเกิด
โรค ลีเจียนแนร ์ในช่องปอด
• มีอาการไอร่วมด้วย ไม่มี
อ า ก า ร ป อ ด บ ว ม ห รื อ
เสียชีวิต ผู้ป่ วยจะหายได้เอง
ภายใน 2-5 วัน แม้จะไม่ได้
รับการรักษา
Free Powerpoint Templates
Page 23
การวินิจฉัยโรค
Free Powerpoint Templates
Page 24
Treatment of Legionella
• Effective Agents:
 Macrolides
 Fluoroquinalones
 Tetracyclines
• Non-Effective Agents:
 Penicillins
 Cephalosporins
 Aminoglycosides
• Agents of Uncertain Efficacy:
 Trimethoprim sulfamethoxazol
 Glycopeptides
 Carbapenems
Free Powerpoint Templates
Page 25
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจวินิจฉัยโรคลี
เจียนแนร ์และโรคไข้ปอนเตียก
(Legionaire disease and Pontiac
fever) และการวิเคราะห์เชื้อ
Legionella species
Free Powerpoint Templates
Page 26
ขั้นตอนการเก็บตัวอย่าง
1. ป
้ องกันตนเองจากการติดเชื้อ
2. เตรียมผู้ต้องสงสัยว่าเป
็ นพาหะหรือผู้ป
่ วย
3. ดาเนินการเก็บและส่ง สิ่งส่งตรวจ
“เก็บอย่างถูกต้อง และ นาส่งอย่างถูกต้อง”
“ป
้ องกันตนเองและการแพร่เชื้อสู่ชุมชน”
Free Powerpoint Templates
Page 27
วัตถุประสงค์ของการ
ตรวจ
• เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคลีเจียนแนร ์และ
โรคไข้ปอนเตียก(Legionaire
disease and Pontiac fever)
• วิเคราะห์ตัวอย่างน้าที่ต้องการหา
แบคทีเรีย Legionella species
• ตรวจยืนยันเชื้อแบคทีเรีย
Legionella species
Free Powerpoint Templates
Page 28
สิ่งส่งตรวจกลุ่มโรคติดเชื้อ
1. ระบบทางเดินหายใจส่วนบน ได ้แก่
• Nasal swab
• Throat swab
• Nasopharyngeal swab/ wash/
aspiration
2. ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ได ้แก่
• Bronchoalveolar lavage
• Tracheal aspirate
3. เลือด (Blood)
Free Powerpoint Templates
Page 29
โรค Legionellosis
ชนิดตัวอย่าง และวิธีการนาส่งตัวอย่าง
1) Endotracheal aspirate, Trantracheal aspirate, และ
Bronchoalveolar lavage ปริมาตร 2 มล. ใส่ในขวด cryotube
เก็บและนาส่งในถังไนโตรเจนเหลว (-20 ถึง -70 oc) หรือ ชิ้นเนื้อ
จากปอด(biopsy), ม ้าม, ตับ, ไต (autopsy) 1-5 กรัม ใส่ในภาชนะ
ปราศจากเชื้อ แช่ในกระติกน้าแข็ง ส่งถึงปลายทางภายใน 5 วัน
2) เจาะเลือด 5 มล. ปั่นแยก serum โดยเก็บเป็น paired sera ห่างกัน
28 - 42 วัน ครั้งละ 1 หลอดๆละไม่ต่ากว่า 1 มล. ใส่ในหลอดปลอด
เชื้อ พันด ้วยพาราฟิลม์ให ้แน่น เก็บและนาส่งโดยถังไนโตรเจนเหลว
3) เก็บปัสสาวะช่วงกลาง ไม่ต่ากว่า 5 มล.(ต ้องทาความสะอาดอวัยวะ
ก่อนปัสสาวะ) นาตัวอย่างเก็บที่ 4 oc นาส่งภายในกระติกน้าแข็ง (ควร
เก็บมากกว่า 1 ตัวอย่างต่อผู้ป่ วย 1 คน)
4) น้าจาก cooling tower ฝักบัว ก๊อกน้า แหล่งกักเก็บน้า ไม่น้อยกว่า
200 มล. แช่เย็นขณะเก็บและนาส่ง เก็บไว ้ได ้ไม่เกิน 7 วัน หากเก็บ
Swab เพื่อการเพาะเชื้อ เก็บและนาส่งโดยถังไนโตรเจนเหลว
Free Powerpoint Templates
Page 30
อุปกรณ์ทา Nasal swab
สาหรับการตรวจด ้วยวิธี rapid test
Free Powerpoint Templates
Page 31
1. ติดเทปพันให ้รอบกล่อง
2. ติดเครื่องหมาย Biohazard (Diagnostic specimens)
Free Powerpoint Templates
Page 32
สถานที่ส่งตรวจทางห ้องปฏิบัติการ
ผู้ส่ง ...
