SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
“Position, Protect Pull and Adaptive ”
Moving industry from the world of Push and Promote to the world of
Demand Driven MRP
(For Planner)
พิภพ ลลิตาภรณ์
Meeting customer Demand in an Unpredictable world
Demand Driven Operating Model-DDOM
• Books
MRP in a Demand Driven World
- https://www.demanddriveninstitute.com/
MRP in a Demand Driven World
MRP in a Demand Driven World
Plant
Work
Center
Machines
Control
Planning
and
Scheduling
ระบบจุดสั่งซื้อหรือสั่งผลิตใหม่
( Re-order Point System )
สิ่งที่ต้องพิจารณา
 ระดับคงคลังสูงสุด
 ระดับคงคลังต่าสุด
 จุดสั่งใหม่
 ปริมาณการสั่งซื้อหรือผลิต
 ระดับสต็อคปลอดภัย
แนวคิดในการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
ลูกค้า
สินค้าสาเร็จรูป
งานระหว่างผลิต
สูงสุด
สูงสุด
สูงสุด
ต่าสุด
ต่าสุด
ต่าสุด
ประกอบ
ผลิต
ผู้ส่งมอบ
• สั่งเมื่อระดับวัสดุคงคลังถึงจุดที่
กาหนด หรือถึงเวลาที่กาหนดการ
• ดาเนินการด้านวัสดุคงคลังอย่างอิสระ
วัตถุดิบ
รศ. พิภพ ลลิตาภรณ์ 081-804-9647
ระบบ MRP
 สั่งเมื่อมีความต้องการ และ เท่ากับจานวนที่ต้องการ
 ดาเนินไปพร้อมกับระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต
Material Requirements Planing System
FORECAST
DEMANDS
PRODUCTION
PLAN
CUSTOMER
DEMANDS
MPS
MRP
SHOP - FLOOR
CONTROL
PURCHASING
SYSTEM
BILLOF MATERIAL
INVENTORYSTATUS
ROUTING
RCCP
CRP
รศ. พิภพ ลลิตาภรณ์ 081-804-9647
7
Gross requirement
Net requirements
Available
Planed Order release
Planed Order receipt
Scheduled receipt
Part No. A
Low level code
weekly
1 2 3 4
weekly
Gross requirements
Net requirements
Available
Planed Order release
Planed Order receipt
Scheduled receipt
Part No. C
Low level code 1 2 3 4
Gross requirements
Net requirements
Available
Planed Order release
Planed Order receipt
Scheduled receipt
Part No. B
Low level code
weekly
1 2 3 4
B C
A
(2) (3)
40
10
5
15 15 15 15
25
25
25
75
50
25x2 25x3
LT = 1 week
0
50
50
50
LT = 2 weeks LT = 1 weeks
75
75
75
0 0
Usage
0
Customer Order
MPS
C =จัดซื้อ
B = ผลิต
A = ประกอบ
MPS
(1)
(1)
(4)
Lead
Time
Stock
ขึ้นรูป
ตกแต่ง
RM
ประกอบ
MRP
0
0 0 0 0 0
MRP in a Demand Driven World
สมมติฐานที่สาคัญของ MRP เดิม (1)
การพยากรณ์ (Forecasting)
• ตั้งสมมติว่าเราสามารถพยากรณ์ได้ว่าอะไรคือความต้องการที่ลูกค้าจะซื้อ
และ เมื่อไหร่ที่ลูกค้าจะซื้อ และนั้นคือสิ่งที่เราควรจะซื้อและผลิตบน
พื้นฐานของการพยากรณ์เหล่านี้
ช่วงเวลานามาตรฐาน (Standard lead times)
• ตั้งสมมติว่าเวลาที่จะได้รับวัสดุที่จัดซื้อคงที่และ เวลาที่ใช้ในการผลิต
สินค้าจากวัสดุต่างๆก็คงที่
สต๊อกปลอดภัย(Safety stock)
• ตั้งสมมติฐานว่า เราสามารถชดเชยความไม่เพียงพอของ MRP ด้วย “ ค่า
ปัจจัย” (ที่เชื่อถือไม่ได้) ที่เป็นค่าคงที่
MRP in a Demand Driven World
สมมติฐานที่สาคัญของ MRP เดิม (2)
 ใช้เทคนิคการคานวณความต้องการสุทธิตามช่วงเวลา เริ่มจากปริมาณ
ที่มีอยู่ในมือของวัสดุ บวกด้วยใบสั่งที่รอการส่งมอบลบออกด้วย ความ
ต้องการที่มีอยู่และที่ได้พยากรณ์ไว้
 คานวณยอดสินค้าคงคลังในอนาคตเมื่อใดที่สินค้าคงคลังลดลงต่ากว่า
ศูนย์ จะแนะนาให้มีการออกใบสั่งจัดหาเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันยอดสินค้า
คงคลังในอนาคตมีค่าติดลบ
 เรากลัวว่าถ้าเราไม่พยากรณ์ความต้องการในอนาคต และทาการตอบ
สนองความต้องการเหล่านั้นในปัจจุบันจะทาให้เราทาไม่ทันกาหนด
MRP in a Demand Driven World
“New Pressures”
การตอบสนองความต้องการของลูกค้าในโลกที่ไม่อาจคาดเดาได้
MRP in a Demand Driven World
MRP in a Demand Driven World
เนื่องจากแผนที่เชื่อถือไม่ได้ มีการเปลี่ยนแผน
ทุกวัน แผนที่เป็นทางการใช้ ไม่ได้พนักงาน
จาเป็นต้องสร้างงานและเครื่องมือเพื่อ เป็นเกราะ
ป้องกันตัวเอง
การขยายงานรอบๆตัวมากขึ้น(Work-Around Proliferation )
หลักฐานของปัญหา
Meeting customer Demand In an Unpredictable world
 ฝ่ายวางแผนหรือจัดซื้อที่มีชิ้นส่วน
ผ่านมาทางด้านซ้าย ฝ่ายขายและ
ฝ่ายผลิตมักจะร้องขอให้พวกเขา
จัดหาชิ้นส่วนมาเพิ่มเติม
 ฝ่ายวางแผนหรือจัดซื้อที่มีชิ้นส่วนผ่าน
มาทางด้านขวา ฝ่ายการเงินมักจะร้อง
เรียนมาที่พวกเขาว่า มีการใช้ทรัพยากร
ทางการเงินในทางที่ไม่มีประสิทธิภาพ
การกระจายสินค้าคงคลังแบบสองรูป
ระดับวัสดุคงคลัง
มาก
น้อย
ความผันผวน
The bimodel inventory distribution
ผลกระทบสามอย่างที่จะเกิดขึ้นพร้อมๆกัน คือ :
1. สินค้าคงคลังสูงอย่างต่อเนื่อง
2. เกิดการขาดแคลนบ่อยครั้งและเรื้อรัง
3. ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน และ ความสูญเสีย
ที่เกี่ยวข้องสูง
“เป็นไปได้อย่างไรที่เรามีสินค้าคงคลังจานวนมากแต่ไม่
สามารถจัดส่งตามคาสั่งซื้อได้ ? ”
“เราจ่ายเงินสาหรับการขนส่งสินค้าที่รวดเร็วในขณะนี้ทั้งที่
เราไม่จาเป็นต้องใช้หรือไม่ ? “
หลักฐานของปัญหา
MRP in a Demand Driven World
หลักฐานของ
ปัญหา
หลักฐานของปัญหา
MRP in a Demand Driven World
3 คาถามที่สาคัญ เกี่ยวกับ การวางแผนและความ
คล่องตัวในการปฏิบัติงาน
 จะลดหรือขจัดปัญหาการขาดแคลนได้อย่างไร ?
 ทาอย่างไรถึงจะทาให้ช่วงเวลานาการผลิตสั้นที่สุดเท่าที่จะ
เป็นไปได้ ?
 จะทาให้เงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน(สินทรัพย์ วัสดุ
และ การผลิต) สอดคล้องกับความต้องการได้อย่างไร ?
MRP in a Demand Driven World
 การดาเนินงานแบบ Push-and-Promote จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง
 กฎเกณฑ์เดิมบนพื้นฐานของ “ การจัดหาเป็นศูนย์กลาง (centrality of supply)” และ
“ ประสิทธิภาพต้นทุนเป็นศูนย์กลาง (cost-centric efficency)” จะต้องจากไป
บริษัทจะต้องนาวิธีการดาเนินงานแบบ position protect and pull เข้ามาใช้
 นากฎเกณฑ์ ประสิทธิภาพการไหลเป็นศูนย์กลาง (flow- centric efficency) มาใช้ เพื่อ
ปกป้องและเพิ่มความเร็วการไหลเวียนของวัสดุและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
 เพื่อให้สามารถดาเนินการ position Protect and pull ได้ บริษัทต้องแปรสภาพสู่
Demand Driven และ ทาให้อัตราการไหลสอดคล้องกับอัตราความต้องการของลูกค้า
(1)
การพัฒนาองค์กรเพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืนจะเป็นไปได้หรือไม่
ในสภาพแวดล้อม New Normal ?
MRP in a Demand Driven World
(2)
ในสถานการณ์ New Normal การพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นไปได้หรือไม่
 บรัษัทและโซ่อุปทานจาเป็นจะต้องจัดเงินทุนหมุนเวียน
(ทรัพยากร และ ความพยายาม) ให้เหมาะสมกับการบริโภคที่
เกิดขึ้นจริง โดยการจัดการตัวแปรที่มีความผันผวนและซับซ้อนให้
ประสบความสาเร็จ
MRP in a Demand Driven World
The information and materials must be relevant to the
market/customer expectation—actual demand pull.
George Plossl’s First Law of Manufacturing:
มุ่งสู่การไหลเป็นศูนย์กลาง
“Position, Protect and Pull”
• บริการ จะมีความสม่าเสมอและเชื่อถือได้เมื่อระบบการไหลดี
• รายได้จะเพิ่มขึ้นและมีความมั่นคง(ได้รับการปกป้องไว้)
• สินค้าคงคลังลดลง.
• ค่าใช้จ่ายทั้งที่จาเป็นและไม่จาเป็นลดลง
• กระแสเงินจะไหลเวียนตามอัตราการไหลของผลิตภัณฑ์และตาม
ความต้องการของตลาด
การปกป้องและส่งเสริมการไหล = การเพิ่มผลตอบแทนการลงทุน
( ROI Maximization)
ผลประโยชน์จากอัตราการไหล
ผลประโยชน์ทั้งหมดประกอบด้วย
MRP in a Demand Driven World
MRP in a Demand Driven World
สร้างการไหลให้เป็นรากฐานที่สาคัญ
