SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
ฟีลิปปี ดร . ริค กริฟฟิธ ,  สิงคโปร์ ไบเบิ้ล คอลลเลจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด  โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด โอ้ข้ารักจะร้องเพลงสรรเสริญ พระเยซูทรงอยู่ภายใน  ข้ายินดีพระองค์ช่วยให้รอด   ทรงจากสวรรค์สู่โลกา สำแดง หนทาง จากโลกาสู่กางเขน   ชำระ ความบาป  จากกางเขนสู่อุโมงค์  จากอุโมงค์สู่สวรรค์   โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด  ( ซ้ำ )
ทรงจากสวรรค์สู่โลกา  สำแดง หนทาง จากโลกาสู่กางเขน   ชำระ ความบาป  จากกางเขนสู่อุโมงค์  จากอุโมงค์สู่สวรรค์   โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด  ( ซ้ำ )
เราเป็นคนแบบไหน ? ,[object Object],[object Object]
181 ฟีลิปปี   ผลแห่งการเลียนแบบพระคริสต์ ยินดี     ถ่อมใจ     การปกป้อง   สันติสุข   บทที่  1     บทที่  2 บทที่  3    บทที่  4   ยินดี   (5x)     ยินดี   (7x)     ยินดี   (1x)     ยินดี   (4x)    ทัศนคติ   (1x) ทัศนคติ  (7x)    ทัศนคติ   (8x)    ทัศนคติ   (4x)   การทนทุกข์     การยอมจำนน   ความรอด   การชำระให้บริสุทธิ์ คำทักทาย 1:1-2   คำขอบคุณและคำอธิษฐาน 1:3-11 พันธกิจในคุก 1:12-30   ขอร้อง 2:1-4   ตัวอย่าง 2:5-30   จากพวกถือกฎ 3:1-16 จากพวกปล่อยตัว 3:17-21 กับผู้คน 4:1-3   กับพระเจ้า 4:4-9 เสมอๆ 4:10-20   ทักทาย 4:21-23   โรม   ต้นฤดูหนาว ปีค . ศ .  62  ( ช่วงติดคุกในกรุงโรมครั้งแรก )
181 ฟีลิปปี คำสำคัญ ทัศนคติ   ข้อพระคัมภีร์สำคัญ “ ท่านจงมีน้ำใจต่อกันเหมือนอย่างที่มีใน พระเยซูคริสต์ ” ( ฟีลิปปี   2:5)
181 ฟีลิปปี เนื้อหาหลัก อ . เปาโลขอร้องผู้เชื่อชาวฟีลิปปี   ให้เลียนแบบทัศนคติของพระเยซูคริสต์   ซึ่งจะทำให้มีประสบการ์แห่งความชื่นชมยินดี ความถ่อมใจ และสันติสุข   เพื่อที่จะได้รับการปกป้องจาก ผู้สอนผิด และ การแตกแยก ในคริสตจักร การประยุกต์ใช้ เราจะสำแดงทัศนคติอย่างพระคริสต์ท่ามกลางความทุกข์ยากได้อย่างไร ?
182 ผู้เขียน หลักฐานภายนอก นักวิชาการพระคัมภีร์ที่น่าเชื่อถือเกือบทั้งหมดเชื่อว่าเปาโลเป็นผู้เขียนพระธรรมฟีลิปปี ยกเว้นเอฟ .   เบาเออร์ นักวิจารณ์หัวรุนแรง ชาวเยอรมัน สมัยศตวรรษที่  19 หลักฐานภายใน ในจดหมายอ้างถึงเปาโลว่าเป็นผู้เขียน   (1:1).  ทั้งยังย้ำถึงเพื่อนร่วมงานคือ ทิโมธี   (1:1;  กิจการ   16)  และคำชี้แจงของผู้เขียนเองในจดหมาย   (3:4-6)
186 ข เมืองฟีลิปปีในสมัยของเปาโล จาก  Bible Visual Resource Book,  247
182 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ข้อมูลจำเพาะ
โรม ฟีลิปปี เปาโลเขียนจดหมายฟีลิปปี ในช่วงสุดท้ายของการถูกจำคุกที่กรุงโรมครั้งที่  1  ในปีค . ศ .  62  ก่อนหน้านี้ท่านเขียนจดหมายฝากจากในคุกฉบับอื่น คือ  เอเฟซัส โคโลสี และ ฟีเลโมน สถานที่และวันเวลาที่เขียน
182 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เบื้องหลัง
182 ลักษณะพิเศษ จดหมายฟีลิปปี ไม่ใช่ข้อเขียนเชิงศาสนศาสตร์เกี่ยวกับหลักข้อเชื่อ แต่เป็นจดหมายที่บรรยายถึงพระลักษณะของพระเยซูคริสต์ที่สำคัญที่สุดในจดหมายฝาก   (2:5-11)   เพื่อเป็นแบบอย่างแห่งความถ่อมใจ  จดหมายตอนนี้เรียกว่า “เคโนซีส” เนื่องจากเนื้อหา กล่าวถึง การที่พระคริสต์สละสิทธิแห่งการเป็นพระเจ้า  ( ไม่ใช่สละสภาวะการเป็นพระเจ้า )  ภายใน  7  ข้อนี้ได้สอนความล้ำลึกเกี่ยวกับการทรงสถิตอยู่ก่อนของพระองค์  การเสด็จลงมาบังเกิด  การถ่อมใจ และ การเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ถึงแม้ว่าประเด็นเรื่องผู้เขียนไม่ค่อยมีการโต้แย้งมากแต่กลับมีการโต้แย้งเรื่องเอกภาพของเนื้อหา โดยเฉพาะ เรื่อง  1) การเปลี่ยนน้ำเสียงจากความรักเป็นการตักเตือน และจากการเป็นเพื่อนร่วมงานเป็นการอ้างถึงสิทธิอำนาจ และ  2)   ตอนที่เป็นบทกวี ( ร้อยกรอง )  ที่แทรกระหว่างบทความ ( ร้อยแก้ว )  (2:6-11).
