SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 เค้ก
2.1.1 ประวัติเค้ก
ขนมเค้ก (cake)
เป็นอาหารชนิดหนึ่งที่มักจะมีรสหวานและผ่านกระบวนการอบ
ซึ่งจะท้ามาจากแป้ง น้าตาล และส่วนประกอบอื่นๆ เช่น ไข่ ผัก
และผลไม้ที่ให้รสหวานหรือเปรียว หรือส่วนประกอบที่มีไขมัน เช่น เนย
ชีส ยีสต์ นม เป็นต้น และนิยมรับประทานเป็นของหวาน
และฉลองในเทศกาลต่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันเกิดและวันแต่งงาน
ซึ่งในโลกมีต้ารับหรือสูตรการท้าเค้กเป็นจ้านวนล้านๆ สูตร
ขนมเค้กมีหลากหลายชนิด อาทิ ชีสเค้ก ฟรุตเค้ก แพนเค้ก เค้กเนยสด
และแยมโรล เป็นต้น
ขนมเค้ก มีรากศัพท์มาจากภาษาของชาวไวกิง (Old Norse word)
มาจากค้าว่า “kaka” ประวัติเริ่มจากปี ค.ศ. 1843 นักเคมีชาวอังกฤษชื่อ
อัลเฟรดเบิร์ด (Alfred Bird 1811-1878) ได้ค้นพบ “ผงฟู” (baking
powder) ขึน ท้าให้เขาสามารถท้าขนมปังชนิดที่ไม่มียีสต์ได้เป็นครังแรก
ทังนีเนื่องมาจากภรรยาของเขา (Elizabeth)
เป็นโรคภูมิแพ้อาหารที่มีส่วนผสมของไข่และยีสต์
ส้าหรับประวัติขนมเค้กในประเทศไทยนัน ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ.
2480 ขนมเค้กยังไม่เป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไปมากนัก
จะมีเพียงคนบางกลุ่มเท่านันที่ได้รับอารยธรรมตะวันตกหรือใกล้ชิดกับชาว
ต่างประเทศที่เข้ามาท้าธุรกิจ โดยร้านเบเกอรี่ (bakery) ในกรุงเทพฯ
มีอยู่ไม่มากนัก
ร้านที่เป็นที่รู้จักย่านถนนเจริญกรุงคือร้านมอนโลเฮียงเบเกอรี่ ต่อมาในปี
พ.ศ. 2490 หลังจากสงครามโลกครังที่สองสินสุดลง
ประเทศไทยมีการติดต่อค้าขายท้าธุรกิจกับต่างประเทศ
และการท่องเที่ยวมีการขยายตัวมากขึน ท้าให้มีความต้องการบริโภค
ขนมเค้ก ขนมปัง เพสตรี
เพื่อบริการแก่ลูกค้าหรือนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมีมากขึน
ด้วยเหตุนีธุรกิจเบเกอรี่ หรือขนมเค้ก ขนมปัง ขนมคุกกี
จึงขยายตัวและเป็นที่รู้จัก และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
นับตังแต่นัน เป็นต้นมา
2.1.2 ชนิดของเค้ก
Basic Ingredients วัตถุดิบพืนฐานในการท้าเค้ก
1. แป้ง (Flour)
โดยทั่วไปเราจะใช้แป้งเค้ก (Cake Flour) และแป้งอเนกประสงค์
(All-Purpose Flour)ในการท้าเค้ก
แป้งเค้ก (Cake Flour) นุ่ม เบา มีสีขาวบริสุทธิ์
มัโปรตีนอยู่น้อยท้าให้เนือเค้กละเอียดเบา ไม่หยาบ
แต่ขณะเดียวกันก็ร่วนง่ายกว่าแป้งอเนกประสงค์ส่วนแป้งอเนกประสงค์
(All-Purpose Flour) สามารถใช้ท้าเค้กได้เช่นกัน
แต่เหมาะกับเค้กที่ต้องการความเหนียวหรือเนือแน่นบ้างเล็กน้อย เช่น
บราวนี่ บัตเตอร์เค้ก หรือเค้กกล้วยหอม แป้งข้าวโพด (Cornstarch)
ใช้ส้าหรับเพิ่มความหนาของส่วนผสมบางอย่าง เช่น ซอส คัสตาร์ด พุดดิง
ครีมพาย และช่วยให้ส่วนผสมคงรูปเมื่อเย็นขึน
2. น้าตาล (Sugar)
ในแง่ของการท้าเค้ก หรือเบเกอรี่ทั่วไป
น้าตาลเป็นมากกว่าสารให้ความหวาน
หน้าที่ของน้าตาลมีหลายอย่างที่มีผลกับการท้าเค้ก เช่น
- ท้าให้เค้กชุ่มชืน
- ช่วยให้เค้กสีสวย
- ท้าให้เก็บได้นานขึน
- ช่วยในการตีส่วนผสม เช่นตีเนยกับน้าตาล หรือตีไข่กับน้าตาล
น้าตาลมีหลายชนิด ดังนี
1. น้าตาลทราย (Granulated sugar) เป็นเกล็ดน้าตาล
ถ้าละเอียดหน่อยจะเรียกว่า น้าตาลเบเกอรี่
2. น้าตาลไอซิ่ง (Powdered sugar) เป็นผงคล้ายแป้ง
ไม่หวานเท่าน้าตาล
3. น้าตาลทรายแดง (Brown sugar) เป็นสีน้าตาล
เหมาะกับการท้าเค้กบางชนิดที่ต้องการรสขมนิดๆเช่นเค้กขิง
เค้กช็อกโกแล็ต และการท้าคาราเมล หรือซอสต่างๆ
4. น้าเชื่อม คือน้าตาลในรูปของน้า รวมทัง น้าผึงด้วย
3. ไขมัน (Fat)
เช่น เนย เนยขาว มาร์การีน รวมทังน้ามันด้วย
หน้าที่ของไขมันในการท้าเค้ก คือ
- ท้าให้เค้กนุ่มนวลเนือละเอียด
- เพิ่มรสชาติมันเนยและความชุ่มชิ่น
- ท้าให้เก็บได้นานขึน
- ช่วยเพิ่มความอยู่ตัวให้เค้ก
เนยท้าให้เค้กรสชาติดีที่สุด
แต่เนยขาวและมาร์การีนช่วยในการตีขึนฟูและการอยู่ตัวของเค้กในขันตอ
นการตีเนยกับน้าตาล ในขณะที่น้ามันช่วยให้เค้กชุ่มชินที่สุด
4. นม (Milk)
นอกจากเพิ่มรสชาติให้เค้กแล้ว
ยังช่วยลดความเหนียวของเค้กเมื่อใช้แทนน้าในส่วนผสม
5. ไข่ (Eggs)
ส่วนใหญ่เรามักจะใช้ไข่ไก่ในการท้าเค้ก ซึ่งควรเลือกที่สดที่สุด
และใช้เบอร์ 1 หรือแล้วแต่ที่สูตรก้าหนด หน้าที่ของไข่มีหลายอย่าง เช่น
- ช่วยให้โครงสร้างกับเค้กเวลาอบ
- ช่วยให้ขึนฟู เมื่อตีกับน้าตาล
- ช่วยเพิ่มความชุ่มชืน โดยเฉพาะส่วนไข่แดง
- เพิ่มรสชาติให้เค้ก
- เพิ่มสีที่น่ารับประทาน
6. สารขึนฟู (Leavening Agent)
ยีสต์ ส้าหรับขนมปัง เดนิช พัพฟ์เพสตรี ผงฟู เบ็คกิงโซดา
ส้าหรับเค้ก
เราสามารถท้าให้เค้กขึนฟูได้โดยการตีเนยกับน้าตาล
หรือตีไข่กับน้าตาลให้ขึนฟูแล้วจึงผสมกับส่วนผสมอื่นๆ
ไอน้าก็ช่วยให้เค้กขึนฟูได้เช้นกัน
7. สารช่วยคงรูป (Jelling Agent)
เจลาติน (Gelatin)มีทังแบบแผ่นและแบบผง
โดยแบบแ่ผ่นต้องน้าไปแช่น้าเย็นก่อนใส่ในส่วนผสมที่ร้อน
ส่วนแบบผงอาจจะน้าไปละลายในน้าอุ่นหรือนมอุ่นก่อน
หรือใส่ในส่วนผสมที่ร้อนอยู่ก็ได้เจลาตินจะแข็งตัวเมื่อส่วนผสมเย็นขึน
เวลาใช้จึงต้องรีบผสมให้เข้ากันก่อนจะเซ็ตตัว
8. ผลไม้และถั่ว
ผลไม้มีทังแบบสดและแบบแช่แข็งให้เลือก ส่วนถั่วที่ใช้บ่อย คือ
อัลมอนด์ แม็คคาดาเมีย ฮาเซลนัท วอลนัท พิสตาชิโอ้ เม็ดมะม่วง
9. สารเพิ่มกลิ่นรส
เช่น กลิ่นวนิลา มีทังแบบฝัก ผง และน้าและซินนามอน ขิง งา
ผงออลสไปซ์ ก็ช่วยเพิ่มกลิ่นรสให้เค้กเช่นกัน
10. ช็อกโกแล็ตและผงโกโก้
ช็อกโกแล็ต มีทังแบบ semi-sweet, bitter, dark chocolate, milk
chocolate
ส่วนไวท์ช็อกโกแล็ตในยี่ห้อดีๆยังมีส่วนผสมของโกโก้บัตเตอร์ซึ่งได้จากเม
ล็ดโกโก้
แต่ในชนิดราคาถูกจะไม่มีส่วนประกอบของโกโก้บัตเตอร์จึงไม่นับว่าเป็นช็
อกโกแล็ตเหมือนกันส่วนผงโกโก้มีทังแบบ Natural cocoa และ Dutch
precess ซึ่งจะสีเข้มกว่า รสชาติดีและละลายได้ง่ายกว่า
1. เค้กเนย (butter cake)
เป็นเค้กที่มีไขมันสูง
การขึนฟูของเค้กประเภทนีเกิดจากอากาศที่ได้จากการตีเนยกับน้าตาล
โดยไขมันจะเก็บอากาศไว้ ซึ่งจะขยายตัวในระหว่างการอบ
เค้กประเภทนีได้แก่ ไวท์เค้ก ช็อกโกแลตเค้ก
ฟรุ้ตเค้ก Butter cakes เข้าใจได้อีกอย่างว่า High-Fat cakes
ในวงการเบเกอรี่เป็นที่รู้กันว่า เป็นเค้กที่มีส่วนประกอบของไขมันเป็นหลัก
ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือเนย (Butter) ซึ่งรูปร่างและองค์ประกอบ (texture)
ของเค้กเนยจะค่อนข้างเข้มข้น หนักแน่น สัมผัสรสชาติของเนยได้ชัดเจน
เนยช่วยเพิ่มความอร่อยและละลายในปากการใช้เนยขาวแทนเนยสามารถ
ท้าได้แต่ไม่แนะน้าเพราะรสชาติต่างกันชัดเจน เนยอร่อยกว่าเยอะ
เค้กเนยมีการใส่แป้งค่อนข้างเยอะ
เพื่อความอยู่ตัวและหนักแน่นของเค้กการท้าเค้กเนยเรียกง่ายๆว่า
Creaming method คือ การตีเนยกับน้าตาลก่อนให้เป็นครีม
วิธีการท้าเค้กเนย
1. ชั่งส่วนผสมทังหมดให้ถูกต้อง น้ามาไว้ที่อุณหภูมิห้อง
ร่อนของแห้งพักไว้
2. ตีเนยที่เริ่มอ่อนตัวด้วยหัวตีใบไม้ให้เป็นครีม ด้วยความเร็วปานกลาง
3. ค่อยๆใส่น้าตาลทีละนิด ตีให้ครีมฟูเบาและขยายตัว
4. ใส่ไข่ทีละฟอง ตีให้เข้ากันด้วยความเร็วปานกลาง
รอให้ส่วนผสมเข้ากันก่อนจึงใส่ไข่ใบต่อไป
5. ปาดโถตีบ่อยๆเพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันทั่ว
6. ใส่ส่วนของแห้ง (แป้ง) สลับกับของเหลว เช่น นม โดยแบ่งใส่ซัก 2-3
ครัง
7. น้าเข้าอบที่อุณหภูมิ 180 c กระทั่งสุก
เทคนิคในการปรับสมดุล (Balance) ของเค้กเนย
เนื่องจากเค้กเนยเป็นเค้กพืนฐานที่อบให้สมบูรณ์แบบได้ยาก
เนื่องจากมีส่วนผสมเพียงไม่กี่อย่าง จะสังเกตว่า
บางทีอบสุกช้าจนเค้กแห้งหมดแล้ว บางทีอบก็หน้าเค้กแตก เค้กไม่ชุ่มฉ่้า
เกล็ดน้าตาลไม่ละลาย ฯลฯ
การท้าเค้กเนยจึงควรรู้เทคนิคพิเศษ เช่น อุณหภูมิของเนยที่น้ามาตี
ปริมาณของแห้ง ของเหลว น้าตาลควรจะเป็นเกล็ดเล็ก
นมที่ใช้ควรมีอุณหภูมิที่อุณหภูมิห้อง เป็นต้น
การ Balance เค้กเนย จึงมีส่วนช่วยในการท้าเค้กเนยให้ส้าเร็จด้วยดี
มีเทคนิคดังนี
ถ้ามีการเพิ่มของเหลวในสูตร เช่น นม ต้องลดไข่และเนย
ถ้ามีการเพิ่มไข่ ต้องเพิ่มเนยด้วย
ถ้ามีการเพิ่มผงโกโก้ ต้องเพิ่มน้าในปริมาณ 80%
ของปริมาณผงโกโก้ที่เพิ่มขึน
ยิ่งอบใส่พิมพ์ขนาดเล็กลง ต้องยิ่งเพิ่มของเหลวในสูตร
เพราะปริมาณน้าที่ระเหยจะเพิ่มขึนเนื่องจากอบนานกว่าจะสุก