 เป็นการยากที่จะส่งเสริมการไหลของข้อมูลและวัสดุที่เกี่ยวข้อง หากองค์ประกอบของระบบไม่
สามารถจะทางานของพวกตนให้สัมพันธ์กับการไหลได้
 อุปสรรคที่สาคัญ คือ สภาพของ องค์กร แบบ"ไซโล(Silos)" ไซโลเหล่านั้นมักส่งผลให้เกิดแรง
เสียดทาน ความขัดแย้ง และ ปัญหาด้านการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน ทั้งนี้เนื่องจากเรามีแนวโน้ม
ที่จะควบคุมส่วนต่างๆขององค์กรผ่านมาตรวัดที่แตกต่างกัน
รูปที่ 2-1 แสดงถึงหน้าที่หลักขององค์กรและวัตถุประสงค์หลักที่เกี่ยวข้องและตัวอย่างตัวชี้วัด
ที่จะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น
“Position, Protect and Pull”
การไหลคือจุดร่วมของเป้าหมายการปรับปรุง
งานหลายๆวิธีที่แพร่หลายอยู่ในปัจจุบัน
ลดความ
สูญเสีย
ลดความ
แปรปรวน
เพิ่มอัตรา
การไหล
ความแปรปรวน – ศัตรู # 1 ของการไหล
 การแปรปรวนเป็นผลมาจากการบิดเบือนความต้องการ(Demand Distortion)
และการหยุดชะงักของอุปทาน(Supply Disruption)ผ่านเครือข่ายอุปทาน
ทั้งหมด การสั่งสมและผลกระทบของความแปรปรวนคือศัตรูตัวร้ายของการ
ไหล
 Nervousness
 Bullwhip Effect
แหล่งของความแปรปรวน
MRP in a Demand Driven World
MRP in a Demand Driven World
MRP in a Demand Driven World
ข้อมูลความต้องการจากการพยากรณ์
ความบิดเบือนของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
รูปที่ 3-2 เป็นผลการสารวจปี 2012 ที่จัดทาโดย forecastingblog.com ซึ่งแสดงอัตราการผิดพลาดในการ
พยากรณ์กรณ์ของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่ระดับ SKU
รูปที่ 3-2
MRP in a Demand Driven World
“ความสับสนวุ่นวาย(Nervousness) เป็นลักษณะในระบบ MRP ที่ไวต่อความ
เปลี่ยนแปลง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยกับข้อมูลหรือกับตารางการผลิตหลัก
(MPS) ในระดับ สูง (เช่นระดับ 0 หรือ 1) จะเป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งกับเวลา
หรือปริมาณของตารางการผลิตและคาสั่งซื้อในระดับที่ต่ากว่า (เช่นระดับ 5 หรือ 6) อย่าง
มากมาย “ (APICS Dictionary 12th
ความบิดเบือนของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
MRP in a Demand Driven World
 ช่องตารางรายสัปดาห์ (The Weekly Bucket)
ความบิดเบือนของข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
 การทาให้โครงสร้างรายการวัสดุ แบนราบ (Flattening the Bill of Material)
ถ้าต้องการผลิต A จานวน 100 หน่วย จะต้องจัดหา ชิ้นส่วน DและE ทั้งหมดกี่หน่วย
คาตอบ คือ D = 1400 หน่วย และ E = 700 หน่วย
LT = 6
“Position, Protect and Pull”
การบิดเบือนของวัสดุที่เกี่ยวข้อง(Distortion of Relevant Materials)
รูปที่ 3-11 นัยสาคัญของขนาดรุ่นกับการคานวณใบสั่งจัดหาของ MRP
ความแปรปรวนจากนโยบายขนาดรุ่น
“Position, Protect and Pull”
รูปที่ 3.8 ความน่าจะเป็นที่ทุกองค์ประกอบจะพร้อมใช้งานพร้อมๆกัน
ความแปรปรวนจากการสะสมของเวลาล่าช้า (Delay Accumulation)
รูปที่3.9 วัสดุสี่รายการมีความพร้อมใช้
งานค่อนข้างสูงในขณะที่มีชิ้นส่วน
ประกอบหนึ่งมีความพร้อมใช้งานโดย
เฉลี่ยค่อนข้างต่า
รูปที่ 3.9
รูปที่ 3.8
MRP in a Demand Driven World
MRP in a Demand Driven World
 การสะสมและขยายตัวจากการส่งถ่ายความแปรปรวนของความต้องการ(demand)
และการจัดหา(Supply) คือศัตรูตัวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อการไหลทั่วทั้งเครือข่ายโซ่
อุปทาน
 ความแปรปรวนสามารถลดและจัดการได้อย่างเป็นระบบ แต่จะไม่สามารถจะกาจัด
ความแปรปรวนให้หมดไปได้
 วิธีเดียวที่จะสามารถหยุดความสับสนวุ่นวายและผลกระทบ bullwhip คือการหยุด
การส่งผ่านความแปรปรวนระหว่างหน่วยงานที่เชื่อมต่อกันของโซ่อุปทานจากทั้ง
สองทิศทาง (Demand and Supply)
กรณีนี้สามารถจะทาได้โดยใช้แนวคิดที่เรียกว่า “การแยกอิสระ(decoupling)”
การแยกอิสระ(Decoupling )
ตามแนวทางของ Demand Driven แนะนาให้แยกอิสระ (Decoupled) MRP
หรือเครือข่ายอุปทานที่ตาแหน่งเชิงกลยุทธ์(Strategic Positions) หลังจากนั้น
ทาการสร้างวัสดุคงคลังเชิงกลยุทธ์ให้กับจุดแยกอิสระเหล่านี้เพื่อตอบสนองกล
ยุทธ์ทางธุรกิจและทาให้ผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ใช้(ROCE) มีค่าเป็นบวก
ROCE = Return on Capital Employed = ผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใช้
MRP in a Demand Driven World
2
การแยกอิสระตามแนวทางของ Demand Driven
MRP in a Demand Driven World
การแยกอิสระ(Decoupling)
APICS ได้นิยามความหมายของการแยกอิสระ( decoupling) ไว้ดังนี้ :
“ การสร้างความเป็นอิสระระหว่างการจัดหาและการใช้วัสดุ โดยทั่วไปหมายถึงการ
จัดเตรียมสินค้าคงคลังระหว่างขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้ความผันผวนของอัตราการ
ผลิตในขั้นตอนการจัดหา(Supply) ไม่ส่งผลต่อการจากัด อัตราการผลิตหรือการใช้งานใน
ขั้นตอนถัดไป ”
 Decoupling – the Key to Demand Driven Material Requirements Planning (DDMRP)
MRP in a Demand Driven World
APICS ได้นิยามความหมายของ จุดแยกอิสระ(Decoupling points) ไว้ดังนี้ :
จุดแยกอิสระ(Decoupling Point)
 ตาแหน่งในโครงสร้างผลิตภัณฑ์หรือเครือข่ายการกระจายซึ่งได้วางสินค้าคงคลัง
เชิงกลยุทธ์ไว้เพื่อสร้างความเป็นอิสระระหว่างกระบวนการหรือหน่วยงาน การเลือก
จุดแยกอิสระเป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ที่พิจารณาถึงช่วงวลานาของลูกค้าและการ
ลงทุนในสินค้าคงคลัง (หน้า 43)
MRP in a Demand Driven World
รูปที่ 4-2 แสดงให้เห็นถึงมุมมองการพึ่งพากันของระบบ MRP และการบิดเบือนของ
สัญญาณความต้องการสั่งสม (ลูกศรเส้นบนจากขวาไปซ้าย) และความแปรปรวนของ
การจัดหาแบบต่อเนื่อง (ลูกศรเส้นล่างจากซ้ายไปขวา) ในรูปไม่มีการแยกอิสระ ดังนั้น
การบิดเบือนของข้อมูลและวัสดุที่เกี่ยวข้องทั้งสองจึงสะสมผ่านเข้าสู่ระบบ
การสะสมของความแปรปรวนไหลผ่านระบบที่ไม่มีจุดแยกอิสระ
รูปที่ 4-2 ระบบการดา
เนินงานที่ไม่มีจุดแยก
อิสระ
ระยะเวลาวางแผน
 ผลักดันให้เราต้องใช้การพยากรณ์
ในการสร้างใบสั่งจัดหา เนื่องจาก
เชื่อว่าเวลาไม่พอ
MRP in a Demand Driven World
บัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ (Decoupling Point Buffers)
APICS ได้นิยามความหมายของ บัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ ไว้ดังนี้ :
“ปริมาณสินค้าคงคลังที่เก็บไว้ระหว่างหน่วยงานในเครือข่ายการผลิตหรือการกระจาย
สินค้าเพื่อสร้างความเป็ นอิสระระหว่างกระบวนการหรือหน่วยงาน วัตถุประสงค์ของ
สินค้าคงคลังแยกความเป็นอิสระคือ การตัดการเชื่อมต่อของอัตราการใช้ออกจากอัตรา
การจัดหาสินค้า”
 รูปที่ 4.3 ระบบการดาเนินงาน
ที่มีบัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ
รูปที่ 4-3
เราได้ค้นพบเวลาที่มีประสิทธิภาพที่เราเคยเชื่อว่าไม่เพียง
พอที่จะใช้ความต้องการจริงจึงได้บังคับให้เราต้องใช้ความ
ต้องการจากการพยากรณ์ในครั้งแรก เมื่อจุดแยกอิสระมี
ความสอดคล้องกับระยะเวลาที่สามารถมองเห็นใบสั่งซื้อ
ของลูกค้าได้ ความแปรปรวนของความต้องการก็จะลดลง
MRP in a Demand Driven World
บัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ(Decoupling Point Buffers)
 ตาแหน่งของบัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ (แสดงเป็นไอคอนถังเป็นชั้นๆในโครงสร้าง
พึ่งพา) เพื่อสร้างระยะเวลาการวางแผนและการปฏิบัติการการที่เป็นอิสระ
 ระยะเวลาการวางแผนเหล่านี้จะแสดงด้วยเส้นประที่มีจุดกลมที่ขั้วต่อแต่ละด้านความ
แปรปรวนของอุปสงค์และอุปทานจะหยุดการสะสมลงที่จุดขั้วปลายทางเหล่านั้น
 ไอคอนรูปผนังที่มีป้ายชื่อว่า “Break-wall” ซึ่งงหมายความว่า บัฟเฟอร์จุดแยกความ
เป็นอิสระทั้ง 2 ด้านของ bullwhip ในเวลาเดียวกันและจากที่เดียวกัน เป็นวิธีแก้
