SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ผู้ป่วยด้วยความดันโลหิตสูงระยะเริ่มแรก ส่วนใหญ่จะไม่มีอาการอาจ
ตรวจพบ โดยการตรวจเช็คสุขภาพประจำาปี หรือเจ็บป่วยด้วยโรคอื่น
แล้วแพทย์วัดความดันของเลือดพบว่าผิดปกติ สำาหรับที่รายมีอาการ
จะมีอาการมึนงง ตาพร่ามัว ปวดศีรษะตรงท้ายทอย มักจะปวดตอน
ตื่นนอน เหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย บางราย
เลือดกำาเดาออกบ่อยๆ อาการดังกล่าว อาจเกิดจากโรคอื่นได้อีก
หลายโรค และที่สำาคัญที่สดความดันโลหิตสูง บางรายอาจไม่มี
                          ุ
อาการใดเลยก็ได้ นอกจากตรวจวัดด้วยเครื่องมือแพทย์จึงจะทราบ
ฉะนั้น ถ้าท่านสงสัยว่าเป็นโรคนี้ หรือท่านที่มีอายุเกิน 35 ปี ควรตรวจ
วัดความดันโลหิต อย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้ง
เมื่อพบว่ามีความดันโลหิตสูงควรให้ความใส่ใจ
และควบคุมการกินอาหารของตนเอง หรือผู้ที่ยัง
ไม่มีปัญหาก็ควรใส่ใจเรื่องอาหารเพือสุขภาพของ
                                  ่
ตนเอง เพราะอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่
ทำาให้เกิดโรค
        อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงคือ อาหารที่มี
โซเดียมสูง เพราะโซเดียมเป็นเกลือแร่ชนิดหนึ่งที่
ร่างกายได้รับจากอาหาร และมีในอาหารแทบทุก
ชนิดในปริมาณมากน้อยแตกต่างกัน
ความดันโลหิตสูงเฉลี่ยทั้งประเทศ 5.4 ต่อประชากร 100 คน
ความชุกจะเพิ่มขึนเมื่ออายุมากขึน หรือนำ้าหนักตัวเพิมขึ้น
                   ้           ้                   ่
ความดันโลหิตสูงพบในหญิง (5.6%) มากกว่าชาย (5.2%) เล็กน้อย
ภาคกลางเป็นพื้นที่มีความชุกมากที่สุด ประมาณ 3 เท่าของภาคอื่น ๆ
ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล จะมีอัตราการเป็นความดันโลหิตสูงมากกว่า
นอกเขตเทศบาลอย่างชัดเจน และเป็นเช่นเดียวกันทุกภาค
โดยที่เพศชายในเขตเทศบาล จะมีอัตราการเป็นความดันโลหิตสูง
มากกว่านอกเขตเทศบาล ประมาณ 3.5 เท่า และในเพศหญิงเท่ากับ 2.8
เท่า
http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/6667

   http://www.siamca.com/
Thaihealth.or.th

More Related Content

What's hot

Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02vora kun
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (11)

Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
 
ปานรภา
ปานรภาปานรภา
ปานรภา
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในความดันโลหิตสูง(รพ.ทัพทัน)
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 

โรคความดันโลหิตสูง