2.เค้กไข่ (foam cake)
เป็นเค้กที่ขึนฟูโดยตีฟองอากาศเข้าไปในไข่ แบ่งย่อยเป็น 3 ชนิดคือ
-ชิฟฟอนเค้ก (chiffon cake) เป็นเค้กที่ใช้น้ามันพืชแทนเนย
-เค้กไข่ขาว (angle food cake) ใช้ไข่ขาวล้วน
ไม่ใส่ไข่แดงและไขมันใดๆ แต่ใส่น้าตาลมาก
-สปันจ์เค้ก (sponge cake) เป็นเค้กที่ตีไข่ทังฟองกับน้าตาลให้ขึนฟู
เค้กชิฟฟอนเป็นเค้กที่ขึนฟูด้วยการตีไข่ขาวกับน้าตาลเป็นหลัก
แม้จะใส่ผงฟูในสูตรด้วย
แต่การตีไข่ขาวกับน้าตาลเป็นสิ่งที่ต้องให้ความส้าคัญมากในการท้าเค้กชิ
ฟฟอน คืออย่าตีไข่ขาวกับน้าตาลเร็วเกินไป
หรือตีนานเกินไปจนไข่ขาวแห้งแหละหยาบกระด้าง
ซึ่งจะท้าให้เนือเค้กแห้งด้วยสิ่งที่เราต้องให้ความส้าคัญ คือ ไข่ขาว
ไม่ควรมีไข่แดงปน
โถตีควรเช็ดให้แห้งและให้มีแต่ไข่ขาวโดยไม่มีสิ่งอื่นปะปน เช่นน้า น้ามัน
แป้ง ฯลฯ
วิธีท้าเค้กชิฟฟอน
1. ชั่งตวงส่วนผสมอย่างถูกต้อง วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง
2. ร่อนของแห้งทังหมด คือ แ่ป้ง ผงฟู เกลือ หรือของแห้งอย่างอื่น เช่น
ผงโกโก้
3. ใส่น้าตาลส่วนที่ 1 (หรือแล้วแต่สูตรก้าหนด) ในส่วนแป้งนี
คนเบาๆด้วยตะกร้อมือ
4. ท้าบ่อแล้วใส่น้ามัน ไข่แดง และนม หรือของเหลวตามแต่สูตรก้าหนด
คนแรงๆให้เข้ากัน อย่าคนนานเพราะจะท้าให้เนือเค้กเหนียวและหยาบ
5. ตีไข่ขาวกับน้าตาลส่วนที่ 2 (หรือแล้วแต่สูตรก้าหนด)
ให้ตังยอดคล้ายครีมขนมเบือง (moist peak)
6. fold ไข่ขาวเข้ากับส่วนแป้ง (fold คือ
การผสมส่วนผสมที่เบาเข้ากับส่วนผสมที่หนักด้วยการใช้ไม้พายหรือตะกร้
อมือค่อยๆตะล่อมผสมส่วนผสมทังสอง เพื่อให้ปริมาตรฟูเบาไม่ยุบตัว)
และควรท้าให้เร็วเพราะยิ่งนาน ส่วนผสมก็จะยิ่งแฟ่บลง
ท้าเสร็จแล้วต้องน้าเข้าอบทันที เค้กชิฟฟอนจะอบที่อุณหภูมิ 180 - 200 C
โดยประมาณ
3.เค้กสปองจ์ (Sponge cake)
เค้กชนิดนีขึนฟูด้วยไข่
คุณภาพของไข่จะมีผลต่อการท้าสปันจ์เค้กมาก ไข่ที่สดและใหม่
จะมีความคงตัวกว่า ไข่อุณหภูมิห้องจะตีได้ปริมาณที่มากกว่าไข่ที่เย็น
เค้กนีจะน้าส่วนผสมทุกอย่างยกเว้นเนยละลายตีรวมกันโดยเพิ่มสารเสริมคุ
ณภาพ ตีจนส่วนผสมขึนฟูจึงใส่เนยละลาย
Egg-Foam cake ซึ่งเป็น Low-Fat cake ชนิดหนึ่ง
เค้กสปองจ์ถือเป็นเค้กพืนฐานในการท้า
เบเกอรี่
โดยมักจะใช้เป็นส่วนประกอบของเค้กที่แสนอร่อยมากมายเค้กสปองจ์มีเนือ
ที่ฟูเบาและสปริงตัวดี
แต่อาจจะหยาบกว่าเค้กเนยเล็กน้อยเพราะมีส่วนประกอบที่เป็นไขมันไม่เย
อะเหมือนเค้กเนย
จึงมักจะมีการทาน้าเชื่อมที่ผิวเค้กเพื่อให้เค้กชุ่มชืนน่าทานมากยิ่งขึน
เค้กสปองจ์สามารถน้าไปประกอบกับเค้กได้หลายรูปแบบ เช่น
ท้าเป็นมูสเค้ก ใส่ผลไม้ ครีม filling ต่างๆ icing หรือช็อกโกแล็ตกานาช
ที่ส้าคัญ เค้กสปองจ์บางสูตรสามารถน้าไปม้วนเป็นโรลเค้กได้
โดยต้องเป็นสูตรที่ใส่เนยหรือไขมันไม่เยอะ
เพื่อจะได้ม้วนแล้วไม่แตกแป้งที่ใช้ในการท้าเค้กสปองจ์ควรเป็นแป้งที่ละเอี
ยดเบา เช่นแป้งเค้ก และบางครังอาจผสมแป้งข้าวโพด
เพื่อท้าให้แป้งเค้กเบายิ่งขึนเราสามารถท้าเค้กสปองจ์ได้หลายแบบ
เช่นตีไข่ทังใบกับน้าตาล
ตีไข่แดงกับน้าตาลและไข่ขาวกับน้าตาลแล้วน้ามารวมกัน
หรือเนยละลายที่ใช้อาจผสมนมร้อนด้วย
หรือบางสูตรของเค้กสปองจ์เราอาจไม่ใส่เนยก็ได้พืนฐานที่สุดคือการตีไข่
กับน้าตาลให้ขึนฟู 2-3 เท่า แล้วใส่แป้งที่ร่อนแล้วลงไปผสมให้เข้ากัน
แล้วจึงใส่เนยละลาย (ที่อุ่นๆเกือบร้อน) ลงไปผสมแล้วจึงน้าเข้าอบ
วิธีท้าเค้กสปองจ์
1. ชั่งตวงส่วนผสมอย่างถูกต้อง วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง
2. น้าหม้อใส่น้าประมาณ 1/4
ของหม้อตังไฟกลางให้น้าร้อนไม่ถึงกับเดือดพล่าน
แล้วน้าหม้ออีกใบที่ขนาดใหญ่กว่าวางไว้ข้างบนอีกที
วิธีการนีเรียกว่าการท้า Bain-Marie
3. น้าไข่กับน้าตาลใส่ในหม้อใบบน ท้า Bain-Marie
ด้วยการตีไข่กับน้าตาลให้น้าตาลละลาย พอส่วนผสมอุ่นขึนถึงประมาณ
43-44 องศา C ให้ยกลง
4. น้าไข่ใส่ในโถตี แล้วใช้หัวตีตะกร้อ ตีต่อให้ไข่ฟูขึนไปอีก
ให้สีเป็นครีมนวลขึนฟู 2-3 เท่า
5. ใส่แป้งทีละนิดลงไปผสมให้เข้ากัน
ถ้าในสูตรมีเนยละลายให้ใส่ทีหลังสุดเมื่อแป้งเข้ากันดีแล้ว
6. เมื่อส่วนผสมเข้ากันดี ต้องอบทันที
4.เมอแรงก์เค้ก (merinque cake)
เค้กกลุ่มนีใช้เฉพาะไข่ขาวเพียงอย่างเดียว เนือเค้กจะเบาๆ เช่น
แองเจิลเค้ก
เค้กชิฟฟอน (Chiffon Cake หรือ Combination Type Cake)
เค้กที่มีลักษณะผสมของเค้กเนยและเค้กไข่ คือ
มีโครงสร้างที่ละเอียดของเค้กไข่ และมีเนือเค้กที่มันเงาของเค้กเนย
ต่างจากเค้กเนยตรงชิฟฟอนเค้กใช้น้ามันพืชแทนเนยหรือมาการีนในเค้กเ
นยและวิธีการท้าผสมระหว่างเค้กเนยและเค้กไข่
วิธีท้าเค้กเมอแรงก์
1. ใช้มิกเซอร์ที่ความเร็วปานกลาง ตีไข่ขาวให้เป็นฟองหยาบๆ
จากนันใส่ครีมออฟทาร์ทาร์ลงไปตีด้วยกันจนฟองเริ่มมีความละเอียดมากขึ
น ค่อยๆใส่น้าตาลทรายลงไปทีละช้อนโต๊ะ แล้วตีต่อไปเรื่อยๆ
ไข่ขาวจะเริ่มตังยอดอ่อนๆก่อน จากนันจะเริ่มฟูและคงรูปมากขึน
สังเกตได้จากรอยหัวตี ตีจนได้ไข่ขาวที่ขึนฟู เนือข้น ยอดแข็ง สีจะเงาๆ
เหมือนกับครีมที่ทาขนมเบืองเลยพอได้แบบนีก็หยุดตี
2. ใส่กลิ่นวานิลลาและอัลมอนด์ป่นลงไปในไข่ขาว ลูกสนใส่อัลมอนด์ทีละ
1/3 แล้วใช้พายยางค่อยๆตะล่อมให้อัลมอนด์เข้ากับไข่ขาว
แล้วค่อยเติมอัลมอนด์ที่เหลือลงไปอีกทีละ 1/3 ส่วนจนหมดการตะล่อม
ให้ท้าโดยใช้พายยางตัดลงไปตรงกลางชามผสม
แล้วตักไข่ขาวข้างล่างขึนมาโปะทับอัลมอนด์
ใช้พายยางคนๆส่วนผสมด้านบนเบาๆให้กระจายตัว
จากนันหมุนชามผสมไปตามทิศเข็มนาฬิกาแล้วเริ่มขันตอนตะล่อมใหม่ทัง
หมดท้าจนอัลมอนด์เข้ากันดีกับส่วนผสมไข่
แล้วก็หยุดส่วนผสมที่ตะล่อมเสร็จเรียบร้อย
จะมีอัลมอนด์เป็นเม็ดๆกระจายอยู่บ้าง
เพราะเราบดแบบให้เหลืออัลมอนด์เป็นชินเล็กๆ จะได้รสสัมผัสเวลาเคียว
3. แบ่งส่วนผสมใส่พิมพ์ทังสองให้เท่าๆกัน
ใช้พายยางปาดหน้าขนมให้เรียบๆ แล้วน้าเข้าอบเป็นเวลา 35
นาทีพออบเสร็จแล้วให้พักเค้กให้เย็นก่อน แล้วค่อยคว่้าออกจากพิมพ์
เค้กเมอแรงก์ที่ได้ไม่ได้กรอบเหมือนเมอแรงก์ชินเล็กๆที่เราทานกัน
จะกรอบเฉพาะส่วนหน้า แต่ข้างในยังนุ่มๆอยู่
5.ชีสเค้ก (Cheesecake)
เป็นขนมที่มีส่วนผสมหลักคือ ครีมขีส ไข่ น้าตาล นม ผสมให้เข้กัน
แล้วน้าไปใส่ครัสต์
หรือจานขนมปังอบกรอบบด จริง ๆ
แต่ที่ไม่เรียกว่าชีสพายเพราะไม่ต้องน้าไปอบ ชีสเค้กคือเค้กที่แสนอร่อย
ไขมันค่อนข้างเยอะ เนียนนุ่ม เนือสัมผัสเค้กละมุนลิน
แต่เต็มไปด้วยความเข้มข้นของชีส
ส่วนประกอบหลักของชีสเค้กก็คือครีมชีสนั่นเอง
ซึ่งมีหลายยี่ห้อแล้วแต่ชอบ
ชีสเค้กที่ดีไม่ควรมีส่วนผสมหลายอย่างมากเกินไป
เพราะเราต้องการความหอมมันของชีสเป็นหลักวิธีท้าชีสเค้กให้อร่อยแบบง่
ายที่สุดก็คือ ใส่ชีสให้เยอะที่สุด แต่วิธีนีก็เสี่ยงต่อความอ้วนที่เพิ่มสูง
และความเลี่ยนของเค้กที่ท้าให้ทานได้เพียงนิดเดียวก็เลี่ยนซะแล้ว
จึงมีการเพิ่มส่วนผสมอื่นๆ เช่นไข่ แป้ง โยเกิรต หรือครีมเปรียว นม วิปครีม
หรือแม้แต่น้ามะนาว หรือเลมอน นัยว่าช่วยลดต้นทุน
และลดความเลี่ยนโดยยังคงมีรสชาติอร่อยใกล้เคียงกับการใส่ชีสเต็มๆได้เ
หมือนกันเราสามารถอบชีสเค้กได้ทังแบบ water bath หรือไม่ต้อง water
bath ซึ่งผลลัพธ์ออกมาไม่เหมือนกัน การอบแบบ water bath
จะท้าให้หน้าเค้กเป็นสีน้าตาลเข้มและขอบข้างเค้กเป็นสีอ่อน
และควรใช้พิมพ์ปกติ ไม่ใช่พิมพ์ถอดข้าง การอบแบบไม่ water bath
จะท้าให้หน้าเค้กเป็นสีอ่อนและขอบข้างเค้กเป็นสีน้าตาลเข้ม
และควรใช้พิมพ์ถอดข้าง
วิธีท้าชีสเค้ก
1. ตีครีมชีสด้วยหัวตีใบไม้ ความเร็วต่้า ให้ชีสเ่ป็นครีมเนียน
2. ค่อยๆใส่น้าตาล แป้ง ผิวเลมอน กลิ่นวนิลา และเกลือ ตามสูตร
3. ใส่ไข่ทีละใบ รอให้เข้ากันค่อยใส่ใบต่อไป
4. ใส่นม วิปครีม หรือน้าเลมอน ตามแต่สูตร
5. หากต้องการ อบด้วย water bath ให้วางพิมพ์ในพิมพ์อีกใบที่ใหญ่กว่า
แล้วเติมน้าให้สูงเกือบเท่าครึ่งหนึ่งของพิมพ์ที่มีชีสเค้กอยู่ อบที่ 180 C
กระทั่งสุกหากต้องการ อบแบบไม่ water bath อบที่ 110 C ประมาณ 1
ชั่วโมงขึนไป วิธีนีจะอบนานกว่า ชีสเค้กจะค่อยๆสุก
6. เมื่อสุกแล้ว วางพักให้เย็นก่อนจึงน้าเค้กออกจากพิมพ์
6.คอมบิเนชั่นไทป์เค้ก (combination type cake)
เป็นเค้กที่คล้ายกับเค้กไข่
แต่มีส่วนผสมของไขมันที่ใช้ในรูปของน้ามัน
มีวิธีการท้าก่้ากึ่งกันระหว่างเค้กเนยและเค้กไข่ เรียกว่าชิฟฟอนเค้ก