ปัญหาแบบ 2 ทิศทาง
 บัฟเฟอร์จะดูดซับความแปรปรวนของอุปสงค์และอุปทานในเวลาเดียวกันเพื่อ
ปกป้องการทาหน้าที่ของจุดแยกอิสระ
 เมื่อบัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ ถูกวางไว้ภายในกรอบระยะเวลาที่สามารถมองเห็นใบสั่งซื้อ
ของลูกค้า ก็จะช่วยให้ระบบสามารถใช้ข้อมูลความต้องการได้อย่างถูกต้อง
“Position, Protect and Pull”
• ไม่ได้หมายความว่า
- เป็นวิธีการพยากรณ์ที่ดีกว่า
(forecast better)”
MRP in a Demand Driven World
 เครือข่ายอุปทานที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (3)
คุณลักษณะที่สาคัญบางประการของ Demand Driven
 การเคลื่อนไหวของผลิตภัณฑ์ จะถูกขับเคลื่อนจาก ความต้องการ/การ
บริโภค ที่เกิดขึ้นจริง
 ทั่วทุกชั้นของคู่ค้าต้องสามารถมองเห็น อุปสงค์/อุปทาน แบบเวลาจริง
(real-time)
 วัสดุคงคลังจะถูกจัดการเพื่อเป้าหมายเชิงพลวัติ(dynamic target) ใน
ระดับปฏิบัติการ
 ชี้ให้เห็นถึงประเด็นปัญหาของอุปสงค์/อุปทาน ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ก่อนที่จะส่งผลกระทบต่อ การผลิต
 สัญญาณความต้องการเดียวกัน จะถูกแบ่งปันไปยังคู่ค้าทั่วทุกลาดับชั้น
ของโซ่อุปทาน นั่นคือ มีความเป็นจริงเพียงหนึ่งเดียว
“Position, Protect and Pull”
MRP in a Demand Driven World
How to Become Demand Driven
Going from push and promote to position and pull involves
five steps:
• 1. Accept the New Normal,
• 2. Embrace flow and its implications for ROI,
• 3. Design an operational model for flow,
• 4. Bring the Demand Driven model to the organization, and
• 5. Use smart metrics to operate and sustain the Demand
Driven operating model.
MRP in a Demand Driven World
ถ้าความแปรปรวนเป็นศัตรูที่ใหญ่ที่สุด
ในการไหลของระบบ เราจะต้อง
ออกแบบระบบเพื่อหยุดความ
แปรปรวนและส่งเสริมการไหล
ขั้นที่ 1-3 ของ DDMRP
“Position, Protect and Pull”
พื้นฐานของตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ
(The Basic of Demand Driven Operating Model-DDOM)
ตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (DDOM) เป็นตัวแบบการ
ดาเนินงานบนพื้นฐานของการไหล (flow-based operating model) ที่ได้รับการ
ออกแบบภายใต้4 องค์ประกอบพื้นฐาน คือ
“Position, Protect and Pull”
ตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ ( Demand driven operating model )
เป็นตัวแบบของ การสร้างใบสั่งจัดหา, การจัดตารางการดาเนินงาน และ การปฏิบัติบัติการ โดยใช้ความ
ต้องการจริง ผสม ผสานกับจุดควบคุมและจุดแยกความเป็นอิสระเชิงกลยุทธ์ มีการจัดบัฟเฟอร์( สต๊อค
เวลา และกาลังการผลิต) เพื่อสร้างระบบที่มีความคล่องตัวและคาดคะเนได้เพื่อสนับสนุนและปกป้องการ
ไหลของวัสดุและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องภายในขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับยุทธวิธี (รายชั่วโมง
รายวัน และ รายสัปดาห์) พารามิเตอร์ที่สาคัญของตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ จะ
ถูกกาหนดผ่านกระบวนการวางแผนการขายและการดาเนินงาน(Demand Driven Sales and Operations
Planning Process)
“Position, Protect and Pull”
“Position, Protect and Pull”
 DDMRP คือนวัตกรรม และ/หรือ วิวัฒนาการใหม่ล่าสุดในการ
วางแผนความต้องการวัสดุที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการ เพื่อรอง
รับกับการแข่งขันทาง ธุรกิจที่มีความซับซ้อนและความต้องการที่
ค่อนข้างผันผวน นอกจากนั้น ยังถูกออกแบบมาให้มีความสามารถ
รองรับการบริหารแบบเครือข่ายอุปทาน
ความหมายของ DDMRP
“Position, Protect and Pull”
 การวางแผนความต้องการวัสดุขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (Demand driven Material
Requirements Planning, DDMRP ) เป็นวิธีการวางแผนและดาเนินงานตลอดเครือข่าย
โซ่อุปทานหลายลาดับชั้นอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับ ความต้องการ(Demand) และ การ
จัดหา (Supply) วัสดุ และ วัสดุคงคลัง เพื่อปกป้องและสนับสนุนการไหลของวัสดุ
และ สารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง โดยการจัดตั้ง และ บริหารจัดการ ตาแหน่งเชิงกลยุทธ์
ในการจัดเก็บบัฟเฟอร์เพื่อให้ เป็น จุดแยกความเป็นอิสระ (Strategically placed
decoupling point stock bufferes)
 หลายระดับหมายความว่า DDMRP จะบูรณาการชั้นต่างๆ (รวมถึงโครงสร้างรายการวัสดุ
( Bill of Material ) ในโซ่อุปทาน เพื่อทาการวางแผนและปฏิบัติการที่มองเห็นได้จากปลาย
ด้านหนึ่งถึงปลายอีกด้านหนึ่ง เพื่อทาให้การไหลของสารสนเทศและวัสดุ ได้รับการปรับ
ปรุงและจัดการได้ดีขึ้น โดยผ่านการจัดตั้งและบริหารจัดการจุดแยกอิสระการพึ่งพาด้วย
บัฟเฟอร์สต๊อกจุดแยกอิสระ(DecouplingPoint Stock Buffers)
 แก่นแนวคิดที่สาคัญประการหนึ่งของการออกแบบ DDMRP คือ การบรรลุสู่ความ
พร้อมของวัสดุอย่างต่อเนื่อง โดยไม่เกิดความสูญเสีย โดยการจัดวางกระบวนการต่างๆที่
เกี่ยวข้องเพื่อทาให้ การจัดซื้อ การผลิต และ กระบวนการเติมเต็มของบริษัท อยู่บน
พื้นฐานของการบริโภค และ ความต้องการที่เกิดขึ้นจริงมากกว่าการพยากรณ์
 ภายใต้แนวคิดดังกล่าว Buffer ของ DDMRP จึงถูกกาหนดให้มีการจัดวางตาแหน่ง
อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างหรือเร่งความเร็ว ในการไหลของวัสดุให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของลูกค้า ขณะเดียวกันBuffer ของ DDMRP ก็ถูกออกแบบมาให้เป็นแบบพลวัติ
(Dynamic Buffer) สามารถยืดหยุ่นได้ตามการเปลี่ยนแปลงของความต้องการที่แปร
เปลี่ยนไปตามช่วงเวลา ส่งผลให้องค์กรสามารถลดการลงทุนด้านวัสดุคงคลัง ขณะที่
สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าในเวลาเดียวกัน
“Position, Protect and Pull”
พื้นฐานองค์ความรู้ที่สาคัญของ DDMRP
DDMRP คือ นวัตกรรมของการวางแผนและควบคุมการผลิตที่หลอมรวมพื้นฐานของ
MRP และ DRP เดิม ให้เข้ากันได้อย่างลงตัวกับ Lean และ ทฤษฎีข้อจากัด ( theory of
constraints ) ที่ให้ความสาคัญ กับการดึงและการมองเห็น และ ซิก ซิกม่า (Six Sigma) ที่
มุ่งเน้นลดความแปรปรวน เพื่อพัฒนาระบบการผลิตที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการจริง
“Position, Protect and Pull”
5 องค์ประกอบตามลาดับของ DDMRP
 การวางตาแหน่งวัสดุคงคลังเชิงกลยุทธ์จะเป็นการพิจาณาว่าที่ใดที่จะถูกกาหนดให้เป็นตาแหน่ง
ของจุดแยกความเป็นอิสระ(DecoupledPoint-DP)
 ระดับและโปรไฟล์ของบัฟเฟอร์ จะใช้ในการพิจารณาหาปริมาณของบัฟเฟอร์เพื่อปกป้อง DP เหล่านี้
การปรับบัฟเฟอร์เชิงพลวัติ เป็นการกาหนดวิธีการในการปรับระดับของการป้องกันให้โค้ง ขึ้นหรือลง
บนพื้นฐานของพารามิเตอร์การปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงของตลาด และ แผนที่วางไว้ หรือ การรู้ถึง
เหตุการณ์ในอนาคต
 3 องค์ประกอบแรก เป็นการสร้าง ตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ
( Demand driven operatingmodel ) ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ประกอบ ด้วย
 องค์ประกอบที่ 4 และ 5 เป็นการกาหนดด้านการดาเนินงานจริงของระบบ DDMRP
คือ การวาง แผนและการดาเนินการ
5 องค์ประกอบตามลาดับของ DDMRP
 การวางแผนขับเคลื่อนด้วยความต้องการเป็นกระบวนการในการสร้างใบสั่ง จัดหา (supply order)
เช่น ใบสั่งซื้อ ใบสั่งผลิต และ ใบสั่งให้เคลื่อย้ายสต็อก
 ความสามารถในการมองเห็นและการร่วมมือใน
การดาเนินงาน(visibilityand collaborative
executive) เป็นกระบวนการที่ระบบ DDMRP.
ใช้ในการจัดการใบสั่งจัดหาที่ได้ปล่อยออกมา
“Position, Protect and Pull”
QR Code เพื่อเยี่ยมชมเพจ และใช้เป็นช่องทางการติดต่อกับวิทยากร
รวมทั้งข้อมูลและหลักสูตรการอบรม