ชื่อ-สกุล ................................
ที่อยู่ ......................................
โทรศัพท์ ....................
...ติดเครื่องหมาย...
 แช่เย็น, Diagnostic specimen
 วางตั้งเท่านั้น
 ระวังแตก
ผู้รับ ...
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (อาคาร 1)
88/7 ซอยโรงพยาบาลบาราศนราดูร
ถนนติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร. 0-2951-0000 ต่อ 99248
Free Powerpoint Templates
Page 33
ศวพ.ขอนแก่น
ศวพ.ชลบุรี
ศวพ.เชียงใหม่
ศวพ.เชียงราย
ศวพ.ตรัง
ศวพ.นครราชสีมา
ศวพ.นครสวรรค์
ศวพ.พิษณุโลก
ศวพ.สงขลา
ศวพ.สมุทรสงคราม
ศวพ.สุราษฏร์ธานี
ศวพ.อุดรธานี
ศวพ.อุบลราชธานี
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (สวส.)
ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง
ศูนย์ประสานงานการตรวจวิเคราะห์และเฝ
้ าระวังโรคทางห้องปฏิบัติการ สวส.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร. 02-9510000 ต่อ 99248 , 01-9891978 www.cctls.org
Free Powerpoint Templates
Page 34
การเตรียมผู้ป่ วย
เก็บตัวอย่างจากผู้ป่ วยก่อนได้รับยา
ปฏิชีวนะ
Free Powerpoint Templates
Page 35
สิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่
ใช้เก็บตัวอย่าง
1. การตรวจวินิจฉัยผู้ป่ วย
- น้าล้างหลอดคอ น้าล้างหลอดลม และ
น้าล้างถุงลม ปริมาตรมากกว่า 1 มล.
- เสมหะจากส่วนลึกของปอด ปริมาตร
2-5 มล.
- ชิ้นเนื้อ (lung biopsy และ spleen
liver kidney autopsy) เก็บให้ได้ใน
Free Powerpoint Templates
Page 36
สิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้
เก็บตัวอย่าง(ต่อ)
2. การวิเคราะห์น้าใน
สิ่งแวดล้อม
- น้าจาก Cooling tower
- น้าจากฝักบัว ก๊อกน้า แหล่ง
กักเก็บน้า ระบบแอร ์รวม และ
แหล่งน้าตามธรรมชาติ
- ไม้ swap ที่ป้ายจากบริเวณ
Free Powerpoint Templates
Page 37
สิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้
เก็บตัวอย่าง(ต่อ)
3.การตรวจยืนยัน
- เชื้อบริสุทธิ์ที่เพาะบนอาหารเลี้ยงเชื้อ
สาหรับ Legionella species อายุไม่
เกิน 5 วัน
Free Powerpoint Templates
Page 38
ภาชนะเก็บตัวอย่าง
ภาชนะแก้วหรือพลาสติกที่มีฝาเกลียวปิ ด
ได้
สนิท ที่สามารถนึ่ง หรือต้มฆ่าเชื้อได้ (ต้มทั้ง
ฝาและขวด) ในน้าเดือด 100 องศาเซลเซียส
นานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
Free Powerpoint Templates
Page 39
การรักษา
• ยาตัวแรกที่นามาใช้ในการรักษา คือ
erythromycin หลังจากนั้นจึงมีการ
ใช้ยาตัวอื่นๆ เช่น clarithromycin
และ azithromycin และมีการใช้
rifampicin ร่วมด้วย
• แต่ยาในกลุ่ม penicillin
cephalosporins และ
amioglycosides จะใช้รักษาไม่
Free Powerpoint Templates
Page 40
ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• กลุ่มผู้สูงอายุมักมีอาการรุนแรง
มากกว่า โดยเฉพาะผู้ป่ วยที่มีโรค
เรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคไต โรค
ปอดเรื้อรัง หรือโรคมะเร็ง
• กลุ่มที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น ในกลุ่มที่
ได้รับยา Corticosteroids หรือเพิ่ง
ผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ เป็ นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 41
วิธีการควบคุมโรค
Free Powerpoint Templates
Page 42
มาตรการป้ องกันโรค
• เปิ ดน้าทิ้งจากหล่อเย็น (Cooling
Tower) ให้แห้งเมื่อไม่ได้ใช้ ทา
ความสะอาดขัดถูกคราบ
ไคล ตะกอน เติม biocides ใน
ปริมาณที่เหมาะสมเพื่อฆ่าเชื้อรา
• ตั้งอุณหภูมิระบบน้าร้อนสูงกว่า
หรือเท่ากับ 50 ˚C (122 ˚F) เพื่อ
ลดความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อ
Free Powerpoint Templates
Page 43
การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ
ภายในอาคาร
ระบบประปา
–กรณีใช ้น้าประปา ควรมีการตรวจสอบ
ปริมาณคลอรีนตกค้างของน้าในบ่อพักทุก
วัน ถ้าพบว่ามีน้อยกว่า 0.2 ppm. ให้รีบแจ้ง
การประปาเพื่อเติมคลอรีน หรือมีการเติม
คลอรีนเอง ให้มีคลอรีนตกค้างไม่น้อยกว่า
0.2 ppm.
–กรณีเก็บน้าสารองไว้ในบ่อพัก ควร
ตรวจสอบปริมาณคลอรีนตกค้างและรักษา
Free Powerpoint Templates
Page 44
ระบบน้าร้อนรวม
– ต้องผลิตน้าให้มีอุณหภูมิสูงกว่า 60oซ
ตลอดเวลา และส่งน้าออกไปให้มีอุณหภูมิสูง
กว่า 50 o ซ ในทุกที่ที่น้าร้อนไปถึง
– พยายามไม่ให้มีท่อน้ าร้อนที่ไม่มีการ
ไหลเวียน (dead space) ในกรณีที่เกิดการ
ระบาดควรปรับอุณหภูมิของน้าที่ผลิตให้สูง
กว่าปกติ
การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ
ภายในอาคาร (ต่อ)
Free Powerpoint Templates
Page 45
ระบบปรับอากาศและระบายความร้อน
– ควรทาความสะอาด 1-2 ครั้งต่อเดือน ไม่ให้
มีตะไคร่เกาะ
– ทาลายเชื้อโดยใส่คลอรีนให้มีความเข้มข้น
10 ppm.
– เครื่องปรับอากาศในห้องพัก กรณีมี Fan
coil unit ในห้องพัก ต้องทาความสะอาด
ถาดรองน้าที่หยดจากท่อคอยล์เย็น ทุก 1-2
สัปดาห์ไม่ให้มีตะไคร่เกาะ
การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ
ภายในอาคาร (ต่อ)
Free Powerpoint Templates
Page 46
อุปกรณ์ห้องน้าในห้องพัก
–ควรถอดหัวก๊อกน้าและฝักบัว
ออกมาแช่น้าร้อน 65oซ นาน
5 นาที หรือแช่สารละลาย
คลอรีนที่มีความเข้มข้น 10
ppm. นาน 5 นาที
–อุปกรณ์ที่ถอดไม่ได้ให้ฉีดด้วย
น้าร้อน 65oซ นาน 5 นาที
การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ
ภายในอาคาร
Free Powerpoint Templates
Page 47
การควบคุมผู้ป่ วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม
• การรายงานโรค : ในยุโรปหลาย
ประเทศ และเฉพาะบางพื้นที่ของ
สหรัฐอเมริกาต้องรายงาน แต่
โดยทั่วไปแล้วไม่ใช่โรคที่ต้องรายงาน
• การแยกผู้ป่ วย : ไม่จาเป็ น
• การทาลายเชื้อ : ไม่จาเป็ น
• การกักกัน : ไม่จาเป็ น
Free Powerpoint Templates
Page 48
การควบคุมผู้ป่ วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม(ต่อ)
การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งรังโรค :
• ค้นหาผู้สัมผัสกับแหล่งรังโรค
เดียวกัน คนอื่นที่อยู่ในบ้านหรือที่
ทางาน จากสิ่งแวดล้อมเดียวกัน
• ติดตามผู้ป่ วยรายเดี่ยวที่ยืนยันการ
ติดเชื้อขณะรักษาตัวในโรงพยาบาล
Free Powerpoint Templates
Page 49
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด
• ค้นหาแหล่งแพร่เชื้อร่วมในกลุ่ม
ผู้ป่ วย
• การทาลายเชื้อในแหล่งที่ต้องสงสัย
ด้วยคลอรีน หรือน้าร้อนจัด
• หยุดพักการใช้ ขัดล้างทาความ
สะอาด

More Related Content

Similar to Legionnaires 65.ppt

Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
Coronavirus [autosaved]
Coronavirus [autosaved]Coronavirus [autosaved]
Coronavirus [autosaved]Pann Palaco
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 

Similar to Legionnaires 65.ppt (12)

Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Coronavirus [autosaved]
Coronavirus [autosaved]Coronavirus [autosaved]
Coronavirus [autosaved]
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
 
N sdis 77_60_3
N sdis 77_60_3N sdis 77_60_3
N sdis 77_60_3
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 

More from praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfpraphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfpraphan khunti
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docpraphan khunti
 

More from praphan khunti (11)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 

Legionnaires 65.ppt

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 Free Powerpoint Templates โรคลีเจียนเนลโลสิส (Legionellosis)
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 สถานการณ์โรค : • พ.ศ.2490 พบผู้ป่ วยรายแรก • พ.ศ. 2500 ระบาดครั้งแรกที่รัฐ มินนิโซตา • พ.ศ. 2519 ระบาดครั้งใหญ่ ใน หมู่ผู้ร่วมประชุมสมาคม "สหาย สงคราม" (American Legion Convention) ที่เมืองฟิ ลาเดล เฟี ย สหรัฐอเมริกา
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 สถานการณ์ โรค • จึงเป็ นที่มาของชื่อ "โรค Legionella pneumophila" • พ . ศ . 2527 ร า ย ง า น ค รั้ง แ ร กใ น ประเทศไทย • โรงพยาบาลชลประทาน นนทบุรี พบผู้ป่ วย คิดเป็ นร้อยละ 4.16 ของ ผู้ป่ วยปอดอักเสบทั้งหมดที่รับไว้รักษา ในโรงพยาบาล
  • 5. Free Powerpoint Templates Page 5 สถิติการแพร่ระบาดของโรคลี เจียนแนร ์ทั่วโลก ปี ค.ศ. 1976 จานวนผู้ป่ วย จานวน ผู้เสียชีวิต แหล่งที่พบ ประเทศที่พบ 1976 221 34 หอผึ่งเย็น สหรัฐอเมริกา 2001 449 6 หอผึ่งเย็น สเปน 2002 172 7 หอผึ่งเย็น อังกฤษ 2004 86 21 หอผึ่งเย็น ฝรั่งเศส 2005 21 0 หอผึ่งเย็น สหรัฐอเมริกา 2006 10 1 หอผึ่งเย็น ออสเตรเลีย 2006 26 2 หอผึ่งเย็น ฝรั่งเศส 2006-2007 4 0 ไม่ระบุ ประเทศไทย (ภูเก็ต) แหล่งข ้อมูล : http://en.wikipedia.org/wiki/legionell
  • 7. Free Powerpoint Templates Page 7 จานวนผู้ป่ วยโรค Legionnaire ประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2536-2553
  • 8. Free Powerpoint Templates Page 8 สาเหตุ • เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ลีเจียนแนลลา นิวโมฟิ ลลา (Legionella pneumophilla) • พบได้ทั่วไปในแหล่งน้าที่มีอุณหภูมิ 32-45˚C • สามารถมีชีวิตอยู่ได้นานหลายเดือน ในสิ่งแวดล้อมที่มีความชื้นสูง และ ่ ่