(chiffon cake) ซึ่งมีโครงสร้างที่ละเอียดเหมือน เค้กไข่
และมีเนือเค้กที่เงามันเหมือนเค้กเนย
ประโยชน์ของ “เค้ก”
เค้ก เป็นขนมอบที่มีลักษณะ รูปร่าง ตามความต้องการของผู้ผลิต
แต่มีส่วนประกอบของแป้งสาลี น้าตาลไข่ นม ไขมัน
และสิ่งปรุงแต่งให้เกิดชนิดของเค้ก เช่น ผลไม้ต่าง ๆ
ดังนันเค้กจึงเป็นขนมที่ให้ประโยชน์กับผู้บริโภค โดยได้รับสารอาหาร คือ
แป้ง น้าตาล ให้สารอาหาร คาร์โบไฮเดรท
ซึ่งเป็นสารอาหารที่ท้าให้เกิดพลังงานแก่ร่างกาย
ไข่ นม ให้สารอาหาร โปรตีน
ซึ่งเป็นสารอาหารที่สร้างเซลล์เนือเยื่อให้กับร่างกาย
เนย ไขมัน ให้สารอาหารไขมัน
ซึ่งเป็นสารอาหารที่ช่วยในการหล่อลื่นและท้าให้ผิวพรรณสดชื่น
นอกจากนันยังสามารถน้าไปใช้ในโอกาสต่าง เช่น วันมงคลสมรส วันเกิด
ปีใหม่ และสามารถจัดรับประทานเป็นอาหาร น้าชา กาแฟด้วย
วิธีท้าเค้กแต่ละชนิด และสาเหตุที่ท้าให้เค้กเสีย และวิธีการแก้ไข
เค้กที่มีไขมันเป็นส่วนผสมหลักมีด้วยกัน 3 วิธี คือ
วิธีที่ 1. ครีมเนย
เป็นวิธีการผสมโดยตีไขมันกับน้าตาลจนขึนฟูเป็นครีมขาว
แล้วค่อยๆใส่ไข่ทีละฟอง ตีให้เข้ากัน
จึงใส่แป้งสลับกับของเหลวโดยเริ่มต้นด้วยแป้งและต้องจบด้วยแป้ง
การเติมแป้งลักษณะนีเพื่อให้แป้งดูดซึมน้าบางส่วนและป้องกันแป้งจับตัวเป็
นก้อนผสมกันจนเนียนเรียบ
วิธีที่ 2. ผสมขันตอนเดียว
เป็นการผสมส่วนผสมทังหมด
ยกเว้นไข่แล้วตีด้วยความเร็วสูงประมาณ 5 นาทีจึงใส่ไข่ ตีต่ออีก 5
นาทีด้วยความเร็วต่้า วิธีนีมักใช้กับแป้งส้าเร็จรูป
วิธีที่ 3. แยกไข่ขาว - ไข่แดง
เป็นวิธีที่นิยมมาก เพราะจะได้เค้กที่มีปริมาณมาก
โดยแยกไข่แดงและไข่ขาวไว้ก่อน
แล้วตีเนยกับน้าตาลจนขึนจึงใส่ไข่แดงทีละฟอง
ตีผสมจนเข้ากันด้วยความเร็วต่้า ใส่ส่วนผสมแป้งสลับกับของเหลว
เติมกลิ่นตามต้องการ
จากนันตีไข่ขาวครีมออฟทาร์ทาร์จนตังยอดอ่อนจึงค่อยๆ
ใส่น้าตาลอีกส่วนจนหมดและมีลักษณะตังยอดแข็ง ใส่ส่วนผสมแป้ง
ตะล่อมเบาๆให้เข้ากัน
เค้กที่มีไข่เป็นส่วนผสมหลัก มี 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1. แองเจิลฟูลเค้ก
เป็นเค้กที่ใช้ไข่ขาวตีกับน้าตาลหนึ่งส่วนและใส่ครีมออฟทาร์ทาร์ลงไ
ปด้วยเพื่อช่วยให้ฟองไข่ขาวอยู่ตัว ไม่เหลวเป็นน้า
และท้าท้าให้เนือเค้กที่อบเสร็จมีสีขาวละเอียด
ส่วนน้าตาลอีกส่วนน้ามาผสมกับแป้ง เกลือ
แล้วน้าไปผสมกับไข่ขาวที่ตีจนตังยอดแข็ง คนเบาๆ ให้เข้ากัน
วิธีนีจะไม่มีไขมัน เพราะฉะนันพิมพ์ที่ใช้ใส่ก็ต้องไม่ทาไขมัน
วิธีที่ 2. สปองจ์เค้ก
เป็นเค้กที่ใช้ไข่ทังฟองหรือใช้เฉพาะไข่แดง
โดยตีไข่กับน้าตาลด้วยความเร็วสูงจนกระทั่งฟองไข่ละเอียดเป็นเนือสีขาว
จึงใส่ส่วนผสมของแป้ง บางสูตรอาจมีนมและเนยละลายด้วย
ซึ่งการเติมเนยละลายนันต้องเป็นเนยอุ่นๆ เพื่อป้องกันการยุบตัว
และต้องใส่หลังจากผสมแป้งแล้วโดยคนเร็วๆ และเบา
ชิฟฟอนเค้ก เป็นเค้กที่มีเนือเบาและนุ่ม มีวิธีการท้า 2 ขันตอน
ขันตอนที่ 1. แยกเอาไข่แดง – ไข่ขาว จากนันตีไข่ผสมกับแป้ง
น้าตาลหนึ่งส่วน ผงฟู เกลือ น้ามันพืช และน้า คนจนส่วนผสมเนียน
ขันตอนที่ 2. ตีไข่ขาวกับครีมออฟทาร์ทาร์ หรือน้ามะนาวพอขึน
จึงค่อยๆใส่น้าตาลอีกส่วน
ตีจนฟองแข็งตัวตังยอดแข็งจึงใส่ส่วนผสมไข่แดงตะล่อมเบาๆจนเข้ากันดีขั
นตอนนีส้าคัญมากต้องผสมเบาๆมือ
สาเหตุที่ท้าให้เค้กเสียและวิธีการแก้ไข
การท้าเค้กที่ดีจะต้องอาศัยเทคนิคแล้วยังต้องมีประสบการณ์
สัดส่วนและสิ่งที่ท้าอย่างถูกต้อง
ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึนเสมอและวิธีแก้ไขดังนี
1.เค้กหน้าไม่เรียบ ฟู และแตก วิธีแก้ไข ก็คือใช้ที่ปาด
แตะน้ามันพืชทาบนเนือขนมก่อนเข้าอบ
2.เค้กยุบตรงกลางเป็นเพราะอุณหภูมิในการอบไม่ถูกต้องใช้ไฟอ่อนหรือไ
ฟแรงเกินไป ควรปรับอุณหภูมิให้ถูกต้อง
หรืออาจใส่ผงฟูหรือน้าตาลมากเกินไป เป็นเพราะเคลื่อนย้ายเค้ก
หรือเปิดเตาอบขณะเค้กก้าลังขึน
3.ผิวหน้าเค้กแฉะ เป็นเพราะอบไว้ไม่สุกดี วิธีแก้ไขควรอบให้สุก
ตรวจสอบอุณหภูมิของเตาอบ
4.เค้กที่มีรูใหญ่ๆ เป็นเพราะส่วนผสมแห้งเกินไป ผสมกันไม่ทั่ว
เทเค้กลงในพิมพ์ไม่ต่อเนื่อง วิธีแก้ไขควรผสมให้เข้ากันอย่างทั่วถึง
เทเค้กลงพิมพ์ให้ต่อเนื่องกัน ไล่อากาศก่อนเข้า เตาอบโดยเคาะพิมพ์เบาๆ
หรือใช้พายยางลากไปมาในเนือขนมก่อนน้าเข้าเตาอบ
5.เนือเค้กแห้ง เป็นเพระตีไข่ขาวนานเกินไป
หรืออบนานเกินไปวิธีแก้ไขควรตีไข่ขาวถึงจุดที่ต้องการเท่านันไม่ควรอบน
านเกินไปตรวจสอบอุณหภูมิอย่างถูกต้อง
ข้อควรใส่ใจในการท้าเค้ก
1.แป้งต้องน้ามาร่อนก่อนทุกครังจึงค่อยตวง
2.ในการร่อนส่วนผสมแต่ละครังต้องร่อนผงฟู แป้ง และเกลือรวมกัน
3.การตวงต้องตวงให้พอดีกับช้อนตวง ไม่พูนขึนมา
4.การคนน้าตาลและเนย ต้องคนให้เข้ากันเป็นเนือครีมก่อนจะใส่ไข่
ในการคนไข่ต้องคนให้เข้ากันดี
5.ในการคนส่วนผสมต้องคนให้เข้ากันก่อน โดยวิธีการตะล่อมๆ
คนพลิกจากข้างล่างมาข้างบน แล้วจึงใส่นมตาม
คนให้เข้ากันแล้วจึงใส่แป้งโดยต้องค่อยๆใส่ทีละน้อยๆ
6.ถาดที่ใส่ส่วนผสมในการอบ
ต้องปูด้วยกระดาษก่อนแล้วจึงค่อยทาเนยก่อนเทส่วนผสมใส่ทุกครัง
7.การเทขนมลงในพิมพ์ ควรเทขนมเพียงค่อนของพิมพ์
เพราะเวลาอบขนมจะพองตัวขึนเต็มพิมพ์พอดี
แล้วจึงใช้ไม้เขี่ยให้ถึงพืนพิมพ์เพื่อไล่อากาศออก
8.ติดเตาอบตังไฟให้ถึงความร้อนตามที่ต้าราบอกก่อน จึงจะใส่ขนม
เมื่อขนมสุกจะมีสีน้าตาลทอง ขนมจะหดตัวร่อนจากขอบพิมพ์
จึงเอาออกจากเตาวางบนตะแกรง และค่อยๆเลาะเอากระดาษออก
9.นมที่ใช้ต้องเป็นนมสดเท่านัน หรือถ้าจะใช้นมข้นจืด (นมระเหย)
ต้องเติมน้าอีกเท่าตัว แต่ทางที่ดีควรใช้นมสดจะดีกว่า
10.น้าตาลที่ใช้ต้องเป็นน้าตาลทรายป่น หรือน้าตาลทรายป่นละเอียด
เพื่อในการผสมส่วนผสมจะละลายง่าย
11.น้าตาลไอซิ่ง คือ
น้าตาลทรายผงละเอียดที่ผสมแป้งข้าวโพดหรือแป้งมัน
ใช้ในการแต่งหน้าเค้ก หรือโรยหน้าขนมปัง
12.ไข่ที่ใช้หมายถึงไข่ไก่ทังฟอง ถ้าต้าราระบุว่าใช้ไข่แดง
คือไข่แดงที่แยกไข่ขาวออกแล้ว
13.โกโก้ผงละเอียดเมื่อผสมน้าแล้วเรียกว่า ช็อกโกแลต
14.กลิ่นที่นิยมใช้ในการท้าขนมคือ กลิ่นวานิลา กลิ่นส้ม กลิ่นกล้วย
กลิ่นกาแฟ กลิ่นบรั่นดี กลิ่นช็อกโกแลต กลิ่นอลามัน
ดังนันจึงควรมีกลิ่นพวกนีไว้ใช้ได้ตลอดเวลา
ความรู้เรื่องการท้าเค้ก
เค้ก เป็นขนมชนิดหนึ่งมักจะท้าจากส่วนผสมหลัก 4 อย่าง คือแป้ง
น้าตาล ไข่ และไขมัน มีลักษณะเนือละเอียดนุ่มรสชาติอร่อย
นิยมใช้ในงานปีใหม่ วันเกิดเป็นต้น
ชนิดของเค้กโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
1. เค้กที่มีส่วนผสมของไขมันเป็นหลัก เช่น เค้กเนย
2.เค้กที่มีไข่เป็นส่วนผสมเป็นหลัก เช่นเค้กถ้วย เค้กญี่ปุ่นที่ 1 และชนิดที่ที่
2 ผสมกันเช่น ซิฟฟอนเค้ก
เทคนิคการท้าเค้กทั่วไป
1.ควรร่อนแป้งทุกครังก่อนน้ามาตวงเพื่อให้อากาศเข้าแทรกระหว่างเนือแ
ป้งท้าให้แป้งฟูและเบา ถ้าจะใช้
วิธีชั่งก็ต้องร่อนก่อนชั่ง
2.เนยหรือเนยเทียม
ถ้าเป็นเนยสดจะตีหรือคนได้โดยง่ายต้องน้าออกจากตู้เย็นก่อนน้ามาใช้
แต่ไม่ควรน้าไปตังไฟเพื่อเร่งให้อ่อนตัวเร็วขึนเพราะจะท้าให้เนยสดละลาย
และเหลวเกินไปซึ่งไม่สามารถตีให้ขึนฟูได้
ถ้าเป็นเนยเทียมหรือมากกลิ่นไม่เก็บในตู้เย็น
3.ในกรณีที่ท้าเค้กที่มีปริมาณน้าตาลสูง
มักนิยมตีแป้งกับเนยก่อนจึงเติมส่วนผสมอื่นๆ
ส้าหรับน้าตาลทรายควรละลายในส่วนผสมของ
ของเหลวก่อนแล้วจึงเติมลงในส่วนผสมเพราะจะท้าให้เปลือกขนมที่อบแล้ว
นุ่มขึน
4.การตีส่วนผสมเค้กชนิดที่มีไขมันเป็นหลัก
ควรใช้พายยางปาดข้างอ่างผสมและที่ตีเสมอๆ
เพื่อช่วยให้ส่วนผสมเข้ากับได้ง่ายขึนนอกจากนีควรหยุดเครื่องตีก่อนจึงใ
ช้พายปาดทุกครัง
5.การเติมไข่หรือส่วนผสมที่เป็นของเหลวควรค่อยๆ
เติมลงไปทีละน้อยหรือแบ่งเติมไปทีละส่วน ไม่ควรใส่หมดในทีเดียว
ทังนีเพื่อป้องกันไม่ให้ไขมันแยกตัวออกจากส่วนผสม
6.ในการผสมเค้กในช่วงสุดท้าย
มักจะเป็นการผสมนมหรือของเหลวอื่นสลับกับแป้งเป็นส่วนผสมสุดท้ายเพื่อ
ป้องกันการแยกตัวของไขมัน
ในส่วนผสมอื่นและเพื่อให้แป้งดูดซึมของเหลวบางส่วนไว้
7.ไข่ไก่ที่เหมาะในการท้าขนมเค้กควรเป็นไข่ไก่สด และต้องไม่แช่ตู้เย็น
8.ในการท้าเค้กชนิดที่มีส่วนผสมของไข่เป็นหลัก
ควรร่อนแป้งลงในส่วนผสมอื่นๆ หรือใช้วิธีตะล่อมแป้งให้เข้ากันทีละน้อย
เพราะจะท้าให้แป้งค่อยๆ ดูดซึมของเหลวและไม่จับตัวเป็นก้อน
ท้าให้ผสมกันได้มากขึน
9.ในการตีไข่ขาวหรือไข่แดง