More Related Content

What's hot

Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean
maruay songtanin
 
SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1
SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1
SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1
Deb Martina
 
Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS
Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS
Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS
Vijay Pisipaty
 
Material Requirement and Planning
Material Requirement and PlanningMaterial Requirement and Planning
Material Requirement and Planning
Asim Irshad
 
INVENTORY OPTIMIZATION
INVENTORY OPTIMIZATIONINVENTORY OPTIMIZATION
INVENTORY OPTIMIZATION
Rajeev Sharan
 

What's hot (20)

Material Requirement Planning (mrp)
Material Requirement Planning (mrp)Material Requirement Planning (mrp)
Material Requirement Planning (mrp)
 
Sales & Operations Planning Process
Sales & Operations Planning ProcessSales & Operations Planning Process
Sales & Operations Planning Process
 
SAP ATP check for Sales Order
SAP ATP check for Sales OrderSAP ATP check for Sales Order
SAP ATP check for Sales Order
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean
 
SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1
SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1
SAP_Inventory_Management_Overview_PPT v1.1
 
Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS
Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS
Batch Expiration Date Management in SAP MRP/MPS
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
Sap mrp
Sap mrpSap mrp
Sap mrp
 
Material Requirement and Planning
Material Requirement and PlanningMaterial Requirement and Planning
Material Requirement and Planning
 
INVENTORY OPTIMIZATION
INVENTORY OPTIMIZATIONINVENTORY OPTIMIZATION
INVENTORY OPTIMIZATION
 
Material requirement planning (mrp1)
Material requirement planning (mrp1)Material requirement planning (mrp1)
Material requirement planning (mrp1)
 
Batch Determination Based Delivery ATP and Auto Delivery Quantity Adjustment
Batch Determination Based Delivery ATP and Auto Delivery Quantity AdjustmentBatch Determination Based Delivery ATP and Auto Delivery Quantity Adjustment
Batch Determination Based Delivery ATP and Auto Delivery Quantity Adjustment
 
SAP IS Retail Introduction.pptx
SAP IS Retail Introduction.pptxSAP IS Retail Introduction.pptx
SAP IS Retail Introduction.pptx
 
SAP Sales and Operational Planning -SOP
SAP Sales and Operational Planning -SOPSAP Sales and Operational Planning -SOP
SAP Sales and Operational Planning -SOP
 
Sap modules-overview
Sap modules-overviewSap modules-overview
Sap modules-overview
 
Apo core interface cif
Apo core interface cifApo core interface cif
Apo core interface cif
 
SA FOR SUBCONTRACTING IN SAP MM.pdf
SA FOR SUBCONTRACTING IN SAP MM.pdfSA FOR SUBCONTRACTING IN SAP MM.pdf
SA FOR SUBCONTRACTING IN SAP MM.pdf
 
SAP SD Documents
SAP SD DocumentsSAP SD Documents
SAP SD Documents
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 

Ddmrp 1(introduction to ddmrp)