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 ลักษณะของเชื้อ Legionella • ลักษณะของเชื้อนี้ ผอมบาง อาจมีรูปร่างได้ มากกว่าหนึ่งแบบ ขนาด 2-20 ไมครอนย้อม ติดสีแกรมลบ • บางครั้งเปลี่ยนรูปเป็ นชนิดตัวยาว มีหางตรง เมื่ออยู่ในสภาพ แวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์จะ เจริญเติบโตได้รวดเร็ว • โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์มีสองชั้น มีขน เล็กโบกสะบัดและมีแฟลกเจลลาหนึ่งอัน ช่วย ให้เชื้อสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 ระยะฟักตัว • โรคลีเจียนแนร ์ 2-10 วัน ส่วนใหญ่จะปรากฏ อาการภายใน 5-6 วัน • โรคไข้ปอนเตียกจะปรากฏอาการ 5-6 วัน แต่ส่วนใหญ่จะปรากฏอาการ 24-48 ชั่วโมง
  • 12. Free Powerpoint Templates Page 12 Cooling Tower น้าพุเทียม อ่างน้าร้อน บ่อ บึง สระน้า ดินริมตลิ่งของแหล่งน้า
  • 13. Free Powerpoint Templates Page 13 Sources of Legionella Infection: Cooling Towers
  • 14. Free Powerpoint Templates Page 14 วิธีการติดต่อ • การสูดหายใจเอาเชื้อที่ปนเปื้ อนอยู่ ในละอองฝอยของน้า เช่น น้าจาก ห อ ผึ่ ง เ ย็ น ค ว า ม ร้อ น ( cooling towers) ของระบบปรับอากาศ ฝักบัว อาบน้า อ่างน้าวน เครื่องมือช่วย หายใจ น้าพุสาหรับตกแต่งอาคาร สถานที่ต่างๆ • การแพร่เชื้อจากคนไปสู่คนยังไม่มี
  • 17. Free Powerpoint Templates Page 17 ลักษณะโรค • อาการทาง คลินิกแบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1.โรคลีเจียนแนร ์ Legionella Pneumonia (“Legionnaires’ Disease”). 2.โรคไข้ปอนเตียก (Pontiac Fever)
  • 18. Free Powerpoint Templates Page 18 โรคลีเจียนแนร ์ Legionella Pneumonia (“Legionnaires’ Disease”).
  • 19. Free Powerpoint Templates Page 19 อาการและอาการแสดง • เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวด กล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ • มีไข้สูงหนาวสั่น อุณหภูมิสูงถึง 39- 40 ˚C • ไอไม่มีเสมหะ ปวดท้อง อุจจาระร่วง • ภาพเอ็กซเรย์ปอดมีการอักเสบเป็ น ปื้นหรือจุดขาว • การหายใจล้มเหลวถึงเสียชีวิตได้
  • 21. Free Powerpoint Templates Page 21 กลุ่มเสี่ยง • กลุ่มผู้สูงอายุ • กลุ่มผู้สูบบุหรี่ • กลุ่มที่มีการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์จัด • กลุ่มบุคคลที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่า หรือเป็ น โรคต่าง ๆ เช่น มะเร็ง โรคไต โรคปอด โรคเบาหวาน โรคติดเชื้อ เอชไอวี • ผู้ที่อยู่ระหว่างการปลูกถ่ายเนื้อเยื่อ (ไต หัวใจ)
  • 22. Free Powerpoint Templates Page 22 ไข้ปอนเตียก • มีลัก ษ ณ ะ อ า ก า ร ที่แ ส ด ง เบื้องต้น เหมือนกับการเกิด โรค ลีเจียนแนร ์ในช่องปอด • มีอาการไอร่วมด้วย ไม่มี อ า ก า ร ป อ ด บ ว ม ห รื อ เสียชีวิต ผู้ป่ วยจะหายได้เอง ภายใน 2-5 วัน แม้จะไม่ได้ รับการรักษา
  • 23. Free Powerpoint Templates Page 23 การวินิจฉัยโรค