ส้าหรับเค้กชนิดที่ต้องตีไข่ให้ขึนฟูควรตีด้วยความเร็วสูง
จนไข่เริ่มตังยอดอ่อนๆ
จึงเติมน้าตาลลงทีละน้อยและเมื่อส่วนผสมของไข่ขาวและน้าตาล
เริ่มฟูเป็นฟองขึนจึงลดความเร็วลง
ใช้ความเร็วปานกลางเพื่อให้ฟองอากาศยังคงอยู่ในส่วนผสม
ข้อควรระวังการตีไข่ขาวนันอุปกรณ์เครื่องใช้ทุกอย่างได้แก่อ่างผสมที่ตี
พายยางจะต้องสะอาดและแห้งสนิท ไม่เปื้อนไขมัน
ไข่ขาวไม่ควรมีส่วนของไข่แดงปนอยู่แม้แต่น้อย
10.ในการอบเค้กทุกชนิด
ควรจุดเตาอบให้อุณหภูมิของเตาอบได้ตามความต้องการ
ถ้าอบขนมให้มีลักษณะดีเหลือง สม่้าเสมอผู้ท้าต้องศึกษาการใช้เตาอบนันๆ
จนเกิดความเคยชิน
11.การทดสอบว่าเค้กที่อบสุกหรือยังนัน ท้าได้โดย
ใช้ไม้ปลายแหลมจิมตรงกลางขนมถ้าไม่มีเศษขนมติดไม้ออกมาแสดงว่าสุ
กและสังเกตุว่าขอบขนมร่อนออกจากพิมพ์โดยรอบ
12.การอบเค้กควรวางพิมพ์ให้อยู่กึ่งกลางเตาอบให้มากที่สุด
หรือเมื่อต้องการอบอบพร้อมกันสองพิมพ์ หรือมากกว่านัน
ควรจัดวางพิมพ์ห่างกันประมาณ 1 นิว
ไม่ควรวางพิมพ์ชิดหรือติดผนังเตาอบถ้าอบทังสองชัน
ก็ควรวางสับหว่างกัน
13.ในการรองเค้ก ไม่ควรเปิดเตาอบขณะขนมก้าลังขึน
ถ้าจ้าเป็นจะต้องเปิดเตาอบดูขนบ ควรเปิดอย่างช้าๆ มิฉะนันขนมจะไม่ขึน
และยุบได้
ลักษณะของเค้กที่ดี
1.สีของผิวรอบนอกควรเป็นสีเหลืองหรือน้าตาลอ่อนสม่้าเสมอ
2.สีของเนือใน เป็นไปตามส่วนผสมเช่นเค้กเนยก็เป็นสีเหลืองอ่อน
เค้กช็อคโกแลตก็เป็นสีน้าตาล
3.ลักษณะของ ของรอบนอก เรียบสม่้าเสมอกัน
4.การขึนฟูเป็นไปตาม ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ผลิตได้
น้าหนักเบาเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของขนม
5.ลักษณะของหน้าขนม มัน เรียบ ไม่นูนเป็นแห่งๆ
6.กลิ่นหอม ชวนรับประทาน เป็นไปตามส่วนผสมที่ใส่แต่ต้องไม่มีกลิ่นหืน
7.ลักษณะของเนือในต้องละเอียด ไม่แน่น หนัก มีความชืน
ไม่ร่วนหรือแฉะ
8.มีความนุ่มนวล นิ่มเมื่อเอามือแตะเบาๆ จะสปริงหรือหยุ่นกลับที่เดิม
เนือจะไม่แน่น
9.รสชาติกลมกล่อมเป็นไปตามส่วนผสมไม่ควรมีรสชาติผิดแผก
แปลกออกไป เช่น รถเฝื่อนเป็นต้น
อุปกรณ์ท้าเค้ก
ถ้วยตวง
ถ้วยตวงของแห้ง มีหลากหลายรูปทรงและวัสดุ
ใช้ตวงของแห้งเช่นแป้ง น้าตาล ข้าวโอ๊ต ถั่วต่างๆ
ฯลฯ ถ้วยตวงของเหลว ใช้ส้าหรับตวงส่วนผสมเช่น นม น้า
น้ามันพืช ไข่ขาว เป็นต้น
ตาชั่ง
จะตวงพวกแป้งท้าเค้ก
ที่ร่อนแป้ง
ชามผสม
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผสม เริ่มจากชามผสมก่อน มีหลายขนาด
และหลายๆวัตถุดิบ เช่นแก้วทนความร้อน, สแตนเลส, ทองแดง, เมลามีน
หรือเซรามิค แต่ละชนิดก็มีข้อดี-ข้อเสียต่างกันไป
ตัวอย่างเช่นการตีไข่ขาว
ถ้าตีในชามผสมทองแดงจะได้ไข่ขาวที่ฟูตังยอดและโครงสร้างแข็งแรงที่สุ
ด แต่ถ้าใช้ชามผสมที่ท้าจากอลูมิเนียม
ไข่ขาวจะท้าปฏิกิริยาเคมีกับสารอลูมินั่ม ท้าให้ไข่ออกมามีสีเทาจางๆ
หรือการตุ๋นช็อคโกแลตฃบนหม้อสองชันก็ควรใช้ชามผสมชนิดแก้วทนคว
ามร้อน หรือสแตนเลส เป็นต้น
ตะกร้อตีมือ และ พายยาง
1.แบบบอลลูน เหมาะส้าหรับตีจับอากาศ เช่นตีไข่ขาว หรือวิปปิ้งครีม
เป็นต้น
2.แบบ French ปกติจะมีซี่น้อยกว่าแบบบอลลูน
เหมาะส้าหรับตีพวกซอสหรือเกรวี่ และคัสตาร์ด
3.แบบมีเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิในตัว เหมาะส้าหรับเวลาตุ๋นช็อคโกแลต
หรือท้าคัสตาร์ด หรือการปรุงอาหารต่างๆที่ต้องจับอุณหภูมิ
4.เครื่องตีแบบมือถือ ไว้ส้าหรับตีจับอากาศเช่นตีเนย ตีไข่ขาว
หรือตีวิปปิ้งครีม เป็นต้น
5.แบบขาตัง
พายยาง
ไว้ส้าหรับปาดอ่างผสม เพื่อป้องกันส่วนผสมติดข้างๆและก้นอ่าง
เตาอบ
เตาอบใหญ่ และไมโครเวฟ
ที่วัดความสุกของเค้ก
ที่ส้าคัญ ควรซือเทอร์โมมิเตอร์อันเล็กๆแขวนไว้ในเตาอบ
เพราะส่วนมากเตาอบเล็กๆ หรือเตาใหญ่ก็ตามอุณหภูมิมักจะไม่ค่อยตรง
เวลาอบขนมอาจท้าให้ขนมมีลักษณะไม่ดีได้
ไม้จิมทดสอบ
ที่ตกแต่งเค้ก
เรียงทวนเข็มนาฬิกา หัวบีบ, ถุงบีบและน็อตยึด
,ชามผสมเล็กและสปาตูล่าเล็ก ส้าหรับไว้แบ่งครีมผสมสีหลายๆสี,
แผ่นท้าลายข้างเค้ก, สีผสมอาหารชนิดเจล และก้านร่มส้าหรับบีบกุหลาบ
นาฬิกาจับเวลา
นาฬิกาจับเวลา เอาไว้เวลาที่บางทีสูตรบอกให้กลับถาดทุกๆ 10 นาที
ตัวนีก็จะช่วยได้ มีหลายแบบมาก
กรรไกรพลาสติก
ส้าหรับยกกุหลาบหรือดอกไม้ที่บีบไว้บนก้านร่มมาวางไว้บนหน้าเค้ก
สปาตูล่า
ส้าหรับปาดเค้ก
แท่นหมุนเค้ก ส้าหรับเวลาแต่งหน้าเค้ก แบบธรรมดา หมุนซ้าย-ขวา
Cake marker ช่วยท้ารอยแบ่งเค้ก เพื่อที่เวลาตัดจะได้ชินเท่าๆกัน
2.2 ความหมายของ WordPress
wordpress
หลายคนรู้จักกันดีและบางคนก็อาจจะก้าลังใช้งานอยู่ก็ได้แต่จะมีสักกี่คนที่
รู้ว่า wordpress มีประวัติความเป็นมายังไงเดี๋ยวจะได้รู้กันครับ
ความเป็นมาของ wordpress เริ่มจาก B2 หรือ cafelog
คือผู้ที่ให้ก้าเนิดการท้างานของเว็บบล๊อกที่ชื่อว่า wordpress
ได้การผลิตบล็อกชนิดนีขึนครังแรกประมาณปี 2003 ตอนนันมีบล็อก
wordpress อยู่ประมาณ 2000 บล็อก บล็อกที่ชื่อว่า wordpress นี
เขียนด้วยภาษา PHP เพื่อที่จะใช้กับ MySQL โดยผู้เขียน wordpress
ก็คือ Michel Valdrighiเป็นผู้ร่วมพัฒนา wordpress ตอนนัน wordpress
ยังอยู่ใน B2evolution wordpress ได้ปรากฏสู่โลกในปี 2003
โดยเป็นความพยายามของ MattMullenweg และ Mike little ในปี 2004
ได้ถูกเปลี่ยนแปลงโดย six apart ท้าให้มีผู้งาน wordpress
จ้านวนมากขึน และเริ่มก่อเกิดแบรนด์wp หรือ wordpress
ขึนมาและมีการใช้งานมากขึนและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมาถึงปัจจุบั
น ในปี 2007 wordpress ได้รับรางวัลชนะเลิศในเรื่องของ Packt
opensource CMS awardเว็บไซต์นี จะแนะน้าถึงวิธี การใช้
WordPressตังแต่พืนฐานเริ่มต้น ไปจนถึงการเพิ่มเทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ
แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้กัน เราควรมารู้จักก่อนว่า WordPressคือ อะไร
WordPress คือ โปรแกรมส้าเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้ส้าหรับสร้าง บล็อก
หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents
Management System) ซึ่งหมายถึง
โปรแกรมส้าเร็จรูปที่มีไว้ส้าหรับสร้างและบริหารจัดการเนือหาและข้อมูลบ
นเว็บไซต์ WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดค้าสั่งมาจากภาษา
PHP (เป็นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ท้างานบนฐานข้อมูล MySQL
ซึ่งเป็นโปรแกรมส้าหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรียกดู แก้ไข
เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่วมกับ MySQL
อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตใช้งานแบบ GNU General Public License
WordPress ปรากฏโฉมครังแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003)
เป็นความร่วมมือกันระหว่าง MattMullenwegและ Mike
Littlejมีเว็บไซต์หลักอยู่ที่ http://wordpress.org และยังมีบริการ Free
Hosting (พืนที่ส้าหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริการได้ที่
http://wordpress.com
ปัจจุบันนี WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึนอย่างรวดเร็ว
จนมีผู้ใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บบล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ
ไม่ว่าจะเป็น Drupal , Mambo และ Joomlaสาเหตุเป็นเพราะ ใช้งานง่าย
ไม่จ้าเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม
อีกทังยังมีผู้พัฒนา Theme (รูปแบบการแสดงผล) และ Plugins
(โปรแกรมเสริม) ให้เลือกใช้ฟรีอย่างมากมายนอกจากนี ส้าหรับนักพัฒนา
WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็นไกด์ไลน์
เพื่อศึกษาองค์ประกอบส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน ส้าหรับพัฒนาต่อยอด หรือ
น้าไปสร้าง Theme และ Plugins ขึนมาเองได้อีกด้วย หน้าซ้า
ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU ส้าหรับไว้ให้ผู้น้าไปใช้
สามารถเปิดให้บริการพืนที่ท้าเว็บบล็อกเป็นของตนเอง
เพื่อให้ผู้อื่นมาสมัครขอร่วมใช้บริการในการสร้างเว็บบล็อก
ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรือที่เรียกว่า Sub-Domain

More Related Content

What's hot

ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพguest83238e