  • 1. “Position, Protect Pull and Adaptive ” Moving industry from the world of Push and Promote to the world of Demand Driven MRP (For Planner) พิภพ ลลิตาภรณ์ Meeting customer Demand in an Unpredictable world Demand Driven Operating Model-DDOM
  • 2. • Books MRP in a Demand Driven World - https://www.demanddriveninstitute.com/
  • 3. MRP in a Demand Driven World
  • 4. MRP in a Demand Driven World Plant Work Center Machines Control Planning and Scheduling
  • 5. ระบบจุดสั่งซื้อหรือสั่งผลิตใหม่ ( Re-order Point System ) สิ่งที่ต้องพิจารณา  ระดับคงคลังสูงสุด  ระดับคงคลังต่าสุด  จุดสั่งใหม่  ปริมาณการสั่งซื้อหรือผลิต  ระดับสต็อคปลอดภัย แนวคิดในการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต ลูกค้า สินค้าสาเร็จรูป งานระหว่างผลิต สูงสุด สูงสุด สูงสุด ต่าสุด ต่าสุด ต่าสุด ประกอบ ผลิต ผู้ส่งมอบ • สั่งเมื่อระดับวัสดุคงคลังถึงจุดที่ กาหนด หรือถึงเวลาที่กาหนดการ • ดาเนินการด้านวัสดุคงคลังอย่างอิสระ วัตถุดิบ รศ. พิภพ ลลิตาภรณ์ 081-804-9647
  • 6. ระบบ MRP  สั่งเมื่อมีความต้องการ และ เท่ากับจานวนที่ต้องการ  ดาเนินไปพร้อมกับระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต Material Requirements Planing System FORECAST DEMANDS PRODUCTION PLAN CUSTOMER DEMANDS MPS MRP SHOP - FLOOR CONTROL PURCHASING SYSTEM BILLOF MATERIAL INVENTORYSTATUS ROUTING RCCP CRP รศ. พิภพ ลลิตาภรณ์ 081-804-9647
  • 7. 7 Gross requirement Net requirements Available Planed Order release Planed Order receipt Scheduled receipt Part No. A Low level code weekly 1 2 3 4 weekly Gross requirements Net requirements Available Planed Order release Planed Order receipt Scheduled receipt Part No. C Low level code 1 2 3 4 Gross requirements Net requirements Available Planed Order release Planed Order receipt Scheduled receipt Part No. B Low level code weekly 1 2 3 4 B C A (2) (3) 40 10 5 15 15 15 15 25 25 25 75 50 25x2 25x3 LT = 1 week 0 50 50 50 LT = 2 weeks LT = 1 weeks 75 75 75 0 0 Usage 0 Customer Order MPS C =จัดซื้อ B = ผลิต A = ประกอบ MPS (1) (1) (4) Lead Time Stock ขึ้นรูป ตกแต่ง RM ประกอบ MRP 0 0 0 0 0 0
  • 8. MRP in a Demand Driven World สมมติฐานที่สาคัญของ MRP เดิม (1) การพยากรณ์ (Forecasting) • ตั้งสมมติว่าเราสามารถพยากรณ์ได้ว่าอะไรคือความต้องการที่ลูกค้าจะซื้อ และ เมื่อไหร่ที่ลูกค้าจะซื้อ และนั้นคือสิ่งที่เราควรจะซื้อและผลิตบน พื้นฐานของการพยากรณ์เหล่านี้ ช่วงเวลานามาตรฐาน (Standard lead times) • ตั้งสมมติว่าเวลาที่จะได้รับวัสดุที่จัดซื้อคงที่และ เวลาที่ใช้ในการผลิต สินค้าจากวัสดุต่างๆก็คงที่ สต๊อกปลอดภัย(Safety stock) • ตั้งสมมติฐานว่า เราสามารถชดเชยความไม่เพียงพอของ MRP ด้วย “ ค่า ปัจจัย” (ที่เชื่อถือไม่ได้) ที่เป็นค่าคงที่
  • 9. MRP in a Demand Driven World สมมติฐานที่สาคัญของ MRP เดิม (2)  ใช้เทคนิคการคานวณความต้องการสุทธิตามช่วงเวลา เริ่มจากปริมาณ ที่มีอยู่ในมือของวัสดุ บวกด้วยใบสั่งที่รอการส่งมอบลบออกด้วย ความ ต้องการที่มีอยู่และที่ได้พยากรณ์ไว้  คานวณยอดสินค้าคงคลังในอนาคตเมื่อใดที่สินค้าคงคลังลดลงต่ากว่า ศูนย์ จะแนะนาให้มีการออกใบสั่งจัดหาเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันยอดสินค้า คงคลังในอนาคตมีค่าติดลบ  เรากลัวว่าถ้าเราไม่พยากรณ์ความต้องการในอนาคต และทาการตอบ สนองความต้องการเหล่านั้นในปัจจุบันจะทาให้เราทาไม่ทันกาหนด
  • 10. MRP in a Demand Driven World
  • 12. MRP in a Demand Driven World
  • 13. MRP in a Demand Driven World เนื่องจากแผนที่เชื่อถือไม่ได้ มีการเปลี่ยนแผน ทุกวัน แผนที่เป็นทางการใช้ ไม่ได้พนักงาน จาเป็นต้องสร้างงานและเครื่องมือเพื่อ เป็นเกราะ ป้องกันตัวเอง การขยายงานรอบๆตัวมากขึ้น(Work-Around Proliferation ) หลักฐานของปัญหา
  • 14. Meeting customer Demand In an Unpredictable world  ฝ่ายวางแผนหรือจัดซื้อที่มีชิ้นส่วน ผ่านมาทางด้านซ้าย ฝ่ายขายและ ฝ่ายผลิตมักจะร้องขอให้พวกเขา จัดหาชิ้นส่วนมาเพิ่มเติม  ฝ่ายวางแผนหรือจัดซื้อที่มีชิ้นส่วนผ่าน มาทางด้านขวา ฝ่ายการเงินมักจะร้อง เรียนมาที่พวกเขาว่า มีการใช้ทรัพยากร ทางการเงินในทางที่ไม่มีประสิทธิภาพ การกระจายสินค้าคงคลังแบบสองรูป ระดับวัสดุคงคลัง มาก น้อย ความผันผวน The bimodel inventory distribution ผลกระทบสามอย่างที่จะเกิดขึ้นพร้อมๆกัน คือ : 1. สินค้าคงคลังสูงอย่างต่อเนื่อง 2. เกิดการขาดแคลนบ่อยครั้งและเรื้อรัง 3. ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน และ ความสูญเสีย ที่เกี่ยวข้องสูง “เป็นไปได้อย่างไรที่เรามีสินค้าคงคลังจานวนมากแต่ไม่ สามารถจัดส่งตามคาสั่งซื้อได้ ? ” “เราจ่ายเงินสาหรับการขนส่งสินค้าที่รวดเร็วในขณะนี้ทั้งที่ เราไม่จาเป็นต้องใช้หรือไม่ ? “ หลักฐานของปัญหา
  • 15. MRP in a Demand Driven World หลักฐานของ ปัญหา หลักฐานของปัญหา
  • 16. MRP in a Demand Driven World 3 คาถามที่สาคัญ เกี่ยวกับ การวางแผนและความ คล่องตัวในการปฏิบัติงาน  จะลดหรือขจัดปัญหาการขาดแคลนได้อย่างไร ?  ทาอย่างไรถึงจะทาให้ช่วงเวลานาการผลิตสั้นที่สุดเท่าที่จะ เป็นไปได้ ?  จะทาให้เงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน(สินทรัพย์ วัสดุ และ การผลิต) สอดคล้องกับความต้องการได้อย่างไร ?
  • 17. MRP in a Demand Driven World  การดาเนินงานแบบ Push-and-Promote จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง  กฎเกณฑ์เดิมบนพื้นฐานของ “ การจัดหาเป็นศูนย์กลาง (centrality of supply)” และ “ ประสิทธิภาพต้นทุนเป็นศูนย์กลาง (cost-centric efficency)” จะต้องจากไป บริษัทจะต้องนาวิธีการดาเนินงานแบบ position protect and pull เข้ามาใช้  นากฎเกณฑ์ ประสิทธิภาพการไหลเป็นศูนย์กลาง (flow- centric efficency) มาใช้ เพื่อ ปกป้องและเพิ่มความเร็วการไหลเวียนของวัสดุและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง  เพื่อให้สามารถดาเนินการ position Protect and pull ได้ บริษัทต้องแปรสภาพสู่ Demand Driven และ ทาให้อัตราการไหลสอดคล้องกับอัตราความต้องการของลูกค้า (1) การพัฒนาองค์กรเพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืนจะเป็นไปได้หรือไม่ ในสภาพแวดล้อม New Normal ?
  • 18. MRP in a Demand Driven World (2) ในสถานการณ์ New Normal การพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นไปได้หรือไม่  บรัษัทและโซ่อุปทานจาเป็นจะต้องจัดเงินทุนหมุนเวียน (ทรัพยากร และ ความพยายาม) ให้เหมาะสมกับการบริโภคที่ เกิดขึ้นจริง โดยการจัดการตัวแปรที่มีความผันผวนและซับซ้อนให้ ประสบความสาเร็จ
  • 19. MRP in a Demand Driven World The information and materials must be relevant to the market/customer expectation—actual demand pull. George Plossl’s First Law of Manufacturing: มุ่งสู่การไหลเป็นศูนย์กลาง
  • 20. “Position, Protect and Pull” • บริการ จะมีความสม่าเสมอและเชื่อถือได้เมื่อระบบการไหลดี • รายได้จะเพิ่มขึ้นและมีความมั่นคง(ได้รับการปกป้องไว้) • สินค้าคงคลังลดลง. • ค่าใช้จ่ายทั้งที่จาเป็นและไม่จาเป็นลดลง • กระแสเงินจะไหลเวียนตามอัตราการไหลของผลิตภัณฑ์และตาม ความต้องการของตลาด การปกป้องและส่งเสริมการไหล = การเพิ่มผลตอบแทนการลงทุน ( ROI Maximization) ผลประโยชน์จากอัตราการไหล ผลประโยชน์ทั้งหมดประกอบด้วย
  • 21. MRP in a Demand Driven World