หัวข้อหลัก   183-184 การดำเนินชีวิตคริสเตียน การอภิบาล ชื่นชมยินดี พระคริสต์
พระคริสต์เป็นใจความสำคัญของพระธรรมฟีลิปปี 183 พระลักษณะ บทที่   1 บทที่   2 บทที่   3 บทที่   4 เป็นพระเจ้า   2:6     สูงสุด  ( เจ้านาย ) 1:2, 20 2:9-11 3:20-21   กลับมาด้วยฤทธานุภาพ 1:6, 10 2:10, 16 3:20-21 4:5 ถวายบูชา  ( ไม้กางเขน ) 1:29 2:8 3:18   ช่วยให้รอด   3:20   สง่าราศี  ( การเป็นขึ้นจากความตาย )     3:10, 21   บังเกิด  ( มนุษย์ )   2:6-8     ถ่อมใจ   2:6-8     เชื่อฟัง   2:8     ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน   ( ผู้รับใช้ )   2:6, 21     มีแผนในพันธกิจ   2:21, 30     จัดเตรียมแก่ผู้ขัดสน       4:19 ผู้ช่วย  ( โดยพระวิญญาณ ) 1:19       ตอบคำอธิษฐาน 1:19       ประทานความเชื่อ 1:29       มอบสิทธิพิเศษในการรับใช้ 1:1, 14-18, 22       ให้ความสามารถเพื่อจะถวายเกียรติ     3:3  
183 4:4, 10-13 พระคริสต์เป็นใจความสำคัญของพระธรรมฟีลิปปี พระลักษณะ บทที่   1 บทที่   2 บทที่   3 บทที่   4 ให้ความรักแก่ผู้อื่น 1:8 2:29     ให้ความชอบธรรม  ( ธรรมิกชน ) 1:1, 10-11   3:9 4:21 ให้การหนุนใจ   2:19     ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระองค์เอง     3:8, 10   ถวายเกียรติแด่พระเจ้า 1:11       ให้พระคุณ 1:2     4:23 ให้การปลอบประโลมใจแก่เรา   2:1     ให้การปลอบประโลมใจแก่ผู้อื่น   2:1     ให้เป้าหมายในการรับใช้   2:16     ให้ชีวิต 1:21       ให้ความสามารถในการทำทุกสิ่ง       4:13 ให้ความยินดี  ( ในสิ่งที่มี ) 1:18, 26 2:29 3:1 ให้ความมั่นใจ  ( ในจุดยืน ) 1:13-14 2:19, 24   4:1, 19 ให้สันติสุข 1:2   4:2, 7 ให้การทนทุกข์ 1:13, 29   3:10   ให้บำเหน็จ 1:21, 23   3:7-8, 14   ให้ความถ่อมใจ   2:5     ให้ความเป็นหนึ่ง 1:15-17 2:1-2   4:21-22 ให้กายใหม่  ( การเป็นขึ้น )     3:11, 21   ให้ลักษณะของพระคริสต์ 1:20, 27 2:5 3:10-14  
หัวข้อหลัก 183-184 การดำเนินชีวิตคริสเตียน การอภิบาล ชื่นชมยินดี พระคริสต์ เป้าหมายอื่นๆ เลียนแบบทัศนคติ ของพระคริสต์
184-185 สังเคราะห์เนื้อหา 1   ยินดี ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
ความสุข กับ ความยินดี ความยินดี 186 ค ความสุข Joy ภายนอก ภายใน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ การแสดงความตั้งใจ การมีสิ่งที่ตนต้องการ การต้องการสิ่งที่ตนมี ดีใจ พึงพอใจ ผล เหตุ ผลลัพธ์ รากฐาน ไม่สม่ำเสมอ สม่ำเสมอ ชั่วคราว นิรันดร์
184-185 2   ถ่อมใจ 1  ยินดี สังเคราะห์เนื้อหา ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
186 ง การสัมพันธ์กับผู้อื่น ( ฟีลิปปี   2:1-4 )   เห็นแก่ตัว   ไม่เห็นแก่ตัว   ก่อให้เกิดการบ่น   (2:14)   ก่อให้เกิดความยินดี   (2:2 ก ) นำไปสู่การแตกแยก   (4:2) นำไปสู่การเป็นหนึ่ง   (2:2b) หยิ่ง  (2:3 ก ) ถ่อมใจ   (2:3 ข ) ถือว่าตนดีกว่าคนอื่น   (2:3 ก ) ถือว่าคนอื่นดีกว่าตน   (2:3 ข ) หาประโยชน์แก่ตน   (2:4 ก ) หาประโยชน์แก่ผู้อื่น   (2:4 ข ) เป็นอย่างซาตาน เป็นอย่างพระคริสต์   (2:5)