  • 24. Free Powerpoint Templates Page 24 Treatment of Legionella • Effective Agents:  Macrolides  Fluoroquinalones  Tetracyclines • Non-Effective Agents:  Penicillins  Cephalosporins  Aminoglycosides • Agents of Uncertain Efficacy:  Trimethoprim sulfamethoxazol  Glycopeptides  Carbapenems
  • 25. Free Powerpoint Templates Page 25 การเก็บตัวอย่างส่งตรวจวินิจฉัยโรคลี เจียนแนร ์และโรคไข้ปอนเตียก (Legionaire disease and Pontiac fever) และการวิเคราะห์เชื้อ Legionella species
  • 26. Free Powerpoint Templates Page 26 ขั้นตอนการเก็บตัวอย่าง 1. ป ้ องกันตนเองจากการติดเชื้อ 2. เตรียมผู้ต้องสงสัยว่าเป ็ นพาหะหรือผู้ป ่ วย 3. ดาเนินการเก็บและส่ง สิ่งส่งตรวจ “เก็บอย่างถูกต้อง และ นาส่งอย่างถูกต้อง” “ป ้ องกันตนเองและการแพร่เชื้อสู่ชุมชน”
  • 27. Free Powerpoint Templates Page 27 วัตถุประสงค์ของการ ตรวจ • เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคลีเจียนแนร ์และ โรคไข้ปอนเตียก(Legionaire disease and Pontiac fever) • วิเคราะห์ตัวอย่างน้าที่ต้องการหา แบคทีเรีย Legionella species • ตรวจยืนยันเชื้อแบคทีเรีย Legionella species
  • 28. Free Powerpoint Templates Page 28 สิ่งส่งตรวจกลุ่มโรคติดเชื้อ 1. ระบบทางเดินหายใจส่วนบน ได ้แก่ • Nasal swab • Throat swab • Nasopharyngeal swab/ wash/ aspiration 2. ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ได ้แก่ • Bronchoalveolar lavage • Tracheal aspirate 3. เลือด (Blood)
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 โรค Legionellosis ชนิดตัวอย่าง และวิธีการนาส่งตัวอย่าง 1) Endotracheal aspirate, Trantracheal aspirate, และ Bronchoalveolar lavage ปริมาตร 2 มล. ใส่ในขวด cryotube เก็บและนาส่งในถังไนโตรเจนเหลว (-20 ถึง -70 oc) หรือ ชิ้นเนื้อ จากปอด(biopsy), ม ้าม, ตับ, ไต (autopsy) 1-5 กรัม ใส่ในภาชนะ ปราศจากเชื้อ แช่ในกระติกน้าแข็ง ส่งถึงปลายทางภายใน 5 วัน 2) เจาะเลือด 5 มล. ปั่นแยก serum โดยเก็บเป็น paired sera ห่างกัน 28 - 42 วัน ครั้งละ 1 หลอดๆละไม่ต่ากว่า 1 มล. ใส่ในหลอดปลอด เชื้อ พันด ้วยพาราฟิลม์ให ้แน่น เก็บและนาส่งโดยถังไนโตรเจนเหลว 3) เก็บปัสสาวะช่วงกลาง ไม่ต่ากว่า 5 มล.(ต ้องทาความสะอาดอวัยวะ ก่อนปัสสาวะ) นาตัวอย่างเก็บที่ 4 oc นาส่งภายในกระติกน้าแข็ง (ควร เก็บมากกว่า 1 ตัวอย่างต่อผู้ป่ วย 1 คน) 4) น้าจาก cooling tower ฝักบัว ก๊อกน้า แหล่งกักเก็บน้า ไม่น้อยกว่า 200 มล. แช่เย็นขณะเก็บและนาส่ง เก็บไว ้ได ้ไม่เกิน 7 วัน หากเก็บ Swab เพื่อการเพาะเชื้อ เก็บและนาส่งโดยถังไนโตรเจนเหลว
  • 30. Free Powerpoint Templates Page 30 อุปกรณ์ทา Nasal swab สาหรับการตรวจด ้วยวิธี rapid test
  • 31. Free Powerpoint Templates Page 31 1. ติดเทปพันให ้รอบกล่อง 2. ติดเครื่องหมาย Biohazard (Diagnostic specimens)
  • 32. Free Powerpoint Templates Page 32 สถานที่ส่งตรวจทางห ้องปฏิบัติการ ผู้ส่ง ... ชื่อ-สกุล ................................ ที่อยู่ ...................................... โทรศัพท์ .................... ...ติดเครื่องหมาย...  แช่เย็น, Diagnostic specimen  วางตั้งเท่านั้น  ระวังแตก ผู้รับ ... ผู้อานวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (อาคาร 1) 88/7 ซอยโรงพยาบาลบาราศนราดูร ถนนติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 0-2951-0000 ต่อ 99248