  • 22. MRP in a Demand Driven World สร้างการไหลให้เป็นรากฐานที่สาคัญ  เป็นการยากที่จะส่งเสริมการไหลของข้อมูลและวัสดุที่เกี่ยวข้อง หากองค์ประกอบของระบบไม่ สามารถจะทางานของพวกตนให้สัมพันธ์กับการไหลได้  อุปสรรคที่สาคัญ คือ สภาพของ องค์กร แบบ"ไซโล(Silos)" ไซโลเหล่านั้นมักส่งผลให้เกิดแรง เสียดทาน ความขัดแย้ง และ ปัญหาด้านการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน ทั้งนี้เนื่องจากเรามีแนวโน้ม ที่จะควบคุมส่วนต่างๆขององค์กรผ่านมาตรวัดที่แตกต่างกัน รูปที่ 2-1 แสดงถึงหน้าที่หลักขององค์กรและวัตถุประสงค์หลักที่เกี่ยวข้องและตัวอย่างตัวชี้วัด ที่จะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น
  • 23. “Position, Protect and Pull” การไหลคือจุดร่วมของเป้าหมายการปรับปรุง งานหลายๆวิธีที่แพร่หลายอยู่ในปัจจุบัน ลดความ สูญเสีย ลดความ แปรปรวน เพิ่มอัตรา การไหล
  • 24. ความแปรปรวน – ศัตรู # 1 ของการไหล  การแปรปรวนเป็นผลมาจากการบิดเบือนความต้องการ(Demand Distortion) และการหยุดชะงักของอุปทาน(Supply Disruption)ผ่านเครือข่ายอุปทาน ทั้งหมด การสั่งสมและผลกระทบของความแปรปรวนคือศัตรูตัวร้ายของการ ไหล  Nervousness  Bullwhip Effect แหล่งของความแปรปรวน MRP in a Demand Driven World
  • 25. MRP in a Demand Driven World
  • 26. MRP in a Demand Driven World ข้อมูลความต้องการจากการพยากรณ์ ความบิดเบือนของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รูปที่ 3-2 เป็นผลการสารวจปี 2012 ที่จัดทาโดย forecastingblog.com ซึ่งแสดงอัตราการผิดพลาดในการ พยากรณ์กรณ์ของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่ระดับ SKU รูปที่ 3-2
  • 27. MRP in a Demand Driven World “ความสับสนวุ่นวาย(Nervousness) เป็นลักษณะในระบบ MRP ที่ไวต่อความ เปลี่ยนแปลง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยกับข้อมูลหรือกับตารางการผลิตหลัก (MPS) ในระดับ สูง (เช่นระดับ 0 หรือ 1) จะเป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งกับเวลา หรือปริมาณของตารางการผลิตและคาสั่งซื้อในระดับที่ต่ากว่า (เช่นระดับ 5 หรือ 6) อย่าง มากมาย “ (APICS Dictionary 12th ความบิดเบือนของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
  • 28. MRP in a Demand Driven World  ช่องตารางรายสัปดาห์ (The Weekly Bucket) ความบิดเบือนของข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  การทาให้โครงสร้างรายการวัสดุ แบนราบ (Flattening the Bill of Material) ถ้าต้องการผลิต A จานวน 100 หน่วย จะต้องจัดหา ชิ้นส่วน DและE ทั้งหมดกี่หน่วย คาตอบ คือ D = 1400 หน่วย และ E = 700 หน่วย LT = 6
  • 29. “Position, Protect and Pull” การบิดเบือนของวัสดุที่เกี่ยวข้อง(Distortion of Relevant Materials) รูปที่ 3-11 นัยสาคัญของขนาดรุ่นกับการคานวณใบสั่งจัดหาของ MRP ความแปรปรวนจากนโยบายขนาดรุ่น
  • 30. “Position, Protect and Pull” รูปที่ 3.8 ความน่าจะเป็นที่ทุกองค์ประกอบจะพร้อมใช้งานพร้อมๆกัน ความแปรปรวนจากการสะสมของเวลาล่าช้า (Delay Accumulation) รูปที่3.9 วัสดุสี่รายการมีความพร้อมใช้ งานค่อนข้างสูงในขณะที่มีชิ้นส่วน ประกอบหนึ่งมีความพร้อมใช้งานโดย เฉลี่ยค่อนข้างต่า รูปที่ 3.9 รูปที่ 3.8
  • 31. MRP in a Demand Driven World
  • 32. MRP in a Demand Driven World  การสะสมและขยายตัวจากการส่งถ่ายความแปรปรวนของความต้องการ(demand) และการจัดหา(Supply) คือศัตรูตัวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อการไหลทั่วทั้งเครือข่ายโซ่ อุปทาน  ความแปรปรวนสามารถลดและจัดการได้อย่างเป็นระบบ แต่จะไม่สามารถจะกาจัด ความแปรปรวนให้หมดไปได้  วิธีเดียวที่จะสามารถหยุดความสับสนวุ่นวายและผลกระทบ bullwhip คือการหยุด การส่งผ่านความแปรปรวนระหว่างหน่วยงานที่เชื่อมต่อกันของโซ่อุปทานจากทั้ง สองทิศทาง (Demand and Supply) กรณีนี้สามารถจะทาได้โดยใช้แนวคิดที่เรียกว่า “การแยกอิสระ(decoupling)” การแยกอิสระ(Decoupling )
  • 33. ตามแนวทางของ Demand Driven แนะนาให้แยกอิสระ (Decoupled) MRP หรือเครือข่ายอุปทานที่ตาแหน่งเชิงกลยุทธ์(Strategic Positions) หลังจากนั้น ทาการสร้างวัสดุคงคลังเชิงกลยุทธ์ให้กับจุดแยกอิสระเหล่านี้เพื่อตอบสนองกล ยุทธ์ทางธุรกิจและทาให้ผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ใช้(ROCE) มีค่าเป็นบวก ROCE = Return on Capital Employed = ผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใช้ MRP in a Demand Driven World 2 การแยกอิสระตามแนวทางของ Demand Driven
  • 34. MRP in a Demand Driven World การแยกอิสระ(Decoupling) APICS ได้นิยามความหมายของการแยกอิสระ( decoupling) ไว้ดังนี้ : “ การสร้างความเป็นอิสระระหว่างการจัดหาและการใช้วัสดุ โดยทั่วไปหมายถึงการ จัดเตรียมสินค้าคงคลังระหว่างขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้ความผันผวนของอัตราการ ผลิตในขั้นตอนการจัดหา(Supply) ไม่ส่งผลต่อการจากัด อัตราการผลิตหรือการใช้งานใน ขั้นตอนถัดไป ”  Decoupling – the Key to Demand Driven Material Requirements Planning (DDMRP)
  • 35. MRP in a Demand Driven World APICS ได้นิยามความหมายของ จุดแยกอิสระ(Decoupling points) ไว้ดังนี้ : จุดแยกอิสระ(Decoupling Point)  ตาแหน่งในโครงสร้างผลิตภัณฑ์หรือเครือข่ายการกระจายซึ่งได้วางสินค้าคงคลัง เชิงกลยุทธ์ไว้เพื่อสร้างความเป็นอิสระระหว่างกระบวนการหรือหน่วยงาน การเลือก จุดแยกอิสระเป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ที่พิจารณาถึงช่วงวลานาของลูกค้าและการ ลงทุนในสินค้าคงคลัง (หน้า 43)
  • 36. MRP in a Demand Driven World รูปที่ 4-2 แสดงให้เห็นถึงมุมมองการพึ่งพากันของระบบ MRP และการบิดเบือนของ สัญญาณความต้องการสั่งสม (ลูกศรเส้นบนจากขวาไปซ้าย) และความแปรปรวนของ การจัดหาแบบต่อเนื่อง (ลูกศรเส้นล่างจากซ้ายไปขวา) ในรูปไม่มีการแยกอิสระ ดังนั้น การบิดเบือนของข้อมูลและวัสดุที่เกี่ยวข้องทั้งสองจึงสะสมผ่านเข้าสู่ระบบ การสะสมของความแปรปรวนไหลผ่านระบบที่ไม่มีจุดแยกอิสระ รูปที่ 4-2 ระบบการดา เนินงานที่ไม่มีจุดแยก อิสระ ระยะเวลาวางแผน  ผลักดันให้เราต้องใช้การพยากรณ์ ในการสร้างใบสั่งจัดหา เนื่องจาก เชื่อว่าเวลาไม่พอ
  • 37. MRP in a Demand Driven World บัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ (Decoupling Point Buffers) APICS ได้นิยามความหมายของ บัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ ไว้ดังนี้ : “ปริมาณสินค้าคงคลังที่เก็บไว้ระหว่างหน่วยงานในเครือข่ายการผลิตหรือการกระจาย สินค้าเพื่อสร้างความเป็ นอิสระระหว่างกระบวนการหรือหน่วยงาน วัตถุประสงค์ของ สินค้าคงคลังแยกความเป็นอิสระคือ การตัดการเชื่อมต่อของอัตราการใช้ออกจากอัตรา การจัดหาสินค้า”  รูปที่ 4.3 ระบบการดาเนินงาน ที่มีบัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ รูปที่ 4-3 เราได้ค้นพบเวลาที่มีประสิทธิภาพที่เราเคยเชื่อว่าไม่เพียง พอที่จะใช้ความต้องการจริงจึงได้บังคับให้เราต้องใช้ความ ต้องการจากการพยากรณ์ในครั้งแรก เมื่อจุดแยกอิสระมี ความสอดคล้องกับระยะเวลาที่สามารถมองเห็นใบสั่งซื้อ ของลูกค้าได้ ความแปรปรวนของความต้องการก็จะลดลง
  • 38. MRP in a Demand Driven World บัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ(Decoupling Point Buffers)  ตาแหน่งของบัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ (แสดงเป็นไอคอนถังเป็นชั้นๆในโครงสร้าง พึ่งพา) เพื่อสร้างระยะเวลาการวางแผนและการปฏิบัติการการที่เป็นอิสระ  ระยะเวลาการวางแผนเหล่านี้จะแสดงด้วยเส้นประที่มีจุดกลมที่ขั้วต่อแต่ละด้านความ แปรปรวนของอุปสงค์และอุปทานจะหยุดการสะสมลงที่จุดขั้วปลายทางเหล่านั้น  ไอคอนรูปผนังที่มีป้ายชื่อว่า “Break-wall” ซึ่งงหมายความว่า บัฟเฟอร์จุดแยกความ เป็นอิสระทั้ง 2 ด้านของ bullwhip ในเวลาเดียวกันและจากที่เดียวกัน เป็นวิธีแก้ ปัญหาแบบ 2 ทิศทาง  บัฟเฟอร์จะดูดซับความแปรปรวนของอุปสงค์และอุปทานในเวลาเดียวกันเพื่อ ปกป้องการทาหน้าที่ของจุดแยกอิสระ  เมื่อบัฟเฟอร์จุดแยกอิสระ ถูกวางไว้ภายในกรอบระยะเวลาที่สามารถมองเห็นใบสั่งซื้อ ของลูกค้า ก็จะช่วยให้ระบบสามารถใช้ข้อมูลความต้องการได้อย่างถูกต้อง