186 Philippians 2:6-11  ฟีลิปปี 2:6 - 11 — ตัดสินใจสละสิทธิความเป็นพระเจ้า — ดำรงอยู่ในสภาพพระเจ้า — สละสิทธิการเท่าเทียมกับพระเจ้า — ยอมรับสภาพทาสโดยบังเกิดเป็นมนุษย์ — ยอมเชื่อฟังจนถึงความมรณา — มรณาที่กางเขน พระคริสต์ สง่าราศี สง่าราศี 2:6 - 8 ความถ่อมใจ 2: 9 - 11 การยกชูขึ้น ความเป็นพระเจ้า จะได้รับการยอมรับ
186 จ ผลแห่งการมีทัศนคติที่ไม่ดี ฟีลิปปี  2:14-16   คนที่ลงทุนในชีวิตเราจะเริ่มคิดว่าเขาน่าจะไปลงทุนชีวิตกับคนอื่นแทนดีกว่า ถ้าเราบ่นและทุ่มเถียง เราจะไม่เป็นคนปราศจากตำหนิและไม่เป็นฝ่ายถูก เราจะไม่มีอิทธิพลในแง่บวกต่อผู้อื่น
186 ฉ ผลแห่งการมีทัศนคติที่ดี ฟีลิปปี   2:14-16   คนที่ลงทุนชีวิตจะเห็นผลและภูมิใจในสิ่งที่ลงทุนลงแรงไป เราจะบริสุทธิ์ ปราศจากความผิด ไม่ถูกตำหนิ เป็นบุตรของพระเจ้า ถ้าเราทำทุกสิ่งโดยปราศจากการบ่นและทุ่มถียงกัน เราจะส่องสว่างดังแสงในจักรวาล
184-185 2   ความถ่อมใจ 1  ยินดี 3   การปกป้อง สังเคราะห์เนื้อหา ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
186 ฉ ความสมดุลในชีวิตคริสเตียน   ฟีลิปปี  3:1-3   ฟีลิปปี   3:4-16   ฟีลิปปี   3:17-20 ถือกฎ = กฎเท่านั้น เกณฑ์และเสรีภาพ เสรี = ไม่มีกฎ มีกฎมากมาย กฎของพระคัมภีร์เท่านั้น เสรีในการทำทุกสิ่ง การกระทำสำคัญที่สุด การกระทำสำคัญ การกระทำไม่สำคัญ โครงสร้างซับซ้อน มีโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง เป็นอย่างฟาริสี เป็นอย่างพระคริสต์ เป็นอย่างคนตะกละ ธรรมเนียมปฏิบัติ คือ “พระเจ้า” พระคริสต์ คือพระเจ้า ปากท้องคือ พระเจ้า ปฏิเสธเนื้อหนัง ควบคุมเนื้อหนัง บำเรอเนื้อหนัง ความสมบูรณ์แบบ อยู่ในกระบวนการ   (3:12-13) แล้วแต่เวรกรรม คิดว่ามาถึงแล้ว รู้ว่ายังไม่ถึง ไม่ใส่ใจ มั่นใจในเนื้อหนัง   (3:3) มั่นใจในพระคริสต์   (3:7) มั่นใจในสิ่งน่าละอาย   (3:19 ค ) ชอบธรรมโดยกฎบัญญัติ   (3:9 ก ) ชอบธรรมโดยความเชื่อ   (3:9 ข ) ไม่แสวงหาความชอบธรรม   (3:19 ง ) ห้ามดูหนัง ดูหนังที่เป็นประโยชน์ ดูหนังทุกประเภท ห้ามดูรายการโทรทัศน์ ดูรายการที่เป็นประโยชน์ ดูรายการโทรทัศน์ทุกประเภท ห้ามฟังเพลง ฟังดนตรีที่เป็นประโยชน์ ฟังเพลงทุกประเภท ไม่ดื่มเหล้า / ไวน์ เนื่องจากกฎ ไม่ดื่ม / ยับยั้ง / ควบคุม ดื่มจนเมามาย ไม่กินอาหารมลทิน ควบคุมอย่างเหมาะสม ตระกละตระกราม ถือ “สะบาโตคริสเตียน” พักผ่อน ปล่อยตัวตามใจ ห้ามแต่งงาน เป็นโสดเพื่อรับใช้ ปล่อยตัว / ผิดประเวณี ความสมดุล   พวกถือกฎ   เสรีนิยม เราอาจสูญเสียความรอดได้ ความรอดมั่นคงนิรันดร์ เราไม่สามารถรอดได้
186 ช เชื้อตระกูลของเปาโล   ( ฟีลิปปี   3:4-6)   เข้าสุหนัตในวันที่แปด   สัญลักษณ์แห่งเข้าส่วนในพันธสัญญาที่พระเจ้ามีต่ออับราฮัมแยกเปาโลจากคนต่างชาติและเปาโลทำพิธีนี้ตามวันที่กำหนดในพระคัมภีร์พันธสัญญาเดิม   ( ปฐมกาล   17:11-12) เป็นประชากรแห่งอิสราเอล เปาโลเป็นคนเชื้อสายอิสราเอลแท้ ชนชาติที่พระเจ้าเลือกสรรไว้ ไ ( ไม่ใช่คนที่เปลี่ยนศาสนามาเป็นยิวซึ่งถือเป็นกลุ่มคนชั้นสอง ) อยู่ในเผ่าเบนยามิน เผ่านี้เป็นเผ่าที่เล็กที่สุดเผ่าหนึ่งแต่อวดได้ว่ามีกษัตริย์องค์แรกของอิสราเอล ( ซาอูล )  เปาโลไม่ได้มาจากเผ่าที่ไม่มีชื่อเสียงเช่นดานหรือรูเบน เป็นชาวฮีบรูขนานแท้ เปาโลไม่ได้รับธรรมเนียมกรีกแม้ว่าตัวเขาเองเติบโตในเมืองของชาวกรีก ( ทาร์ซัส ) ในด้านบัญญัติ :   อยู่ในคณะฟาริสี คณะนี้เคร่งครัดในกฎบัญญัติของโมเสสยิ่งกว่าคณะอื่นๆในสังคม ในด้านความกระตือรือร้น :  ข่มเหงคริสตจักร พวกฟาริสีส่วนมากไม่ได้กระตือรือร้นที่จะกำจัดพวกที่เชื่อในพระเยซู ในด้านความชอบธรรมโดยบัญญัติ :  ไม่มีที่ติ เปาโลรักษาบัญญัติ  613  ข้อของฟาริสีโดยไม่มีข้อยกเว้น