  • 33. Free Powerpoint Templates Page 33 ศวพ.ขอนแก่น ศวพ.ชลบุรี ศวพ.เชียงใหม่ ศวพ.เชียงราย ศวพ.ตรัง ศวพ.นครราชสีมา ศวพ.นครสวรรค์ ศวพ.พิษณุโลก ศวพ.สงขลา ศวพ.สมุทรสงคราม ศวพ.สุราษฏร์ธานี ศวพ.อุดรธานี ศวพ.อุบลราชธานี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (สวส.) ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง ศูนย์ประสานงานการตรวจวิเคราะห์และเฝ ้ าระวังโรคทางห้องปฏิบัติการ สวส. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร. 02-9510000 ต่อ 99248 , 01-9891978 www.cctls.org
  • 34. Free Powerpoint Templates Page 34 การเตรียมผู้ป่ วย เก็บตัวอย่างจากผู้ป่ วยก่อนได้รับยา ปฏิชีวนะ
  • 35. Free Powerpoint Templates Page 35 สิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ ใช้เก็บตัวอย่าง 1. การตรวจวินิจฉัยผู้ป่ วย - น้าล้างหลอดคอ น้าล้างหลอดลม และ น้าล้างถุงลม ปริมาตรมากกว่า 1 มล. - เสมหะจากส่วนลึกของปอด ปริมาตร 2-5 มล. - ชิ้นเนื้อ (lung biopsy และ spleen liver kidney autopsy) เก็บให้ได้ใน
  • 36. Free Powerpoint Templates Page 36 สิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ เก็บตัวอย่าง(ต่อ) 2. การวิเคราะห์น้าใน สิ่งแวดล้อม - น้าจาก Cooling tower - น้าจากฝักบัว ก๊อกน้า แหล่ง กักเก็บน้า ระบบแอร ์รวม และ แหล่งน้าตามธรรมชาติ - ไม้ swap ที่ป้ายจากบริเวณ
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 สิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ เก็บตัวอย่าง(ต่อ) 3.การตรวจยืนยัน - เชื้อบริสุทธิ์ที่เพาะบนอาหารเลี้ยงเชื้อ สาหรับ Legionella species อายุไม่ เกิน 5 วัน
  • 38. Free Powerpoint Templates Page 38 ภาชนะเก็บตัวอย่าง ภาชนะแก้วหรือพลาสติกที่มีฝาเกลียวปิ ด ได้ สนิท ที่สามารถนึ่ง หรือต้มฆ่าเชื้อได้ (ต้มทั้ง ฝาและขวด) ในน้าเดือด 100 องศาเซลเซียส นานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
  • 39. Free Powerpoint Templates Page 39 การรักษา • ยาตัวแรกที่นามาใช้ในการรักษา คือ erythromycin หลังจากนั้นจึงมีการ ใช้ยาตัวอื่นๆ เช่น clarithromycin และ azithromycin และมีการใช้ rifampicin ร่วมด้วย • แต่ยาในกลุ่ม penicillin cephalosporins และ amioglycosides จะใช้รักษาไม่
  • 40. Free Powerpoint Templates Page 40 ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ • กลุ่มผู้สูงอายุมักมีอาการรุนแรง มากกว่า โดยเฉพาะผู้ป่ วยที่มีโรค เรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคไต โรค ปอดเรื้อรัง หรือโรคมะเร็ง • กลุ่มที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น ในกลุ่มที่ ได้รับยา Corticosteroids หรือเพิ่ง ผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ เป็ นต้น
  • 41. Free Powerpoint Templates Page 41 วิธีการควบคุมโรค