  • 39. “Position, Protect and Pull” • ไม่ได้หมายความว่า - เป็นวิธีการพยากรณ์ที่ดีกว่า (forecast better)”
  • 40. MRP in a Demand Driven World  เครือข่ายอุปทานที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (3)
  • 41. คุณลักษณะที่สาคัญบางประการของ Demand Driven  การเคลื่อนไหวของผลิตภัณฑ์ จะถูกขับเคลื่อนจาก ความต้องการ/การ บริโภค ที่เกิดขึ้นจริง  ทั่วทุกชั้นของคู่ค้าต้องสามารถมองเห็น อุปสงค์/อุปทาน แบบเวลาจริง (real-time)  วัสดุคงคลังจะถูกจัดการเพื่อเป้าหมายเชิงพลวัติ(dynamic target) ใน ระดับปฏิบัติการ  ชี้ให้เห็นถึงประเด็นปัญหาของอุปสงค์/อุปทาน ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อนที่จะส่งผลกระทบต่อ การผลิต  สัญญาณความต้องการเดียวกัน จะถูกแบ่งปันไปยังคู่ค้าทั่วทุกลาดับชั้น ของโซ่อุปทาน นั่นคือ มีความเป็นจริงเพียงหนึ่งเดียว “Position, Protect and Pull”
  • 42. MRP in a Demand Driven World How to Become Demand Driven Going from push and promote to position and pull involves five steps: • 1. Accept the New Normal, • 2. Embrace flow and its implications for ROI, • 3. Design an operational model for flow, • 4. Bring the Demand Driven model to the organization, and • 5. Use smart metrics to operate and sustain the Demand Driven operating model.
  • 43. MRP in a Demand Driven World ถ้าความแปรปรวนเป็นศัตรูที่ใหญ่ที่สุด ในการไหลของระบบ เราจะต้อง ออกแบบระบบเพื่อหยุดความ แปรปรวนและส่งเสริมการไหล ขั้นที่ 1-3 ของ DDMRP
  • 44. “Position, Protect and Pull” พื้นฐานของตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (The Basic of Demand Driven Operating Model-DDOM) ตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (DDOM) เป็นตัวแบบการ ดาเนินงานบนพื้นฐานของการไหล (flow-based operating model) ที่ได้รับการ ออกแบบภายใต้4 องค์ประกอบพื้นฐาน คือ
  • 46. ตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ ( Demand driven operating model ) เป็นตัวแบบของ การสร้างใบสั่งจัดหา, การจัดตารางการดาเนินงาน และ การปฏิบัติบัติการ โดยใช้ความ ต้องการจริง ผสม ผสานกับจุดควบคุมและจุดแยกความเป็นอิสระเชิงกลยุทธ์ มีการจัดบัฟเฟอร์( สต๊อค เวลา และกาลังการผลิต) เพื่อสร้างระบบที่มีความคล่องตัวและคาดคะเนได้เพื่อสนับสนุนและปกป้องการ ไหลของวัสดุและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องภายในขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับยุทธวิธี (รายชั่วโมง รายวัน และ รายสัปดาห์) พารามิเตอร์ที่สาคัญของตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ จะ ถูกกาหนดผ่านกระบวนการวางแผนการขายและการดาเนินงาน(Demand Driven Sales and Operations Planning Process) “Position, Protect and Pull”
  • 47. “Position, Protect and Pull”  DDMRP คือนวัตกรรม และ/หรือ วิวัฒนาการใหม่ล่าสุดในการ วางแผนความต้องการวัสดุที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการ เพื่อรอง รับกับการแข่งขันทาง ธุรกิจที่มีความซับซ้อนและความต้องการที่ ค่อนข้างผันผวน นอกจากนั้น ยังถูกออกแบบมาให้มีความสามารถ รองรับการบริหารแบบเครือข่ายอุปทาน ความหมายของ DDMRP
  • 48. “Position, Protect and Pull”  การวางแผนความต้องการวัสดุขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (Demand driven Material Requirements Planning, DDMRP ) เป็นวิธีการวางแผนและดาเนินงานตลอดเครือข่าย โซ่อุปทานหลายลาดับชั้นอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับ ความต้องการ(Demand) และ การ จัดหา (Supply) วัสดุ และ วัสดุคงคลัง เพื่อปกป้องและสนับสนุนการไหลของวัสดุ และ สารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง โดยการจัดตั้ง และ บริหารจัดการ ตาแหน่งเชิงกลยุทธ์ ในการจัดเก็บบัฟเฟอร์เพื่อให้ เป็น จุดแยกความเป็นอิสระ (Strategically placed decoupling point stock bufferes)  หลายระดับหมายความว่า DDMRP จะบูรณาการชั้นต่างๆ (รวมถึงโครงสร้างรายการวัสดุ ( Bill of Material ) ในโซ่อุปทาน เพื่อทาการวางแผนและปฏิบัติการที่มองเห็นได้จากปลาย ด้านหนึ่งถึงปลายอีกด้านหนึ่ง เพื่อทาให้การไหลของสารสนเทศและวัสดุ ได้รับการปรับ ปรุงและจัดการได้ดีขึ้น โดยผ่านการจัดตั้งและบริหารจัดการจุดแยกอิสระการพึ่งพาด้วย บัฟเฟอร์สต๊อกจุดแยกอิสระ(DecouplingPoint Stock Buffers)
  • 49.  แก่นแนวคิดที่สาคัญประการหนึ่งของการออกแบบ DDMRP คือ การบรรลุสู่ความ พร้อมของวัสดุอย่างต่อเนื่อง โดยไม่เกิดความสูญเสีย โดยการจัดวางกระบวนการต่างๆที่ เกี่ยวข้องเพื่อทาให้ การจัดซื้อ การผลิต และ กระบวนการเติมเต็มของบริษัท อยู่บน พื้นฐานของการบริโภค และ ความต้องการที่เกิดขึ้นจริงมากกว่าการพยากรณ์  ภายใต้แนวคิดดังกล่าว Buffer ของ DDMRP จึงถูกกาหนดให้มีการจัดวางตาแหน่ง อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างหรือเร่งความเร็ว ในการไหลของวัสดุให้สอดคล้องกับความ ต้องการของลูกค้า ขณะเดียวกันBuffer ของ DDMRP ก็ถูกออกแบบมาให้เป็นแบบพลวัติ (Dynamic Buffer) สามารถยืดหยุ่นได้ตามการเปลี่ยนแปลงของความต้องการที่แปร เปลี่ยนไปตามช่วงเวลา ส่งผลให้องค์กรสามารถลดการลงทุนด้านวัสดุคงคลัง ขณะที่ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าในเวลาเดียวกัน
  • 50. “Position, Protect and Pull” พื้นฐานองค์ความรู้ที่สาคัญของ DDMRP DDMRP คือ นวัตกรรมของการวางแผนและควบคุมการผลิตที่หลอมรวมพื้นฐานของ MRP และ DRP เดิม ให้เข้ากันได้อย่างลงตัวกับ Lean และ ทฤษฎีข้อจากัด ( theory of constraints ) ที่ให้ความสาคัญ กับการดึงและการมองเห็น และ ซิก ซิกม่า (Six Sigma) ที่ มุ่งเน้นลดความแปรปรวน เพื่อพัฒนาระบบการผลิตที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการจริง
  • 51. “Position, Protect and Pull” 5 องค์ประกอบตามลาดับของ DDMRP  การวางตาแหน่งวัสดุคงคลังเชิงกลยุทธ์จะเป็นการพิจาณาว่าที่ใดที่จะถูกกาหนดให้เป็นตาแหน่ง ของจุดแยกความเป็นอิสระ(DecoupledPoint-DP)  ระดับและโปรไฟล์ของบัฟเฟอร์ จะใช้ในการพิจารณาหาปริมาณของบัฟเฟอร์เพื่อปกป้อง DP เหล่านี้ การปรับบัฟเฟอร์เชิงพลวัติ เป็นการกาหนดวิธีการในการปรับระดับของการป้องกันให้โค้ง ขึ้นหรือลง บนพื้นฐานของพารามิเตอร์การปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงของตลาด และ แผนที่วางไว้ หรือ การรู้ถึง เหตุการณ์ในอนาคต  3 องค์ประกอบแรก เป็นการสร้าง ตัวแบบการดาเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการ ( Demand driven operatingmodel ) ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ประกอบ ด้วย
  • 52.  องค์ประกอบที่ 4 และ 5 เป็นการกาหนดด้านการดาเนินงานจริงของระบบ DDMRP คือ การวาง แผนและการดาเนินการ 5 องค์ประกอบตามลาดับของ DDMRP  การวางแผนขับเคลื่อนด้วยความต้องการเป็นกระบวนการในการสร้างใบสั่ง จัดหา (supply order) เช่น ใบสั่งซื้อ ใบสั่งผลิต และ ใบสั่งให้เคลื่อย้ายสต็อก  ความสามารถในการมองเห็นและการร่วมมือใน การดาเนินงาน(visibilityand collaborative executive) เป็นกระบวนการที่ระบบ DDMRP. ใช้ในการจัดการใบสั่งจัดหาที่ได้ปล่อยออกมา “Position, Protect and Pull”
  • 53. QR Code เพื่อเยี่ยมชมเพจ และใช้เป็นช่องทางการติดต่อกับวิทยากร รวมทั้งข้อมูลและหลักสูตรการอบรม