186 ฌ หยากเยื่อ ( ขยะมูลฝอย ) เพื่อพระคริสต์ ฟีลิปปี   3:7-8 เปาโลถือว่าความสำเร็จสูงสุดของท่านเป็นเหมือนมูลสัตว์ เมื่อเปรียบกับการรู้จักกับพระคริสต์ อะไรเป็นสิ่งที่ทำให้เราภูมิใจมากที่สุดในชีวิตของเรา ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทัศนคติของเราเป็นเหมือนเปาโลหรือไม่ ?  เหล่านี้เป็นเพียงมูลสัตว์ในสายตาเราหรือไม่ ?
186 ญ การล่วงล้ำสมัยใหม่ ฟีลิปปี   3:18-19 พระคัมภีร์   การตีความหมาย   ลัทธิมอร์มอน   ลัทธิโฮลี่ ลาฟเตอร์ ประพฤติตัวเป็นเป็นศัตรูต่อกางเขน พวกนี้ต่อต้านความรอดโดยความเชื่อ ความรอดโดยการกระทำ ไม่สอนเรื่องพระคริสต์ ปลายทางของคนเหล่านั้นคือความพินาศ  พวกนี้ไม่ได้รับความรอด อ้างว่าได้รับความรอดแต่แท้จริงช่วยตัวเองให้รอดไม่ได้ อ้างว่าเป็นคริสเตียน แต่ทำไมไม่สอนเรื่องพระคริสต์ ? พระของเขาคือกระเพาะ  เป้าหมายชีวิตคือความพึงพอใจ เป้าหมายคือการเป็นพระเพื่อที่จะมีเพศสัมพันธ์กับพระเพศหญิงได้มากเท่าที่ต้องการ เป้าหมายคือการมีความรู้สึกดีๆ เขายกความที่น่าอับอายของเขาขึ้นมาโอ้อวด  พวกนี้ภูมิใจในสิ่งที่น่าละอาย วิหารที่มีสามีภรรยาได้หลายๆคน เป็นเป้าหมายสูงสุด ความสูงส่งฝ่ายวิญญาณคือการหัวเราะจนคุมไม่อยู่ และส่งเสียงเหมือนไก่ เขาสนใจในวัตถุทางโลก  พวกนี้มีมุมมองชีวิตแบบ ที่นี่ - เดี๋ยวนี้ “ เป็นพระแห่งอัตตา ( ตนเอง )  และเพศ ” “ อย่าใช้ความคิดแล้วคุณจะรู้สึกดี !”
184-185 สังเคราะห์เนื้อหา 2   ความถ่อมใจ 1  ยินดี 3   การปกป้อง 4   สันติสุข ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
185-186 ก โครงเรื่อง ( บทที่ 1)  เปาโลขอบคุณและอธิษฐานเพื่อพี่น้องชาวฟีลิปปีและยินดีเมื่อทราบว่าการถูกจำคุกของท่านเป็นเหตุให้พระกิตติคุณแพร่ขยายออกไป และหนุนใจพวกเขาให้เห็นว่าการต่อสู้กับผู้ที่ข่มเหงเพื่อพระคริสต์นั้นจะนำความยินดีมาสู่ชิวิตของเขาด้วยเช่นกัน ( บทที่ 2)  เปาโลยกตัวอย่างความถ่อมใจจากชีวิตของสี่บุคคล  ( พระคริสต์ ,  เปาโลเอง ,  ทิโมธี และเอปาโฟรดิทัส )  ในฐานะที่เป็นแบบอย่างแห่งทัศนคติของพระคริสต์ เพื่อขอร้องให้คริสตจักรมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันโดยทางความถ่อมใจของสมาชิกแต่ละคน ( บทที่ 3)  เปาโลขอให้คริสตจักรเอาอย่างท่านในการอยากเป็นเหมือนพระคริสต์แทนที่จะวางใจในคุณความดีของตนเองเพื่อพวกเขาจะได้ปกป้องตัวเองจากผู้สอนที่ยึดถือกฎบัญญัติและเสรีนิยมโดยการรักษาชีวิตที่สมดุลระหว่างบัญญัติกับเสรีภาพ ( บทที่ 4)  เปาโลย้ำว่าการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์นำสันติสุขกับพระเจ้าและกับมนุษย์ในทุกสถานการณ์เพื่อคริสตจักรจะได้พึ่งพาพระกำลังของพระคริสต์ในความเป็นหนึ่งและในการร่วมต่อสู้ในคริสตจักร
186 ฎ เลียนแบบพระคริสต์ ในการยินดีในความทุกข์   (1 เธสะโลนิกา   1:6) ในพระลักษณะ   ( โรม   8:29) ในการเติบโตเป็นผู้ใหญ่   ( เอเฟซัส   4:13)  ในความอดทน   (1 ทิโมธี   1:16)  ในความบริบูรณ์   ( โคโลสี  1:28;   มัทธิว  6:33) ในการยอมต่อความทุกข์ที่ไม่เป็นธรรม   (1 เปโตร   2:21)  ในทุกสิ่ง   ( ยอห์น   3:30)