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล noeiinoii
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...Dnavaroj Dnaka
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 

What's hot (20)

ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
5614650776
56146507765614650776
5614650776
 
Bakery businessplan
Bakery businessplanBakery businessplan
Bakery businessplan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 

More from Poommarin Smile'Elf

More from Poommarin Smile'Elf (18)

แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เกี่ยวกับโครงงาน
เกี่ยวกับโครงงานเกี่ยวกับโครงงาน
เกี่ยวกับโครงงาน
 
แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
เกี่ยวกับโครงงาน
เกี่ยวกับโครงงานเกี่ยวกับโครงงาน
เกี่ยวกับโครงงาน
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 เค้ก 2.1.1 ประวัติเค้ก ขนมเค้ก (cake) เป็นอาหารชนิดหนึ่งที่มักจะมีรสหวานและผ่านกระบวนการอบ ซึ่งจะท้ามาจากแป้ง น้าตาล และส่วนประกอบอื่นๆ เช่น ไข่ ผัก และผลไม้ที่ให้รสหวานหรือเปรียว หรือส่วนประกอบที่มีไขมัน เช่น เนย ชีส ยีสต์ นม เป็นต้น และนิยมรับประทานเป็นของหวาน และฉลองในเทศกาลต่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันเกิดและวันแต่งงาน ซึ่งในโลกมีต้ารับหรือสูตรการท้าเค้กเป็นจ้านวนล้านๆ สูตร ขนมเค้กมีหลากหลายชนิด อาทิ ชีสเค้ก ฟรุตเค้ก แพนเค้ก เค้กเนยสด และแยมโรล เป็นต้น ขนมเค้ก มีรากศัพท์มาจากภาษาของชาวไวกิง (Old Norse word) มาจากค้าว่า “kaka” ประวัติเริ่มจากปี ค.ศ. 1843 นักเคมีชาวอังกฤษชื่อ อัลเฟรดเบิร์ด (Alfred Bird 1811-1878) ได้ค้นพบ “ผงฟู” (baking powder) ขึน ท้าให้เขาสามารถท้าขนมปังชนิดที่ไม่มียีสต์ได้เป็นครังแรก ทังนีเนื่องมาจากภรรยาของเขา (Elizabeth) เป็นโรคภูมิแพ้อาหารที่มีส่วนผสมของไข่และยีสต์ ส้าหรับประวัติขนมเค้กในประเทศไทยนัน ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2480 ขนมเค้กยังไม่เป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไปมากนัก จะมีเพียงคนบางกลุ่มเท่านันที่ได้รับอารยธรรมตะวันตกหรือใกล้ชิดกับชาว
  • 2. ต่างประเทศที่เข้ามาท้าธุรกิจ โดยร้านเบเกอรี่ (bakery) ในกรุงเทพฯ มีอยู่ไม่มากนัก ร้านที่เป็นที่รู้จักย่านถนนเจริญกรุงคือร้านมอนโลเฮียงเบเกอรี่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2490 หลังจากสงครามโลกครังที่สองสินสุดลง ประเทศไทยมีการติดต่อค้าขายท้าธุรกิจกับต่างประเทศ และการท่องเที่ยวมีการขยายตัวมากขึน ท้าให้มีความต้องการบริโภค ขนมเค้ก ขนมปัง เพสตรี เพื่อบริการแก่ลูกค้าหรือนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมีมากขึน ด้วยเหตุนีธุรกิจเบเกอรี่ หรือขนมเค้ก ขนมปัง ขนมคุกกี จึงขยายตัวและเป็นที่รู้จัก และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย นับตังแต่นัน เป็นต้นมา 2.1.2 ชนิดของเค้ก Basic Ingredients วัตถุดิบพืนฐานในการท้าเค้ก 1. แป้ง (Flour) โดยทั่วไปเราจะใช้แป้งเค้ก (Cake Flour) และแป้งอเนกประสงค์ (All-Purpose Flour)ในการท้าเค้ก แป้งเค้ก (Cake Flour) นุ่ม เบา มีสีขาวบริสุทธิ์ มัโปรตีนอยู่น้อยท้าให้เนือเค้กละเอียดเบา ไม่หยาบ
  • 3. แต่ขณะเดียวกันก็ร่วนง่ายกว่าแป้งอเนกประสงค์ส่วนแป้งอเนกประสงค์ (All-Purpose Flour) สามารถใช้ท้าเค้กได้เช่นกัน แต่เหมาะกับเค้กที่ต้องการความเหนียวหรือเนือแน่นบ้างเล็กน้อย เช่น บราวนี่ บัตเตอร์เค้ก หรือเค้กกล้วยหอม แป้งข้าวโพด (Cornstarch) ใช้ส้าหรับเพิ่มความหนาของส่วนผสมบางอย่าง เช่น ซอส คัสตาร์ด พุดดิง ครีมพาย และช่วยให้ส่วนผสมคงรูปเมื่อเย็นขึน 2. น้าตาล (Sugar) ในแง่ของการท้าเค้ก หรือเบเกอรี่ทั่วไป น้าตาลเป็นมากกว่าสารให้ความหวาน หน้าที่ของน้าตาลมีหลายอย่างที่มีผลกับการท้าเค้ก เช่น - ท้าให้เค้กชุ่มชืน - ช่วยให้เค้กสีสวย - ท้าให้เก็บได้นานขึน - ช่วยในการตีส่วนผสม เช่นตีเนยกับน้าตาล หรือตีไข่กับน้าตาล น้าตาลมีหลายชนิด ดังนี 1. น้าตาลทราย (Granulated sugar) เป็นเกล็ดน้าตาล ถ้าละเอียดหน่อยจะเรียกว่า น้าตาลเบเกอรี่ 2. น้าตาลไอซิ่ง (Powdered sugar) เป็นผงคล้ายแป้ง ไม่หวานเท่าน้าตาล 3. น้าตาลทรายแดง (Brown sugar) เป็นสีน้าตาล เหมาะกับการท้าเค้กบางชนิดที่ต้องการรสขมนิดๆเช่นเค้กขิง เค้กช็อกโกแล็ต และการท้าคาราเมล หรือซอสต่างๆ 4. น้าเชื่อม คือน้าตาลในรูปของน้า รวมทัง น้าผึงด้วย
  • 4. 3. ไขมัน (Fat) เช่น เนย เนยขาว มาร์การีน รวมทังน้ามันด้วย หน้าที่ของไขมันในการท้าเค้ก คือ - ท้าให้เค้กนุ่มนวลเนือละเอียด - เพิ่มรสชาติมันเนยและความชุ่มชิ่น - ท้าให้เก็บได้นานขึน - ช่วยเพิ่มความอยู่ตัวให้เค้ก เนยท้าให้เค้กรสชาติดีที่สุด แต่เนยขาวและมาร์การีนช่วยในการตีขึนฟูและการอยู่ตัวของเค้กในขันตอ นการตีเนยกับน้าตาล ในขณะที่น้ามันช่วยให้เค้กชุ่มชินที่สุด 4. นม (Milk) นอกจากเพิ่มรสชาติให้เค้กแล้ว ยังช่วยลดความเหนียวของเค้กเมื่อใช้แทนน้าในส่วนผสม 5. ไข่ (Eggs) ส่วนใหญ่เรามักจะใช้ไข่ไก่ในการท้าเค้ก ซึ่งควรเลือกที่สดที่สุด และใช้เบอร์ 1 หรือแล้วแต่ที่สูตรก้าหนด หน้าที่ของไข่มีหลายอย่าง เช่น - ช่วยให้โครงสร้างกับเค้กเวลาอบ - ช่วยให้ขึนฟู เมื่อตีกับน้าตาล - ช่วยเพิ่มความชุ่มชืน โดยเฉพาะส่วนไข่แดง - เพิ่มรสชาติให้เค้ก - เพิ่มสีที่น่ารับประทาน 6. สารขึนฟู (Leavening Agent)
  • 5. ยีสต์ ส้าหรับขนมปัง เดนิช พัพฟ์เพสตรี ผงฟู เบ็คกิงโซดา ส้าหรับเค้ก เราสามารถท้าให้เค้กขึนฟูได้โดยการตีเนยกับน้าตาล หรือตีไข่กับน้าตาลให้ขึนฟูแล้วจึงผสมกับส่วนผสมอื่นๆ ไอน้าก็ช่วยให้เค้กขึนฟูได้เช้นกัน 7. สารช่วยคงรูป (Jelling Agent) เจลาติน (Gelatin)มีทังแบบแผ่นและแบบผง โดยแบบแ่ผ่นต้องน้าไปแช่น้าเย็นก่อนใส่ในส่วนผสมที่ร้อน ส่วนแบบผงอาจจะน้าไปละลายในน้าอุ่นหรือนมอุ่นก่อน หรือใส่ในส่วนผสมที่ร้อนอยู่ก็ได้เจลาตินจะแข็งตัวเมื่อส่วนผสมเย็นขึน เวลาใช้จึงต้องรีบผสมให้เข้ากันก่อนจะเซ็ตตัว 8. ผลไม้และถั่ว ผลไม้มีทังแบบสดและแบบแช่แข็งให้เลือก ส่วนถั่วที่ใช้บ่อย คือ อัลมอนด์ แม็คคาดาเมีย ฮาเซลนัท วอลนัท พิสตาชิโอ้ เม็ดมะม่วง 9. สารเพิ่มกลิ่นรส เช่น กลิ่นวนิลา มีทังแบบฝัก ผง และน้าและซินนามอน ขิง งา ผงออลสไปซ์ ก็ช่วยเพิ่มกลิ่นรสให้เค้กเช่นกัน 10. ช็อกโกแล็ตและผงโกโก้ ช็อกโกแล็ต มีทังแบบ semi-sweet, bitter, dark chocolate, milk chocolate ส่วนไวท์ช็อกโกแล็ตในยี่ห้อดีๆยังมีส่วนผสมของโกโก้บัตเตอร์ซึ่งได้จากเม
  • 6. ล็ดโกโก้ แต่ในชนิดราคาถูกจะไม่มีส่วนประกอบของโกโก้บัตเตอร์จึงไม่นับว่าเป็นช็ อกโกแล็ตเหมือนกันส่วนผงโกโก้มีทังแบบ Natural cocoa และ Dutch precess ซึ่งจะสีเข้มกว่า รสชาติดีและละลายได้ง่ายกว่า 1. เค้กเนย (butter cake) เป็นเค้กที่มีไขมันสูง การขึนฟูของเค้กประเภทนีเกิดจากอากาศที่ได้จากการตีเนยกับน้าตาล โดยไขมันจะเก็บอากาศไว้ ซึ่งจะขยายตัวในระหว่างการอบ เค้กประเภทนีได้แก่ ไวท์เค้ก ช็อกโกแลตเค้ก ฟรุ้ตเค้ก Butter cakes เข้าใจได้อีกอย่างว่า High-Fat cakes ในวงการเบเกอรี่เป็นที่รู้กันว่า เป็นเค้กที่มีส่วนประกอบของไขมันเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือเนย (Butter) ซึ่งรูปร่างและองค์ประกอบ (texture) ของเค้กเนยจะค่อนข้างเข้มข้น หนักแน่น สัมผัสรสชาติของเนยได้ชัดเจน เนยช่วยเพิ่มความอร่อยและละลายในปากการใช้เนยขาวแทนเนยสามารถ ท้าได้แต่ไม่แนะน้าเพราะรสชาติต่างกันชัดเจน เนยอร่อยกว่าเยอะ
  • 7. เค้กเนยมีการใส่แป้งค่อนข้างเยอะ เพื่อความอยู่ตัวและหนักแน่นของเค้กการท้าเค้กเนยเรียกง่ายๆว่า Creaming method คือ การตีเนยกับน้าตาลก่อนให้เป็นครีม วิธีการท้าเค้กเนย 1. ชั่งส่วนผสมทังหมดให้ถูกต้อง น้ามาไว้ที่อุณหภูมิห้อง ร่อนของแห้งพักไว้ 2. ตีเนยที่เริ่มอ่อนตัวด้วยหัวตีใบไม้ให้เป็นครีม ด้วยความเร็วปานกลาง 3. ค่อยๆใส่น้าตาลทีละนิด ตีให้ครีมฟูเบาและขยายตัว 4. ใส่ไข่ทีละฟอง ตีให้เข้ากันด้วยความเร็วปานกลาง รอให้ส่วนผสมเข้ากันก่อนจึงใส่ไข่ใบต่อไป 5. ปาดโถตีบ่อยๆเพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันทั่ว 6. ใส่ส่วนของแห้ง (แป้ง) สลับกับของเหลว เช่น นม โดยแบ่งใส่ซัก 2-3 ครัง 7. น้าเข้าอบที่อุณหภูมิ 180 c กระทั่งสุก เทคนิคในการปรับสมดุล (Balance) ของเค้กเนย