Editor's Notes

  1. Breakthrough in Material Planning = พัฒนาการหรือความก้าวหน้า ในการวางแผนวัสดุ
  2. ปัญหาอะไรที่เรากำลังจะคิดไข ? ระบบการวางแผนอย่างเป็นทางการในปัจุบันนี้กำลังจะล่มสลายลง
  3. ปัญหาอะไรที่เรากำลังจะคิดไข ? ระบบการวางแผนอย่างเป็นทางการในปัจุบันนี้กำลังจะล่มสลายลง
  4. 082-796-6927
  5. CTT = เวลาที่ลูกค้ายอมรับได้ Legacy Tactics = กลยุทธ์ดังเดิม Dependency = พึงพากันตลอดทั่วทั้ง Bill of Material Freeze production scheduling แช่แข็งตารางการผลิต(ยาวกว่าเวลาที่ลูกค้ายอมรับได้) แนวทางดังเดิมนั้นจะสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้หรือไม่
  6. โซ่อุปทานมีการยืดและกระจายตัวมากขึ้น ขณะที่เวลาที่ลูกค้ายอมรับได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นผลิตภัณฑ์ก็มีความหลากหลายมากขึ้นแต่ช่วงอายุที่สั้นกว่าในการจัดการ มีการใช้ทรัพยากรและชิ้นส่วนประกอบร่วมจำนวนมาก This disparity means holding stock at some strategic point is a must to keep and/or grow sales. ความเหลื่อมล้ำนี้หมายถึงการถือครอง สต็อค ในจุดเชิงกลยุทธ์บางจุดเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อรักษาและ / หรือเพิ่มยอดขาย สิ่งนี้หมายความถึงการจัดการการวางตำแหน่งสต็อคอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจำเป็นต่อความมีประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรและเงินทุนหมุนเวียน นอกจากนั้นสิ่งนี้ยังหมายความว่าระยะการวางแผนที่ห่างไกลยิ่งห่างไกลจากความต้องการจริงมากยิ่งขึ้น และ นี่ยังหมายความว่าการพยากรณ์สินค้าในระดับรายละเอียดจะยิ่งมีความยุ่งยากมากขึ้น
  7. โซ่อุปทานวันนี้ดูแตกต่างกันมาก จากโซ่อุปทานเมื่อปี 1960 เมื่อกฎการวางแผนแบบเดิมได้ถูกสร้างขึ้น แต่ ... Conventional planning rules have not appreciably changed since the 1960s. MRP still plans today the way it did 50 years ago! กฎการวางแผนดั่งเดิม ไม่ได้รับการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 MRP ยังคงใช้ในการวางแผนในปัจจุบันนี้ ด้วยวิธีเดียวกันกับที่ใช้ เมื่อ50 ปีที่ผ่านมา! transactional friction แรงเสียดทานต่อวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆมีค่อนข้างสูง
  8. ระบบการวางแผนสมัยใหม่ล้มเหลว เพราะการพัฒนาระบบการวางแผนที่ผ่านมายังคงอยู่บนพื้นฐานเดิมๆที่ออกแบบมาเมื่อ 50-60 ปีที่แล้วนับตั้งแต่ปี 1970 เพียงแต่เทคโนโลยีสารสนเทศก้าวหน้าไป ดังตัวอย่าง MRP ผู้ใช้ต้องพึ่งพาการเอกสาร Excel ซับซ้อน และ 90% ของเอกสาร Excel มีข้อผิดพลาด 1% หรือมากกว่า Users rely on complicated Excel documents; 90% of Excel documents contain errors of 1% or more of all formula cells
  9. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย Deloitte
  10. คำถามที่สำคัญ สำหรับการวางแผนและความยืดหยุ่น 1. จะลดหรือขจัดปัญหาการขาดแคลนได้อย่างไร ? สาเหตุของการขาดแคลนเป็นปัญหาในการผลิต บุคคลใดก็ตามแม้จะใช้เวลาเพียงวันเดียวในการดำเนินงานจะรู้ความจริงนี้ว่า เมื่อการขาดแคลนดังกล่าวนี้เกิดขึ้นบ่อยๆ หรือ เรื้อรัง การขาดแคลนนี้สามารถจะทำลายผลการดำเนินงานด้านการให้บริการและการเงินของบริษัท บ่อยครั้งเมื่อเกิดการขาดแคลนจะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นสำหรับค่าล่วงเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดส่งสินค้าเร่งด่วน เป็นเหตุให้ตารางการผลิตเบียงเบน และ สร้างความสับสนขึ้นโดยทั่วไป ในสถานะการณ์ที่ลูกค้ายอมรับช่วงเวลานำการส่งมอบที่สั้นและสั้นลงเรื่อยๆ ขณะเดียวกันก็ต้องการความเชื่อถือได้ในการส่งมอบด้วย การควบคุมการขาดแคลนจะกลาย เป็นเรื่องที่สำคัญมากสำหรับความสำเร็จอย่างยั่งยืนของบริษัท 2. ทำอย่างไรถึงจะทำให้ช่วงเวลานำสั้นที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ? ดังที่ได้กล่าวแล้วก่อนหน้านี้ เวลาที่ลูกค้ายอมรับได้จะหดสั้นลงเรื่อยๆ เพื่อให้สามารถยืนแข่งขันด้านช่วงเวลานำได้ ขณะเดียวกันก็สามารถลดปริมาณวัสดุคงคลังที่จำเป็นลง บริษัทจะอยู่ภายใต้แรงกดดันอย่างต่อเนื่องให้ทำการบีบอัดช่วงเวลานำในการจัดซื้อและสั่งผลิตให้สั้นลง 3.จะทำให้เงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงาน(สินทรัพย์เกี่ยวกับวัสดุ และการผลิต)สอดคล้องกับความต้องการได้อย่างไร ? บริษัทหลายแห่งกำลังฝ่าฟันที่จะลดวัสดุคงคลังแต่ในขณะเดียวกันก็พยายามทำให้ระดับการให้บริการสูงสุด การกำหนดกลยุทธ์ประเภทนี้ กลยุทธ์ขับเคลื่อนประเภทนี้มักจะถูกกำหนดโดยธุรกิจสมัยใหม่ไม่ว่าจะอยู่ในสภาพภูมิอากาศเช่นไร ในช่วงเวลาที่ดีที่สุด จะหมายถึงนัยสำคัญของผลตอบแทนเงินทุนโดยเฉลี่ยที่ถูกใช้ไป(Return on average capital employed-RACE) และ สำหรับในช่วงเวลาที่เลวร้ายที่สุด หมายถึงการลดผลกระทบของบริษัทจากการชลอตัวหรือการทดถอย
  11. Adopt flow-centric efficency Rule = นำกฎเกณฑ์ ประสิทธิภาพการไหลเป็นศูนย์กลาง มาใช้ เพื่อ ปกป้องและเพิ่มการไหลของวัสดุและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง embrace = โอบอุ้ม Company must embrace the new position and pull mode of operation = บริษัทจะต้องโอบอุ้ม การวางตำแหน่งใหม่ และ โหมดการปฏิบัติงานโดยการดึง
  12. บรัษัทและโซ่อุปทานจำเป็นจะต้องจัดเงินทุนหมุนเวียน(ทรัพยากร และ ความพยายาม) ให้เหมาะสมกับการบริโภคที่เกิดขึ้นจริง โดยการจัดการตัวแปรที่มีความผันผวนและซับซ้อนให้ประสบความสำเร็จ Working capital(Resources and efforts) = เงินทุนหมุนเวียน(ทรัพยากร และ ความพยายาม) ความพยายามในที่นี้ หมายถึงน้ำพักน้ำแรง หรือ ความมานะ
  13. กฎข้อแรกของการผลิตของ George Plossl
  14. การมองเห็นหมายถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำหรับการตัดสินใจ ความแปรปรวนหมายถึงผลรวมของความแตกต่างระหว่างแผนของเรากับสิ่งที่เกิดขึ้น
  15. Capture Demand = รักษาระดับหรือ เพิ่มระดับความต้องการ Warranty claims = การร้องเรียนการรับประกัน
  16. การเปลี่ยนแปลงอย่างสุดขั้วที่ตำแหน่งต้นน้ำของอุปทานเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงเล็กๆน้อยๆของความต้องการที่ปลายน้ำของโซ่อุปทาน วัสดุคงคลังจะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วจากงานค้างส่งไปเป็นมากเกินไป Inherent = โดยธรรมชาติ
  17. nervousness = ความกังวลใจ = ความสับสนวุ่นวาย
  18. nervousness = ความกังวลใจ = ความสับสนวุ่นวาย
  19. กฎของความแปรปรวน ความแปรปรวนในกระบวนการยิ่งมาก ช่วงเวลานำยิ่งยาวขึ้น และ ประสิทธิภาพการผลิตกับลดลง
  20. Adverse impact of MRP = ลดผลกระทบในทางเสียหายของ MRP ROCE = Return on Capital Employed = ผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใช้ enabling a positive ROCE = ทำให้ ROCE เป็นบวก
  21. หนทางเดียวเท่านั้นที่จะหยุด การสับสนวุ่นวายและผลกระทบแส้หางม้า ก็คือการหยุดความแปรปรวนที่ถูกส่งผ่านไปและมาระหว่างชิ้นส่วนต่างๆของระบบ
  22. Adverse impact of MRP = ลดผลกระทบในทางเสียหายของ MRP
  23. เราได้ค้นพบเวลาที่มีประสิทธิภาพที่เราเคยเชื่อว่าเราไม่เพียงพอที่จะใช้ความต้องการจริงจึงได้บังคับให้เราต้องใช้ความต้องการจากการพยากรณ์ในครั้งแรก เมื่อจุดแยกอิสระมีความสอดคล้องกับระยะเวลาที่สามารถมองเห็นใบสั่งซื้อของลูกค้าได้ ความแปรปรวนของความต้องการก็จะลดลง
  24. การเคลื่อนย้ายจากโซ่อุปทานเป็นเครื่อข่ายอุปทาน เพื่อที่จะให้เป็นการขับเคลื่อนจากความต้องการ โซ่อุปทานแบบดังเดิมจำเ ป็นจะต้องได้รับการจัดการแบบเครื่อข่ายอุปทานในเชิงบูรณาการ ในทุกๆระดับชั้นของคู่ค้าจะต้องสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงในความต้องการของผู้บริโภคขั้นสุดท้าย(end consumer) พร้อมทั้งการเคลื่อนไหวของวัสดุทั้งหมด และ ในการตัดสินใจเกี่ยวกับสินค้าคงคลังจะต้องถูกขับเคลื่อนจากสัญญาณความต้องการที่อยู่ไกล้กับผู้บริโภคให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถจับการบริโภคและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความต้องการที่เกิดขึ้นจริง
  25. การเปลี่ยนแปลงสู่การขับเคลื่อนด้วยความต้องการ (How to Become Demand Driven) จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องผักดันให้มีการเปลี่ยนแปลงจากตัวแบบที่เน้นการ Supply และต้นทุนเป็นศูนย์กลางแบบดั่งเดิม(conventional supply- and cost-centric model) ไปสู่ ตัวแบบที่เน้นการไหล และ การดึงโดยความต้องการเป็นศูนย์กลาง(flow- and demand-pull-centric model) หรือเปลี่ยนแปลงจากการผลักและส่งเสริม ไปสู่ การวางตำแหน่ง และดึง(push and promote to position and pull) จะประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1. ยอมรับความเป็นปกติใหม่ 2. ยอมรับการไหล และ นัยสำคัญของการไหลที่มีต่อผลตอบแทนการลงทุน(ROI) (การเปลี่ยนแปลงจาก push and promote ไปสู่ position and pull ) 3. การออกแบบตัวแบบการดำเนินงานสำหรับการไหล(ขั้นที่ 1-3 ของ DDMRP ) 4. นำตัวแบบการขับเคลื่อนด้วยต้องการไปใช้กับองค์กร (ขั้นที่ 4-5) และ 5. ใช้ตัวชี้วัดอัจฉริยะต่อการดำเนินงานและจรรโลงตัวแบบการดำเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการให้ยังยืน (หลักการคล้ายๆกับวงจร PDCA หรือ LEAN หรือ TOC ในที่นี้คือ ย้อนกลับไปขั้นตอนที่ 3 เพื่อยกระดับสู่ความสมบูรณ์แบบ และ ผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น Becoming Demand Driven essentially is forcing a change from the conventional supply- and cost-centric model to a flow- and demand-pull-centric model.
  26. ตัวแบบการดำเนินงานขับเคลื่อนด้วยความต้องการจะใช้การวางจุดควบคุมเชิงกลยุทธ์เพื่อ ตารางการผลิต และ ทรัพยากร และ ประสานใบสั่ง
  27. การจัดตารางเวลากำลังการผลิตตามความต้องการพื่อจัดเตรียมการจัดตารางเวลาทรัพยากรมีความสอดคล้องกัน การดำเนินงานตามความต้องการจะเกี่ยวข้องกับการจัดการใบสั่งและบัฟเฟอร์ในแบบ real-time