More Related Content

Viewers also liked (20)

Project6[8][1]
Project6[8][1]Project6[8][1]
Project6[8][1]
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
Very nbsp
Very nbspVery nbsp
Very nbsp
 
K3
K3K3
K3
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
Build your brand on linkedin
Build your brand on linkedinBuild your brand on linkedin
Build your brand on linkedin
 
Selva
SelvaSelva
Selva
 
Alt Urgell
Alt UrgellAlt Urgell
Alt Urgell
 
Conca de Barberà
Conca de BarberàConca de Barberà
Conca de Barberà
 
Alt penedes
Alt penedesAlt penedes
Alt penedes
 
Business Profile
Business ProfileBusiness Profile
Business Profile
 
Introdução ao Domain-Driven Design
Introdução ao Domain-Driven DesignIntrodução ao Domain-Driven Design
Introdução ao Domain-Driven Design
 
18eldondeprofecia 110724213712-phpapp01
18eldondeprofecia 110724213712-phpapp0118eldondeprofecia 110724213712-phpapp01
18eldondeprofecia 110724213712-phpapp01
 
6b tercero
6b tercero6b tercero
6b tercero
 
Normas iso 27000
Normas iso 27000Normas iso 27000
Normas iso 27000
 
Manualterceirosetor
ManualterceirosetorManualterceirosetor
Manualterceirosetor
 
Classe de palavras exercícios
Classe de palavras   exercíciosClasse de palavras   exercícios
Classe de palavras exercícios
 
Frei luís de sousa
Frei luís de sousaFrei luís de sousa
Frei luís de sousa
 
Presentación proyecto
Presentación proyectoPresentación proyecto
Presentación proyecto
 

Similar to 11 philippians-32-thai-3

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
พระเจ้าเป็นอย่างไร
พระเจ้าเป็นอย่างไรพระเจ้าเป็นอย่างไร
พระเจ้าเป็นอย่างไรmirindalee_1970
 
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar to 11 philippians-32-thai-3 (20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
พระเจ้าเป็นอย่างไร
พระเจ้าเป็นอย่างไรพระเจ้าเป็นอย่างไร
พระเจ้าเป็นอย่างไร
 
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
 
สังคมศึกษาศาสนพิธี
สังคมศึกษาศาสนพิธีสังคมศึกษาศาสนพิธี
สังคมศึกษาศาสนพิธี
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 