  • 42. Free Powerpoint Templates Page 42 มาตรการป้ องกันโรค • เปิ ดน้าทิ้งจากหล่อเย็น (Cooling Tower) ให้แห้งเมื่อไม่ได้ใช้ ทา ความสะอาดขัดถูกคราบ ไคล ตะกอน เติม biocides ใน ปริมาณที่เหมาะสมเพื่อฆ่าเชื้อรา • ตั้งอุณหภูมิระบบน้าร้อนสูงกว่า หรือเท่ากับ 50 ˚C (122 ˚F) เพื่อ ลดความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อ
  • 43. Free Powerpoint Templates Page 43 การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ ภายในอาคาร ระบบประปา –กรณีใช ้น้าประปา ควรมีการตรวจสอบ ปริมาณคลอรีนตกค้างของน้าในบ่อพักทุก วัน ถ้าพบว่ามีน้อยกว่า 0.2 ppm. ให้รีบแจ้ง การประปาเพื่อเติมคลอรีน หรือมีการเติม คลอรีนเอง ให้มีคลอรีนตกค้างไม่น้อยกว่า 0.2 ppm. –กรณีเก็บน้าสารองไว้ในบ่อพัก ควร ตรวจสอบปริมาณคลอรีนตกค้างและรักษา
  • 44. Free Powerpoint Templates Page 44 ระบบน้าร้อนรวม – ต้องผลิตน้าให้มีอุณหภูมิสูงกว่า 60oซ ตลอดเวลา และส่งน้าออกไปให้มีอุณหภูมิสูง กว่า 50 o ซ ในทุกที่ที่น้าร้อนไปถึง – พยายามไม่ให้มีท่อน้ าร้อนที่ไม่มีการ ไหลเวียน (dead space) ในกรณีที่เกิดการ ระบาดควรปรับอุณหภูมิของน้าที่ผลิตให้สูง กว่าปกติ การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ ภายในอาคาร (ต่อ)
  • 45. Free Powerpoint Templates Page 45 ระบบปรับอากาศและระบายความร้อน – ควรทาความสะอาด 1-2 ครั้งต่อเดือน ไม่ให้ มีตะไคร่เกาะ – ทาลายเชื้อโดยใส่คลอรีนให้มีความเข้มข้น 10 ppm. – เครื่องปรับอากาศในห้องพัก กรณีมี Fan coil unit ในห้องพัก ต้องทาความสะอาด ถาดรองน้าที่หยดจากท่อคอยล์เย็น ทุก 1-2 สัปดาห์ไม่ให้มีตะไคร่เกาะ การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ ภายในอาคาร (ต่อ)
  • 46. Free Powerpoint Templates Page 46 อุปกรณ์ห้องน้าในห้องพัก –ควรถอดหัวก๊อกน้าและฝักบัว ออกมาแช่น้าร้อน 65oซ นาน 5 นาที หรือแช่สารละลาย คลอรีนที่มีความเข้มข้น 10 ppm. นาน 5 นาที –อุปกรณ์ที่ถอดไม่ได้ให้ฉีดด้วย น้าร้อน 65oซ นาน 5 นาที การดูแลความสะอาดของแหล่งน้าต่างๆ ภายในอาคาร
  • 47. Free Powerpoint Templates Page 47 การควบคุมผู้ป่ วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงานโรค : ในยุโรปหลาย ประเทศ และเฉพาะบางพื้นที่ของ สหรัฐอเมริกาต้องรายงาน แต่ โดยทั่วไปแล้วไม่ใช่โรคที่ต้องรายงาน • การแยกผู้ป่ วย : ไม่จาเป็ น • การทาลายเชื้อ : ไม่จาเป็ น • การกักกัน : ไม่จาเป็ น
  • 48. Free Powerpoint Templates Page 48 การควบคุมผู้ป่ วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม(ต่อ) การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งรังโรค : • ค้นหาผู้สัมผัสกับแหล่งรังโรค เดียวกัน คนอื่นที่อยู่ในบ้านหรือที่ ทางาน จากสิ่งแวดล้อมเดียวกัน • ติดตามผู้ป่ วยรายเดี่ยวที่ยืนยันการ ติดเชื้อขณะรักษาตัวในโรงพยาบาล
  • 49. Free Powerpoint Templates Page 49 มาตรการเมื่อเกิดการระบาด • ค้นหาแหล่งแพร่เชื้อร่วมในกลุ่ม ผู้ป่ วย • การทาลายเชื้อในแหล่งที่ต้องสงสัย ด้วยคลอรีน หรือน้าร้อนจัด • หยุดพักการใช้ ขัดล้างทาความ สะอาด