  • 8. เนื่องจากเค้กเนยเป็นเค้กพืนฐานที่อบให้สมบูรณ์แบบได้ยาก เนื่องจากมีส่วนผสมเพียงไม่กี่อย่าง จะสังเกตว่า บางทีอบสุกช้าจนเค้กแห้งหมดแล้ว บางทีอบก็หน้าเค้กแตก เค้กไม่ชุ่มฉ่้า เกล็ดน้าตาลไม่ละลาย ฯลฯ การท้าเค้กเนยจึงควรรู้เทคนิคพิเศษ เช่น อุณหภูมิของเนยที่น้ามาตี ปริมาณของแห้ง ของเหลว น้าตาลควรจะเป็นเกล็ดเล็ก นมที่ใช้ควรมีอุณหภูมิที่อุณหภูมิห้อง เป็นต้น การ Balance เค้กเนย จึงมีส่วนช่วยในการท้าเค้กเนยให้ส้าเร็จด้วยดี มีเทคนิคดังนี ถ้ามีการเพิ่มของเหลวในสูตร เช่น นม ต้องลดไข่และเนย ถ้ามีการเพิ่มไข่ ต้องเพิ่มเนยด้วย ถ้ามีการเพิ่มผงโกโก้ ต้องเพิ่มน้าในปริมาณ 80% ของปริมาณผงโกโก้ที่เพิ่มขึน ยิ่งอบใส่พิมพ์ขนาดเล็กลง ต้องยิ่งเพิ่มของเหลวในสูตร เพราะปริมาณน้าที่ระเหยจะเพิ่มขึนเนื่องจากอบนานกว่าจะสุก 2.เค้กไข่ (foam cake)
  • 9. เป็นเค้กที่ขึนฟูโดยตีฟองอากาศเข้าไปในไข่ แบ่งย่อยเป็น 3 ชนิดคือ -ชิฟฟอนเค้ก (chiffon cake) เป็นเค้กที่ใช้น้ามันพืชแทนเนย -เค้กไข่ขาว (angle food cake) ใช้ไข่ขาวล้วน ไม่ใส่ไข่แดงและไขมันใดๆ แต่ใส่น้าตาลมาก -สปันจ์เค้ก (sponge cake) เป็นเค้กที่ตีไข่ทังฟองกับน้าตาลให้ขึนฟู เค้กชิฟฟอนเป็นเค้กที่ขึนฟูด้วยการตีไข่ขาวกับน้าตาลเป็นหลัก แม้จะใส่ผงฟูในสูตรด้วย แต่การตีไข่ขาวกับน้าตาลเป็นสิ่งที่ต้องให้ความส้าคัญมากในการท้าเค้กชิ ฟฟอน คืออย่าตีไข่ขาวกับน้าตาลเร็วเกินไป หรือตีนานเกินไปจนไข่ขาวแห้งแหละหยาบกระด้าง ซึ่งจะท้าให้เนือเค้กแห้งด้วยสิ่งที่เราต้องให้ความส้าคัญ คือ ไข่ขาว ไม่ควรมีไข่แดงปน โถตีควรเช็ดให้แห้งและให้มีแต่ไข่ขาวโดยไม่มีสิ่งอื่นปะปน เช่นน้า น้ามัน แป้ง ฯลฯ วิธีท้าเค้กชิฟฟอน 1. ชั่งตวงส่วนผสมอย่างถูกต้อง วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง
  • 10. 2. ร่อนของแห้งทังหมด คือ แ่ป้ง ผงฟู เกลือ หรือของแห้งอย่างอื่น เช่น ผงโกโก้ 3. ใส่น้าตาลส่วนที่ 1 (หรือแล้วแต่สูตรก้าหนด) ในส่วนแป้งนี คนเบาๆด้วยตะกร้อมือ 4. ท้าบ่อแล้วใส่น้ามัน ไข่แดง และนม หรือของเหลวตามแต่สูตรก้าหนด คนแรงๆให้เข้ากัน อย่าคนนานเพราะจะท้าให้เนือเค้กเหนียวและหยาบ 5. ตีไข่ขาวกับน้าตาลส่วนที่ 2 (หรือแล้วแต่สูตรก้าหนด) ให้ตังยอดคล้ายครีมขนมเบือง (moist peak) 6. fold ไข่ขาวเข้ากับส่วนแป้ง (fold คือ การผสมส่วนผสมที่เบาเข้ากับส่วนผสมที่หนักด้วยการใช้ไม้พายหรือตะกร้ อมือค่อยๆตะล่อมผสมส่วนผสมทังสอง เพื่อให้ปริมาตรฟูเบาไม่ยุบตัว) และควรท้าให้เร็วเพราะยิ่งนาน ส่วนผสมก็จะยิ่งแฟ่บลง ท้าเสร็จแล้วต้องน้าเข้าอบทันที เค้กชิฟฟอนจะอบที่อุณหภูมิ 180 - 200 C โดยประมาณ 3.เค้กสปองจ์ (Sponge cake)
  • 11. เค้กชนิดนีขึนฟูด้วยไข่ คุณภาพของไข่จะมีผลต่อการท้าสปันจ์เค้กมาก ไข่ที่สดและใหม่ จะมีความคงตัวกว่า ไข่อุณหภูมิห้องจะตีได้ปริมาณที่มากกว่าไข่ที่เย็น เค้กนีจะน้าส่วนผสมทุกอย่างยกเว้นเนยละลายตีรวมกันโดยเพิ่มสารเสริมคุ ณภาพ ตีจนส่วนผสมขึนฟูจึงใส่เนยละลาย Egg-Foam cake ซึ่งเป็น Low-Fat cake ชนิดหนึ่ง เค้กสปองจ์ถือเป็นเค้กพืนฐานในการท้า เบเกอรี่ โดยมักจะใช้เป็นส่วนประกอบของเค้กที่แสนอร่อยมากมายเค้กสปองจ์มีเนือ ที่ฟูเบาและสปริงตัวดี แต่อาจจะหยาบกว่าเค้กเนยเล็กน้อยเพราะมีส่วนประกอบที่เป็นไขมันไม่เย อะเหมือนเค้กเนย จึงมักจะมีการทาน้าเชื่อมที่ผิวเค้กเพื่อให้เค้กชุ่มชืนน่าทานมากยิ่งขึน เค้กสปองจ์สามารถน้าไปประกอบกับเค้กได้หลายรูปแบบ เช่น ท้าเป็นมูสเค้ก ใส่ผลไม้ ครีม filling ต่างๆ icing หรือช็อกโกแล็ตกานาช
  • 12. ที่ส้าคัญ เค้กสปองจ์บางสูตรสามารถน้าไปม้วนเป็นโรลเค้กได้ โดยต้องเป็นสูตรที่ใส่เนยหรือไขมันไม่เยอะ เพื่อจะได้ม้วนแล้วไม่แตกแป้งที่ใช้ในการท้าเค้กสปองจ์ควรเป็นแป้งที่ละเอี ยดเบา เช่นแป้งเค้ก และบางครังอาจผสมแป้งข้าวโพด เพื่อท้าให้แป้งเค้กเบายิ่งขึนเราสามารถท้าเค้กสปองจ์ได้หลายแบบ เช่นตีไข่ทังใบกับน้าตาล ตีไข่แดงกับน้าตาลและไข่ขาวกับน้าตาลแล้วน้ามารวมกัน หรือเนยละลายที่ใช้อาจผสมนมร้อนด้วย หรือบางสูตรของเค้กสปองจ์เราอาจไม่ใส่เนยก็ได้พืนฐานที่สุดคือการตีไข่ กับน้าตาลให้ขึนฟู 2-3 เท่า แล้วใส่แป้งที่ร่อนแล้วลงไปผสมให้เข้ากัน แล้วจึงใส่เนยละลาย (ที่อุ่นๆเกือบร้อน) ลงไปผสมแล้วจึงน้าเข้าอบ วิธีท้าเค้กสปองจ์ 1. ชั่งตวงส่วนผสมอย่างถูกต้อง วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง 2. น้าหม้อใส่น้าประมาณ 1/4 ของหม้อตังไฟกลางให้น้าร้อนไม่ถึงกับเดือดพล่าน แล้วน้าหม้ออีกใบที่ขนาดใหญ่กว่าวางไว้ข้างบนอีกที วิธีการนีเรียกว่าการท้า Bain-Marie 3. น้าไข่กับน้าตาลใส่ในหม้อใบบน ท้า Bain-Marie ด้วยการตีไข่กับน้าตาลให้น้าตาลละลาย พอส่วนผสมอุ่นขึนถึงประมาณ 43-44 องศา C ให้ยกลง 4. น้าไข่ใส่ในโถตี แล้วใช้หัวตีตะกร้อ ตีต่อให้ไข่ฟูขึนไปอีก ให้สีเป็นครีมนวลขึนฟู 2-3 เท่า
  • 14. เค้กกลุ่มนีใช้เฉพาะไข่ขาวเพียงอย่างเดียว เนือเค้กจะเบาๆ เช่น แองเจิลเค้ก เค้กชิฟฟอน (Chiffon Cake หรือ Combination Type Cake) เค้กที่มีลักษณะผสมของเค้กเนยและเค้กไข่ คือ มีโครงสร้างที่ละเอียดของเค้กไข่ และมีเนือเค้กที่มันเงาของเค้กเนย ต่างจากเค้กเนยตรงชิฟฟอนเค้กใช้น้ามันพืชแทนเนยหรือมาการีนในเค้กเ นยและวิธีการท้าผสมระหว่างเค้กเนยและเค้กไข่ วิธีท้าเค้กเมอแรงก์ 1. ใช้มิกเซอร์ที่ความเร็วปานกลาง ตีไข่ขาวให้เป็นฟองหยาบๆ จากนันใส่ครีมออฟทาร์ทาร์ลงไปตีด้วยกันจนฟองเริ่มมีความละเอียดมากขึ น ค่อยๆใส่น้าตาลทรายลงไปทีละช้อนโต๊ะ แล้วตีต่อไปเรื่อยๆ ไข่ขาวจะเริ่มตังยอดอ่อนๆก่อน จากนันจะเริ่มฟูและคงรูปมากขึน สังเกตได้จากรอยหัวตี ตีจนได้ไข่ขาวที่ขึนฟู เนือข้น ยอดแข็ง สีจะเงาๆ เหมือนกับครีมที่ทาขนมเบืองเลยพอได้แบบนีก็หยุดตี 2. ใส่กลิ่นวานิลลาและอัลมอนด์ป่นลงไปในไข่ขาว ลูกสนใส่อัลมอนด์ทีละ 1/3 แล้วใช้พายยางค่อยๆตะล่อมให้อัลมอนด์เข้ากับไข่ขาว
  • 15. แล้วค่อยเติมอัลมอนด์ที่เหลือลงไปอีกทีละ 1/3 ส่วนจนหมดการตะล่อม ให้ท้าโดยใช้พายยางตัดลงไปตรงกลางชามผสม แล้วตักไข่ขาวข้างล่างขึนมาโปะทับอัลมอนด์ ใช้พายยางคนๆส่วนผสมด้านบนเบาๆให้กระจายตัว จากนันหมุนชามผสมไปตามทิศเข็มนาฬิกาแล้วเริ่มขันตอนตะล่อมใหม่ทัง หมดท้าจนอัลมอนด์เข้ากันดีกับส่วนผสมไข่ แล้วก็หยุดส่วนผสมที่ตะล่อมเสร็จเรียบร้อย จะมีอัลมอนด์เป็นเม็ดๆกระจายอยู่บ้าง เพราะเราบดแบบให้เหลืออัลมอนด์เป็นชินเล็กๆ จะได้รสสัมผัสเวลาเคียว 3. แบ่งส่วนผสมใส่พิมพ์ทังสองให้เท่าๆกัน ใช้พายยางปาดหน้าขนมให้เรียบๆ แล้วน้าเข้าอบเป็นเวลา 35 นาทีพออบเสร็จแล้วให้พักเค้กให้เย็นก่อน แล้วค่อยคว่้าออกจากพิมพ์ เค้กเมอแรงก์ที่ได้ไม่ได้กรอบเหมือนเมอแรงก์ชินเล็กๆที่เราทานกัน จะกรอบเฉพาะส่วนหน้า แต่ข้างในยังนุ่มๆอยู่ 5.ชีสเค้ก (Cheesecake)
  • 16. เป็นขนมที่มีส่วนผสมหลักคือ ครีมขีส ไข่ น้าตาล นม ผสมให้เข้กัน แล้วน้าไปใส่ครัสต์ หรือจานขนมปังอบกรอบบด จริง ๆ แต่ที่ไม่เรียกว่าชีสพายเพราะไม่ต้องน้าไปอบ ชีสเค้กคือเค้กที่แสนอร่อย ไขมันค่อนข้างเยอะ เนียนนุ่ม เนือสัมผัสเค้กละมุนลิน แต่เต็มไปด้วยความเข้มข้นของชีส ส่วนประกอบหลักของชีสเค้กก็คือครีมชีสนั่นเอง ซึ่งมีหลายยี่ห้อแล้วแต่ชอบ ชีสเค้กที่ดีไม่ควรมีส่วนผสมหลายอย่างมากเกินไป เพราะเราต้องการความหอมมันของชีสเป็นหลักวิธีท้าชีสเค้กให้อร่อยแบบง่ ายที่สุดก็คือ ใส่ชีสให้เยอะที่สุด แต่วิธีนีก็เสี่ยงต่อความอ้วนที่เพิ่มสูง และความเลี่ยนของเค้กที่ท้าให้ทานได้เพียงนิดเดียวก็เลี่ยนซะแล้ว จึงมีการเพิ่มส่วนผสมอื่นๆ เช่นไข่ แป้ง โยเกิรต หรือครีมเปรียว นม วิปครีม หรือแม้แต่น้ามะนาว หรือเลมอน นัยว่าช่วยลดต้นทุน และลดความเลี่ยนโดยยังคงมีรสชาติอร่อยใกล้เคียงกับการใส่ชีสเต็มๆได้เ หมือนกันเราสามารถอบชีสเค้กได้ทังแบบ water bath หรือไม่ต้อง water bath ซึ่งผลลัพธ์ออกมาไม่เหมือนกัน การอบแบบ water bath จะท้าให้หน้าเค้กเป็นสีน้าตาลเข้มและขอบข้างเค้กเป็นสีอ่อน และควรใช้พิมพ์ปกติ ไม่ใช่พิมพ์ถอดข้าง การอบแบบไม่ water bath จะท้าให้หน้าเค้กเป็นสีอ่อนและขอบข้างเค้กเป็นสีน้าตาลเข้ม และควรใช้พิมพ์ถอดข้าง วิธีท้าชีสเค้ก 1. ตีครีมชีสด้วยหัวตีใบไม้ ความเร็วต่้า ให้ชีสเ่ป็นครีมเนียน