11 philippians-32-thai-3

  • 1.
  • 2. โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด โอ้ข้ารักจะร้องเพลงสรรเสริญ พระเยซูทรงอยู่ภายใน ข้ายินดีพระองค์ช่วยให้รอด ทรงจากสวรรค์สู่โลกา สำแดง หนทาง จากโลกาสู่กางเขน ชำระ ความบาป จากกางเขนสู่อุโมงค์ จากอุโมงค์สู่สวรรค์ โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด ( ซ้ำ )
  • 3. ทรงจากสวรรค์สู่โลกา สำแดง หนทาง จากโลกาสู่กางเขน ชำระ ความบาป จากกางเขนสู่อุโมงค์ จากอุโมงค์สู่สวรรค์ โอ้ข้ายกพระนามสูงสุด ( ซ้ำ )
  • 4.
  • 5. 181 ฟีลิปปี   ผลแห่งการเลียนแบบพระคริสต์ ยินดี   ถ่อมใจ   การปกป้อง   สันติสุข   บทที่ 1   บทที่ 2 บทที่ 3   บทที่ 4   ยินดี (5x)   ยินดี (7x)   ยินดี (1x)   ยินดี (4x)   ทัศนคติ (1x) ทัศนคติ (7x)   ทัศนคติ (8x)   ทัศนคติ (4x)   การทนทุกข์   การยอมจำนน   ความรอด   การชำระให้บริสุทธิ์ คำทักทาย 1:1-2   คำขอบคุณและคำอธิษฐาน 1:3-11 พันธกิจในคุก 1:12-30   ขอร้อง 2:1-4   ตัวอย่าง 2:5-30   จากพวกถือกฎ 3:1-16 จากพวกปล่อยตัว 3:17-21 กับผู้คน 4:1-3   กับพระเจ้า 4:4-9 เสมอๆ 4:10-20 ทักทาย 4:21-23   โรม   ต้นฤดูหนาว ปีค . ศ . 62 ( ช่วงติดคุกในกรุงโรมครั้งแรก )
  • 6. 181 ฟีลิปปี คำสำคัญ ทัศนคติ ข้อพระคัมภีร์สำคัญ “ ท่านจงมีน้ำใจต่อกันเหมือนอย่างที่มีใน พระเยซูคริสต์ ” ( ฟีลิปปี 2:5)
  • 7. 181 ฟีลิปปี เนื้อหาหลัก อ . เปาโลขอร้องผู้เชื่อชาวฟีลิปปี ให้เลียนแบบทัศนคติของพระเยซูคริสต์ ซึ่งจะทำให้มีประสบการ์แห่งความชื่นชมยินดี ความถ่อมใจ และสันติสุข เพื่อที่จะได้รับการปกป้องจาก ผู้สอนผิด และ การแตกแยก ในคริสตจักร การประยุกต์ใช้ เราจะสำแดงทัศนคติอย่างพระคริสต์ท่ามกลางความทุกข์ยากได้อย่างไร ?
  • 8. 182 ผู้เขียน หลักฐานภายนอก นักวิชาการพระคัมภีร์ที่น่าเชื่อถือเกือบทั้งหมดเชื่อว่าเปาโลเป็นผู้เขียนพระธรรมฟีลิปปี ยกเว้นเอฟ . เบาเออร์ นักวิจารณ์หัวรุนแรง ชาวเยอรมัน สมัยศตวรรษที่ 19 หลักฐานภายใน ในจดหมายอ้างถึงเปาโลว่าเป็นผู้เขียน (1:1). ทั้งยังย้ำถึงเพื่อนร่วมงานคือ ทิโมธี (1:1; กิจการ 16) และคำชี้แจงของผู้เขียนเองในจดหมาย (3:4-6)
  • 10.
  • 11. โรม ฟีลิปปี เปาโลเขียนจดหมายฟีลิปปี ในช่วงสุดท้ายของการถูกจำคุกที่กรุงโรมครั้งที่ 1 ในปีค . ศ . 62 ก่อนหน้านี้ท่านเขียนจดหมายฝากจากในคุกฉบับอื่น คือ เอเฟซัส โคโลสี และ ฟีเลโมน สถานที่และวันเวลาที่เขียน
  • 12.
  • 13. 182 ลักษณะพิเศษ จดหมายฟีลิปปี ไม่ใช่ข้อเขียนเชิงศาสนศาสตร์เกี่ยวกับหลักข้อเชื่อ แต่เป็นจดหมายที่บรรยายถึงพระลักษณะของพระเยซูคริสต์ที่สำคัญที่สุดในจดหมายฝาก (2:5-11) เพื่อเป็นแบบอย่างแห่งความถ่อมใจ จดหมายตอนนี้เรียกว่า “เคโนซีส” เนื่องจากเนื้อหา กล่าวถึง การที่พระคริสต์สละสิทธิแห่งการเป็นพระเจ้า ( ไม่ใช่สละสภาวะการเป็นพระเจ้า ) ภายใน 7 ข้อนี้ได้สอนความล้ำลึกเกี่ยวกับการทรงสถิตอยู่ก่อนของพระองค์ การเสด็จลงมาบังเกิด การถ่อมใจ และ การเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ถึงแม้ว่าประเด็นเรื่องผู้เขียนไม่ค่อยมีการโต้แย้งมากแต่กลับมีการโต้แย้งเรื่องเอกภาพของเนื้อหา โดยเฉพาะ เรื่อง 1) การเปลี่ยนน้ำเสียงจากความรักเป็นการตักเตือน และจากการเป็นเพื่อนร่วมงานเป็นการอ้างถึงสิทธิอำนาจ และ 2) ตอนที่เป็นบทกวี ( ร้อยกรอง ) ที่แทรกระหว่างบทความ ( ร้อยแก้ว ) (2:6-11).
  • 14. หัวข้อหลัก 183-184 การดำเนินชีวิตคริสเตียน การอภิบาล ชื่นชมยินดี พระคริสต์
  • 15. พระคริสต์เป็นใจความสำคัญของพระธรรมฟีลิปปี 183 พระลักษณะ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 เป็นพระเจ้า   2:6     สูงสุด ( เจ้านาย ) 1:2, 20 2:9-11 3:20-21   กลับมาด้วยฤทธานุภาพ 1:6, 10 2:10, 16 3:20-21 4:5 ถวายบูชา ( ไม้กางเขน ) 1:29 2:8 3:18   ช่วยให้รอด   3:20   สง่าราศี ( การเป็นขึ้นจากความตาย )     3:10, 21   บังเกิด ( มนุษย์ )   2:6-8     ถ่อมใจ   2:6-8     เชื่อฟัง   2:8     ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ( ผู้รับใช้ )   2:6, 21     มีแผนในพันธกิจ   2:21, 30     จัดเตรียมแก่ผู้ขัดสน       4:19 ผู้ช่วย ( โดยพระวิญญาณ ) 1:19       ตอบคำอธิษฐาน 1:19       ประทานความเชื่อ 1:29       มอบสิทธิพิเศษในการรับใช้ 1:1, 14-18, 22       ให้ความสามารถเพื่อจะถวายเกียรติ     3:3  
  • 16. 183 4:4, 10-13 พระคริสต์เป็นใจความสำคัญของพระธรรมฟีลิปปี พระลักษณะ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 ให้ความรักแก่ผู้อื่น 1:8 2:29     ให้ความชอบธรรม ( ธรรมิกชน ) 1:1, 10-11   3:9 4:21 ให้การหนุนใจ   2:19     ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระองค์เอง     3:8, 10   ถวายเกียรติแด่พระเจ้า 1:11       ให้พระคุณ 1:2     4:23 ให้การปลอบประโลมใจแก่เรา   2:1     ให้การปลอบประโลมใจแก่ผู้อื่น   2:1     ให้เป้าหมายในการรับใช้   2:16     ให้ชีวิต 1:21       ให้ความสามารถในการทำทุกสิ่ง       4:13 ให้ความยินดี ( ในสิ่งที่มี ) 1:18, 26 2:29 3:1 ให้ความมั่นใจ ( ในจุดยืน ) 1:13-14 2:19, 24   4:1, 19 ให้สันติสุข 1:2   4:2, 7 ให้การทนทุกข์ 1:13, 29   3:10   ให้บำเหน็จ 1:21, 23   3:7-8, 14   ให้ความถ่อมใจ   2:5     ให้ความเป็นหนึ่ง 1:15-17 2:1-2   4:21-22 ให้กายใหม่ ( การเป็นขึ้น )     3:11, 21   ให้ลักษณะของพระคริสต์ 1:20, 27 2:5 3:10-14  
  • 17. หัวข้อหลัก 183-184 การดำเนินชีวิตคริสเตียน การอภิบาล ชื่นชมยินดี พระคริสต์ เป้าหมายอื่นๆ เลียนแบบทัศนคติ ของพระคริสต์
  • 18. 184-185 สังเคราะห์เนื้อหา 1 ยินดี ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
  • 19. ความสุข กับ ความยินดี ความยินดี 186 ค ความสุข Joy ภายนอก ภายใน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ การแสดงความตั้งใจ การมีสิ่งที่ตนต้องการ การต้องการสิ่งที่ตนมี ดีใจ พึงพอใจ ผล เหตุ ผลลัพธ์ รากฐาน ไม่สม่ำเสมอ สม่ำเสมอ ชั่วคราว นิรันดร์
  • 20. 184-185 2 ถ่อมใจ 1 ยินดี สังเคราะห์เนื้อหา ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
  • 21. 186 ง การสัมพันธ์กับผู้อื่น ( ฟีลิปปี 2:1-4 )   เห็นแก่ตัว   ไม่เห็นแก่ตัว   ก่อให้เกิดการบ่น (2:14)   ก่อให้เกิดความยินดี (2:2 ก ) นำไปสู่การแตกแยก (4:2) นำไปสู่การเป็นหนึ่ง (2:2b) หยิ่ง (2:3 ก ) ถ่อมใจ (2:3 ข ) ถือว่าตนดีกว่าคนอื่น (2:3 ก ) ถือว่าคนอื่นดีกว่าตน (2:3 ข ) หาประโยชน์แก่ตน (2:4 ก ) หาประโยชน์แก่ผู้อื่น (2:4 ข ) เป็นอย่างซาตาน เป็นอย่างพระคริสต์ (2:5)