  • 17. 2. ค่อยๆใส่น้าตาล แป้ง ผิวเลมอน กลิ่นวนิลา และเกลือ ตามสูตร 3. ใส่ไข่ทีละใบ รอให้เข้ากันค่อยใส่ใบต่อไป 4. ใส่นม วิปครีม หรือน้าเลมอน ตามแต่สูตร 5. หากต้องการ อบด้วย water bath ให้วางพิมพ์ในพิมพ์อีกใบที่ใหญ่กว่า แล้วเติมน้าให้สูงเกือบเท่าครึ่งหนึ่งของพิมพ์ที่มีชีสเค้กอยู่ อบที่ 180 C กระทั่งสุกหากต้องการ อบแบบไม่ water bath อบที่ 110 C ประมาณ 1 ชั่วโมงขึนไป วิธีนีจะอบนานกว่า ชีสเค้กจะค่อยๆสุก 6. เมื่อสุกแล้ว วางพักให้เย็นก่อนจึงน้าเค้กออกจากพิมพ์ 6.คอมบิเนชั่นไทป์เค้ก (combination type cake) เป็นเค้กที่คล้ายกับเค้กไข่ แต่มีส่วนผสมของไขมันที่ใช้ในรูปของน้ามัน มีวิธีการท้าก่้ากึ่งกันระหว่างเค้กเนยและเค้กไข่ เรียกว่าชิฟฟอนเค้ก
  • 18. (chiffon cake) ซึ่งมีโครงสร้างที่ละเอียดเหมือน เค้กไข่ และมีเนือเค้กที่เงามันเหมือนเค้กเนย ประโยชน์ของ “เค้ก” เค้ก เป็นขนมอบที่มีลักษณะ รูปร่าง ตามความต้องการของผู้ผลิต แต่มีส่วนประกอบของแป้งสาลี น้าตาลไข่ นม ไขมัน และสิ่งปรุงแต่งให้เกิดชนิดของเค้ก เช่น ผลไม้ต่าง ๆ ดังนันเค้กจึงเป็นขนมที่ให้ประโยชน์กับผู้บริโภค โดยได้รับสารอาหาร คือ แป้ง น้าตาล ให้สารอาหาร คาร์โบไฮเดรท ซึ่งเป็นสารอาหารที่ท้าให้เกิดพลังงานแก่ร่างกาย ไข่ นม ให้สารอาหาร โปรตีน ซึ่งเป็นสารอาหารที่สร้างเซลล์เนือเยื่อให้กับร่างกาย เนย ไขมัน ให้สารอาหารไขมัน ซึ่งเป็นสารอาหารที่ช่วยในการหล่อลื่นและท้าให้ผิวพรรณสดชื่น นอกจากนันยังสามารถน้าไปใช้ในโอกาสต่าง เช่น วันมงคลสมรส วันเกิด ปีใหม่ และสามารถจัดรับประทานเป็นอาหาร น้าชา กาแฟด้วย วิธีท้าเค้กแต่ละชนิด และสาเหตุที่ท้าให้เค้กเสีย และวิธีการแก้ไข เค้กที่มีไขมันเป็นส่วนผสมหลักมีด้วยกัน 3 วิธี คือ
  • 19. วิธีที่ 1. ครีมเนย เป็นวิธีการผสมโดยตีไขมันกับน้าตาลจนขึนฟูเป็นครีมขาว แล้วค่อยๆใส่ไข่ทีละฟอง ตีให้เข้ากัน จึงใส่แป้งสลับกับของเหลวโดยเริ่มต้นด้วยแป้งและต้องจบด้วยแป้ง การเติมแป้งลักษณะนีเพื่อให้แป้งดูดซึมน้าบางส่วนและป้องกันแป้งจับตัวเป็ นก้อนผสมกันจนเนียนเรียบ วิธีที่ 2. ผสมขันตอนเดียว เป็นการผสมส่วนผสมทังหมด ยกเว้นไข่แล้วตีด้วยความเร็วสูงประมาณ 5 นาทีจึงใส่ไข่ ตีต่ออีก 5 นาทีด้วยความเร็วต่้า วิธีนีมักใช้กับแป้งส้าเร็จรูป วิธีที่ 3. แยกไข่ขาว - ไข่แดง เป็นวิธีที่นิยมมาก เพราะจะได้เค้กที่มีปริมาณมาก โดยแยกไข่แดงและไข่ขาวไว้ก่อน แล้วตีเนยกับน้าตาลจนขึนจึงใส่ไข่แดงทีละฟอง ตีผสมจนเข้ากันด้วยความเร็วต่้า ใส่ส่วนผสมแป้งสลับกับของเหลว เติมกลิ่นตามต้องการ จากนันตีไข่ขาวครีมออฟทาร์ทาร์จนตังยอดอ่อนจึงค่อยๆ ใส่น้าตาลอีกส่วนจนหมดและมีลักษณะตังยอดแข็ง ใส่ส่วนผสมแป้ง ตะล่อมเบาๆให้เข้ากัน เค้กที่มีไข่เป็นส่วนผสมหลัก มี 2 วิธี คือ วิธีที่ 1. แองเจิลฟูลเค้ก เป็นเค้กที่ใช้ไข่ขาวตีกับน้าตาลหนึ่งส่วนและใส่ครีมออฟทาร์ทาร์ลงไ ปด้วยเพื่อช่วยให้ฟองไข่ขาวอยู่ตัว ไม่เหลวเป็นน้า
  • 20. และท้าท้าให้เนือเค้กที่อบเสร็จมีสีขาวละเอียด ส่วนน้าตาลอีกส่วนน้ามาผสมกับแป้ง เกลือ แล้วน้าไปผสมกับไข่ขาวที่ตีจนตังยอดแข็ง คนเบาๆ ให้เข้ากัน วิธีนีจะไม่มีไขมัน เพราะฉะนันพิมพ์ที่ใช้ใส่ก็ต้องไม่ทาไขมัน วิธีที่ 2. สปองจ์เค้ก เป็นเค้กที่ใช้ไข่ทังฟองหรือใช้เฉพาะไข่แดง โดยตีไข่กับน้าตาลด้วยความเร็วสูงจนกระทั่งฟองไข่ละเอียดเป็นเนือสีขาว จึงใส่ส่วนผสมของแป้ง บางสูตรอาจมีนมและเนยละลายด้วย ซึ่งการเติมเนยละลายนันต้องเป็นเนยอุ่นๆ เพื่อป้องกันการยุบตัว และต้องใส่หลังจากผสมแป้งแล้วโดยคนเร็วๆ และเบา ชิฟฟอนเค้ก เป็นเค้กที่มีเนือเบาและนุ่ม มีวิธีการท้า 2 ขันตอน ขันตอนที่ 1. แยกเอาไข่แดง – ไข่ขาว จากนันตีไข่ผสมกับแป้ง น้าตาลหนึ่งส่วน ผงฟู เกลือ น้ามันพืช และน้า คนจนส่วนผสมเนียน ขันตอนที่ 2. ตีไข่ขาวกับครีมออฟทาร์ทาร์ หรือน้ามะนาวพอขึน จึงค่อยๆใส่น้าตาลอีกส่วน ตีจนฟองแข็งตัวตังยอดแข็งจึงใส่ส่วนผสมไข่แดงตะล่อมเบาๆจนเข้ากันดีขั นตอนนีส้าคัญมากต้องผสมเบาๆมือ
  • 21. สาเหตุที่ท้าให้เค้กเสียและวิธีการแก้ไข การท้าเค้กที่ดีจะต้องอาศัยเทคนิคแล้วยังต้องมีประสบการณ์ สัดส่วนและสิ่งที่ท้าอย่างถูกต้อง ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึนเสมอและวิธีแก้ไขดังนี 1.เค้กหน้าไม่เรียบ ฟู และแตก วิธีแก้ไข ก็คือใช้ที่ปาด แตะน้ามันพืชทาบนเนือขนมก่อนเข้าอบ 2.เค้กยุบตรงกลางเป็นเพราะอุณหภูมิในการอบไม่ถูกต้องใช้ไฟอ่อนหรือไ ฟแรงเกินไป ควรปรับอุณหภูมิให้ถูกต้อง หรืออาจใส่ผงฟูหรือน้าตาลมากเกินไป เป็นเพราะเคลื่อนย้ายเค้ก หรือเปิดเตาอบขณะเค้กก้าลังขึน 3.ผิวหน้าเค้กแฉะ เป็นเพราะอบไว้ไม่สุกดี วิธีแก้ไขควรอบให้สุก ตรวจสอบอุณหภูมิของเตาอบ 4.เค้กที่มีรูใหญ่ๆ เป็นเพราะส่วนผสมแห้งเกินไป ผสมกันไม่ทั่ว เทเค้กลงในพิมพ์ไม่ต่อเนื่อง วิธีแก้ไขควรผสมให้เข้ากันอย่างทั่วถึง เทเค้กลงพิมพ์ให้ต่อเนื่องกัน ไล่อากาศก่อนเข้า เตาอบโดยเคาะพิมพ์เบาๆ หรือใช้พายยางลากไปมาในเนือขนมก่อนน้าเข้าเตาอบ 5.เนือเค้กแห้ง เป็นเพระตีไข่ขาวนานเกินไป หรืออบนานเกินไปวิธีแก้ไขควรตีไข่ขาวถึงจุดที่ต้องการเท่านันไม่ควรอบน านเกินไปตรวจสอบอุณหภูมิอย่างถูกต้อง ข้อควรใส่ใจในการท้าเค้ก 1.แป้งต้องน้ามาร่อนก่อนทุกครังจึงค่อยตวง
  • 22. 2.ในการร่อนส่วนผสมแต่ละครังต้องร่อนผงฟู แป้ง และเกลือรวมกัน 3.การตวงต้องตวงให้พอดีกับช้อนตวง ไม่พูนขึนมา 4.การคนน้าตาลและเนย ต้องคนให้เข้ากันเป็นเนือครีมก่อนจะใส่ไข่ ในการคนไข่ต้องคนให้เข้ากันดี 5.ในการคนส่วนผสมต้องคนให้เข้ากันก่อน โดยวิธีการตะล่อมๆ คนพลิกจากข้างล่างมาข้างบน แล้วจึงใส่นมตาม คนให้เข้ากันแล้วจึงใส่แป้งโดยต้องค่อยๆใส่ทีละน้อยๆ 6.ถาดที่ใส่ส่วนผสมในการอบ ต้องปูด้วยกระดาษก่อนแล้วจึงค่อยทาเนยก่อนเทส่วนผสมใส่ทุกครัง 7.การเทขนมลงในพิมพ์ ควรเทขนมเพียงค่อนของพิมพ์ เพราะเวลาอบขนมจะพองตัวขึนเต็มพิมพ์พอดี แล้วจึงใช้ไม้เขี่ยให้ถึงพืนพิมพ์เพื่อไล่อากาศออก 8.ติดเตาอบตังไฟให้ถึงความร้อนตามที่ต้าราบอกก่อน จึงจะใส่ขนม เมื่อขนมสุกจะมีสีน้าตาลทอง ขนมจะหดตัวร่อนจากขอบพิมพ์ จึงเอาออกจากเตาวางบนตะแกรง และค่อยๆเลาะเอากระดาษออก 9.นมที่ใช้ต้องเป็นนมสดเท่านัน หรือถ้าจะใช้นมข้นจืด (นมระเหย) ต้องเติมน้าอีกเท่าตัว แต่ทางที่ดีควรใช้นมสดจะดีกว่า 10.น้าตาลที่ใช้ต้องเป็นน้าตาลทรายป่น หรือน้าตาลทรายป่นละเอียด เพื่อในการผสมส่วนผสมจะละลายง่าย
  • 23. 11.น้าตาลไอซิ่ง คือ น้าตาลทรายผงละเอียดที่ผสมแป้งข้าวโพดหรือแป้งมัน ใช้ในการแต่งหน้าเค้ก หรือโรยหน้าขนมปัง 12.ไข่ที่ใช้หมายถึงไข่ไก่ทังฟอง ถ้าต้าราระบุว่าใช้ไข่แดง คือไข่แดงที่แยกไข่ขาวออกแล้ว 13.โกโก้ผงละเอียดเมื่อผสมน้าแล้วเรียกว่า ช็อกโกแลต 14.กลิ่นที่นิยมใช้ในการท้าขนมคือ กลิ่นวานิลา กลิ่นส้ม กลิ่นกล้วย กลิ่นกาแฟ กลิ่นบรั่นดี กลิ่นช็อกโกแลต กลิ่นอลามัน ดังนันจึงควรมีกลิ่นพวกนีไว้ใช้ได้ตลอดเวลา ความรู้เรื่องการท้าเค้ก เค้ก เป็นขนมชนิดหนึ่งมักจะท้าจากส่วนผสมหลัก 4 อย่าง คือแป้ง น้าตาล ไข่ และไขมัน มีลักษณะเนือละเอียดนุ่มรสชาติอร่อย นิยมใช้ในงานปีใหม่ วันเกิดเป็นต้น ชนิดของเค้กโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ 1. เค้กที่มีส่วนผสมของไขมันเป็นหลัก เช่น เค้กเนย 2.เค้กที่มีไข่เป็นส่วนผสมเป็นหลัก เช่นเค้กถ้วย เค้กญี่ปุ่นที่ 1 และชนิดที่ที่ 2 ผสมกันเช่น ซิฟฟอนเค้ก
  • 24. เทคนิคการท้าเค้กทั่วไป 1.ควรร่อนแป้งทุกครังก่อนน้ามาตวงเพื่อให้อากาศเข้าแทรกระหว่างเนือแ ป้งท้าให้แป้งฟูและเบา ถ้าจะใช้ วิธีชั่งก็ต้องร่อนก่อนชั่ง 2.เนยหรือเนยเทียม ถ้าเป็นเนยสดจะตีหรือคนได้โดยง่ายต้องน้าออกจากตู้เย็นก่อนน้ามาใช้ แต่ไม่ควรน้าไปตังไฟเพื่อเร่งให้อ่อนตัวเร็วขึนเพราะจะท้าให้เนยสดละลาย และเหลวเกินไปซึ่งไม่สามารถตีให้ขึนฟูได้ ถ้าเป็นเนยเทียมหรือมากกลิ่นไม่เก็บในตู้เย็น 3.ในกรณีที่ท้าเค้กที่มีปริมาณน้าตาลสูง มักนิยมตีแป้งกับเนยก่อนจึงเติมส่วนผสมอื่นๆ ส้าหรับน้าตาลทรายควรละลายในส่วนผสมของ ของเหลวก่อนแล้วจึงเติมลงในส่วนผสมเพราะจะท้าให้เปลือกขนมที่อบแล้ว นุ่มขึน 4.การตีส่วนผสมเค้กชนิดที่มีไขมันเป็นหลัก ควรใช้พายยางปาดข้างอ่างผสมและที่ตีเสมอๆ เพื่อช่วยให้ส่วนผสมเข้ากับได้ง่ายขึนนอกจากนีควรหยุดเครื่องตีก่อนจึงใ ช้พายปาดทุกครัง
  • 25. 5.การเติมไข่หรือส่วนผสมที่เป็นของเหลวควรค่อยๆ เติมลงไปทีละน้อยหรือแบ่งเติมไปทีละส่วน ไม่ควรใส่หมดในทีเดียว ทังนีเพื่อป้องกันไม่ให้ไขมันแยกตัวออกจากส่วนผสม 6.ในการผสมเค้กในช่วงสุดท้าย มักจะเป็นการผสมนมหรือของเหลวอื่นสลับกับแป้งเป็นส่วนผสมสุดท้ายเพื่อ ป้องกันการแยกตัวของไขมัน ในส่วนผสมอื่นและเพื่อให้แป้งดูดซึมของเหลวบางส่วนไว้ 7.ไข่ไก่ที่เหมาะในการท้าขนมเค้กควรเป็นไข่ไก่สด และต้องไม่แช่ตู้เย็น 8.ในการท้าเค้กชนิดที่มีส่วนผสมของไข่เป็นหลัก ควรร่อนแป้งลงในส่วนผสมอื่นๆ หรือใช้วิธีตะล่อมแป้งให้เข้ากันทีละน้อย เพราะจะท้าให้แป้งค่อยๆ ดูดซึมของเหลวและไม่จับตัวเป็นก้อน ท้าให้ผสมกันได้มากขึน 9.ในการตีไข่ขาวหรือไข่แดง ส้าหรับเค้กชนิดที่ต้องตีไข่ให้ขึนฟูควรตีด้วยความเร็วสูง จนไข่เริ่มตังยอดอ่อนๆ จึงเติมน้าตาลลงทีละน้อยและเมื่อส่วนผสมของไข่ขาวและน้าตาล เริ่มฟูเป็นฟองขึนจึงลดความเร็วลง ใช้ความเร็วปานกลางเพื่อให้ฟองอากาศยังคงอยู่ในส่วนผสม ข้อควรระวังการตีไข่ขาวนันอุปกรณ์เครื่องใช้ทุกอย่างได้แก่อ่างผสมที่ตี พายยางจะต้องสะอาดและแห้งสนิท ไม่เปื้อนไขมัน ไข่ขาวไม่ควรมีส่วนของไข่แดงปนอยู่แม้แต่น้อย 10.ในการอบเค้กทุกชนิด ควรจุดเตาอบให้อุณหภูมิของเตาอบได้ตามความต้องการ ถ้าอบขนมให้มีลักษณะดีเหลือง สม่้าเสมอผู้ท้าต้องศึกษาการใช้เตาอบนันๆ จนเกิดความเคยชิน
  • 26. 11.การทดสอบว่าเค้กที่อบสุกหรือยังนัน ท้าได้โดย ใช้ไม้ปลายแหลมจิมตรงกลางขนมถ้าไม่มีเศษขนมติดไม้ออกมาแสดงว่าสุ กและสังเกตุว่าขอบขนมร่อนออกจากพิมพ์โดยรอบ 12.การอบเค้กควรวางพิมพ์ให้อยู่กึ่งกลางเตาอบให้มากที่สุด หรือเมื่อต้องการอบอบพร้อมกันสองพิมพ์ หรือมากกว่านัน ควรจัดวางพิมพ์ห่างกันประมาณ 1 นิว ไม่ควรวางพิมพ์ชิดหรือติดผนังเตาอบถ้าอบทังสองชัน ก็ควรวางสับหว่างกัน 13.ในการรองเค้ก ไม่ควรเปิดเตาอบขณะขนมก้าลังขึน ถ้าจ้าเป็นจะต้องเปิดเตาอบดูขนบ ควรเปิดอย่างช้าๆ มิฉะนันขนมจะไม่ขึน และยุบได้ ลักษณะของเค้กที่ดี 1.สีของผิวรอบนอกควรเป็นสีเหลืองหรือน้าตาลอ่อนสม่้าเสมอ 2.สีของเนือใน เป็นไปตามส่วนผสมเช่นเค้กเนยก็เป็นสีเหลืองอ่อน เค้กช็อคโกแลตก็เป็นสีน้าตาล 3.ลักษณะของ ของรอบนอก เรียบสม่้าเสมอกัน 4.การขึนฟูเป็นไปตาม ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ผลิตได้ น้าหนักเบาเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของขนม 5.ลักษณะของหน้าขนม มัน เรียบ ไม่นูนเป็นแห่งๆ 6.กลิ่นหอม ชวนรับประทาน เป็นไปตามส่วนผสมที่ใส่แต่ต้องไม่มีกลิ่นหืน
  • 27. 7.ลักษณะของเนือในต้องละเอียด ไม่แน่น หนัก มีความชืน ไม่ร่วนหรือแฉะ 8.มีความนุ่มนวล นิ่มเมื่อเอามือแตะเบาๆ จะสปริงหรือหยุ่นกลับที่เดิม เนือจะไม่แน่น 9.รสชาติกลมกล่อมเป็นไปตามส่วนผสมไม่ควรมีรสชาติผิดแผก แปลกออกไป เช่น รถเฝื่อนเป็นต้น อุปกรณ์ท้าเค้ก ถ้วยตวง ถ้วยตวงของแห้ง มีหลากหลายรูปทรงและวัสดุ ใช้ตวงของแห้งเช่นแป้ง น้าตาล ข้าวโอ๊ต ถั่วต่างๆ
  • 28. ฯลฯ ถ้วยตวงของเหลว ใช้ส้าหรับตวงส่วนผสมเช่น นม น้า น้ามันพืช ไข่ขาว เป็นต้น ตาชั่ง จะตวงพวกแป้งท้าเค้ก ที่ร่อนแป้ง
  • 29. ชามผสม อุปกรณ์ที่ใช้ในการผสม เริ่มจากชามผสมก่อน มีหลายขนาด และหลายๆวัตถุดิบ เช่นแก้วทนความร้อน, สแตนเลส, ทองแดง, เมลามีน หรือเซรามิค แต่ละชนิดก็มีข้อดี-ข้อเสียต่างกันไป ตัวอย่างเช่นการตีไข่ขาว ถ้าตีในชามผสมทองแดงจะได้ไข่ขาวที่ฟูตังยอดและโครงสร้างแข็งแรงที่สุ ด แต่ถ้าใช้ชามผสมที่ท้าจากอลูมิเนียม ไข่ขาวจะท้าปฏิกิริยาเคมีกับสารอลูมินั่ม ท้าให้ไข่ออกมามีสีเทาจางๆ หรือการตุ๋นช็อคโกแลตฃบนหม้อสองชันก็ควรใช้ชามผสมชนิดแก้วทนคว ามร้อน หรือสแตนเลส เป็นต้น
  • 30. ตะกร้อตีมือ และ พายยาง 1.แบบบอลลูน เหมาะส้าหรับตีจับอากาศ เช่นตีไข่ขาว หรือวิปปิ้งครีม เป็นต้น 2.แบบ French ปกติจะมีซี่น้อยกว่าแบบบอลลูน เหมาะส้าหรับตีพวกซอสหรือเกรวี่ และคัสตาร์ด
  • 34. เรียงทวนเข็มนาฬิกา หัวบีบ, ถุงบีบและน็อตยึด ,ชามผสมเล็กและสปาตูล่าเล็ก ส้าหรับไว้แบ่งครีมผสมสีหลายๆสี, แผ่นท้าลายข้างเค้ก, สีผสมอาหารชนิดเจล และก้านร่มส้าหรับบีบกุหลาบ นาฬิกาจับเวลา นาฬิกาจับเวลา เอาไว้เวลาที่บางทีสูตรบอกให้กลับถาดทุกๆ 10 นาที ตัวนีก็จะช่วยได้ มีหลายแบบมาก กรรไกรพลาสติก ส้าหรับยกกุหลาบหรือดอกไม้ที่บีบไว้บนก้านร่มมาวางไว้บนหน้าเค้ก สปาตูล่า
  • 35. ส้าหรับปาดเค้ก แท่นหมุนเค้ก ส้าหรับเวลาแต่งหน้าเค้ก แบบธรรมดา หมุนซ้าย-ขวา Cake marker ช่วยท้ารอยแบ่งเค้ก เพื่อที่เวลาตัดจะได้ชินเท่าๆกัน 2.2 ความหมายของ WordPress wordpress หลายคนรู้จักกันดีและบางคนก็อาจจะก้าลังใช้งานอยู่ก็ได้แต่จะมีสักกี่คนที่ รู้ว่า wordpress มีประวัติความเป็นมายังไงเดี๋ยวจะได้รู้กันครับ ความเป็นมาของ wordpress เริ่มจาก B2 หรือ cafelog
  • 36. คือผู้ที่ให้ก้าเนิดการท้างานของเว็บบล๊อกที่ชื่อว่า wordpress ได้การผลิตบล็อกชนิดนีขึนครังแรกประมาณปี 2003 ตอนนันมีบล็อก wordpress อยู่ประมาณ 2000 บล็อก บล็อกที่ชื่อว่า wordpress นี เขียนด้วยภาษา PHP เพื่อที่จะใช้กับ MySQL โดยผู้เขียน wordpress ก็คือ Michel Valdrighiเป็นผู้ร่วมพัฒนา wordpress ตอนนัน wordpress ยังอยู่ใน B2evolution wordpress ได้ปรากฏสู่โลกในปี 2003 โดยเป็นความพยายามของ MattMullenweg และ Mike little ในปี 2004 ได้ถูกเปลี่ยนแปลงโดย six apart ท้าให้มีผู้งาน wordpress จ้านวนมากขึน และเริ่มก่อเกิดแบรนด์wp หรือ wordpress ขึนมาและมีการใช้งานมากขึนและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมาถึงปัจจุบั น ในปี 2007 wordpress ได้รับรางวัลชนะเลิศในเรื่องของ Packt opensource CMS awardเว็บไซต์นี จะแนะน้าถึงวิธี การใช้ WordPressตังแต่พืนฐานเริ่มต้น ไปจนถึงการเพิ่มเทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้กัน เราควรมารู้จักก่อนว่า WordPressคือ อะไร WordPress คือ โปรแกรมส้าเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้ส้าหรับสร้าง บล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมส้าเร็จรูปที่มีไว้ส้าหรับสร้างและบริหารจัดการเนือหาและข้อมูลบ นเว็บไซต์ WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดค้าสั่งมาจากภาษา PHP (เป็นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ท้างานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเป็นโปรแกรมส้าหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรียกดู แก้ไข เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่วมกับ MySQL อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตใช้งานแบบ GNU General Public License WordPress ปรากฏโฉมครังแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003)
  • 37. เป็นความร่วมมือกันระหว่าง MattMullenwegและ Mike Littlejมีเว็บไซต์หลักอยู่ที่ http://wordpress.org และยังมีบริการ Free Hosting (พืนที่ส้าหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริการได้ที่ http://wordpress.com ปัจจุบันนี WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึนอย่างรวดเร็ว จนมีผู้ใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บบล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น Drupal , Mambo และ Joomlaสาเหตุเป็นเพราะ ใช้งานง่าย ไม่จ้าเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทังยังมีผู้พัฒนา Theme (รูปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริม) ให้เลือกใช้ฟรีอย่างมากมายนอกจากนี ส้าหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน ส้าหรับพัฒนาต่อยอด หรือ น้าไปสร้าง Theme และ Plugins ขึนมาเองได้อีกด้วย หน้าซ้า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU ส้าหรับไว้ให้ผู้น้าไปใช้ สามารถเปิดให้บริการพืนที่ท้าเว็บบล็อกเป็นของตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นมาสมัครขอร่วมใช้บริการในการสร้างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรือที่เรียกว่า Sub-Domain