  • 22. 186 Philippians 2:6-11 ฟีลิปปี 2:6 - 11 — ตัดสินใจสละสิทธิความเป็นพระเจ้า — ดำรงอยู่ในสภาพพระเจ้า — สละสิทธิการเท่าเทียมกับพระเจ้า — ยอมรับสภาพทาสโดยบังเกิดเป็นมนุษย์ — ยอมเชื่อฟังจนถึงความมรณา — มรณาที่กางเขน พระคริสต์ สง่าราศี สง่าราศี 2:6 - 8 ความถ่อมใจ 2: 9 - 11 การยกชูขึ้น ความเป็นพระเจ้า จะได้รับการยอมรับ
  • 23. 186 จ ผลแห่งการมีทัศนคติที่ไม่ดี ฟีลิปปี 2:14-16 คนที่ลงทุนในชีวิตเราจะเริ่มคิดว่าเขาน่าจะไปลงทุนชีวิตกับคนอื่นแทนดีกว่า ถ้าเราบ่นและทุ่มเถียง เราจะไม่เป็นคนปราศจากตำหนิและไม่เป็นฝ่ายถูก เราจะไม่มีอิทธิพลในแง่บวกต่อผู้อื่น
  • 24. 186 ฉ ผลแห่งการมีทัศนคติที่ดี ฟีลิปปี 2:14-16 คนที่ลงทุนชีวิตจะเห็นผลและภูมิใจในสิ่งที่ลงทุนลงแรงไป เราจะบริสุทธิ์ ปราศจากความผิด ไม่ถูกตำหนิ เป็นบุตรของพระเจ้า ถ้าเราทำทุกสิ่งโดยปราศจากการบ่นและทุ่มถียงกัน เราจะส่องสว่างดังแสงในจักรวาล
  • 25. 184-185 2 ความถ่อมใจ 1 ยินดี 3 การปกป้อง สังเคราะห์เนื้อหา ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
  • 26. 186 ฉ ความสมดุลในชีวิตคริสเตียน   ฟีลิปปี 3:1-3   ฟีลิปปี 3:4-16   ฟีลิปปี 3:17-20 ถือกฎ = กฎเท่านั้น เกณฑ์และเสรีภาพ เสรี = ไม่มีกฎ มีกฎมากมาย กฎของพระคัมภีร์เท่านั้น เสรีในการทำทุกสิ่ง การกระทำสำคัญที่สุด การกระทำสำคัญ การกระทำไม่สำคัญ โครงสร้างซับซ้อน มีโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง เป็นอย่างฟาริสี เป็นอย่างพระคริสต์ เป็นอย่างคนตะกละ ธรรมเนียมปฏิบัติ คือ “พระเจ้า” พระคริสต์ คือพระเจ้า ปากท้องคือ พระเจ้า ปฏิเสธเนื้อหนัง ควบคุมเนื้อหนัง บำเรอเนื้อหนัง ความสมบูรณ์แบบ อยู่ในกระบวนการ (3:12-13) แล้วแต่เวรกรรม คิดว่ามาถึงแล้ว รู้ว่ายังไม่ถึง ไม่ใส่ใจ มั่นใจในเนื้อหนัง (3:3) มั่นใจในพระคริสต์ (3:7) มั่นใจในสิ่งน่าละอาย (3:19 ค ) ชอบธรรมโดยกฎบัญญัติ (3:9 ก ) ชอบธรรมโดยความเชื่อ (3:9 ข ) ไม่แสวงหาความชอบธรรม (3:19 ง ) ห้ามดูหนัง ดูหนังที่เป็นประโยชน์ ดูหนังทุกประเภท ห้ามดูรายการโทรทัศน์ ดูรายการที่เป็นประโยชน์ ดูรายการโทรทัศน์ทุกประเภท ห้ามฟังเพลง ฟังดนตรีที่เป็นประโยชน์ ฟังเพลงทุกประเภท ไม่ดื่มเหล้า / ไวน์ เนื่องจากกฎ ไม่ดื่ม / ยับยั้ง / ควบคุม ดื่มจนเมามาย ไม่กินอาหารมลทิน ควบคุมอย่างเหมาะสม ตระกละตระกราม ถือ “สะบาโตคริสเตียน” พักผ่อน ปล่อยตัวตามใจ ห้ามแต่งงาน เป็นโสดเพื่อรับใช้ ปล่อยตัว / ผิดประเวณี ความสมดุล   พวกถือกฎ   เสรีนิยม เราอาจสูญเสียความรอดได้ ความรอดมั่นคงนิรันดร์ เราไม่สามารถรอดได้
  • 27. 186 ช เชื้อตระกูลของเปาโล ( ฟีลิปปี 3:4-6)   เข้าสุหนัตในวันที่แปด   สัญลักษณ์แห่งเข้าส่วนในพันธสัญญาที่พระเจ้ามีต่ออับราฮัมแยกเปาโลจากคนต่างชาติและเปาโลทำพิธีนี้ตามวันที่กำหนดในพระคัมภีร์พันธสัญญาเดิม ( ปฐมกาล 17:11-12) เป็นประชากรแห่งอิสราเอล เปาโลเป็นคนเชื้อสายอิสราเอลแท้ ชนชาติที่พระเจ้าเลือกสรรไว้ ไ ( ไม่ใช่คนที่เปลี่ยนศาสนามาเป็นยิวซึ่งถือเป็นกลุ่มคนชั้นสอง ) อยู่ในเผ่าเบนยามิน เผ่านี้เป็นเผ่าที่เล็กที่สุดเผ่าหนึ่งแต่อวดได้ว่ามีกษัตริย์องค์แรกของอิสราเอล ( ซาอูล ) เปาโลไม่ได้มาจากเผ่าที่ไม่มีชื่อเสียงเช่นดานหรือรูเบน เป็นชาวฮีบรูขนานแท้ เปาโลไม่ได้รับธรรมเนียมกรีกแม้ว่าตัวเขาเองเติบโตในเมืองของชาวกรีก ( ทาร์ซัส ) ในด้านบัญญัติ : อยู่ในคณะฟาริสี คณะนี้เคร่งครัดในกฎบัญญัติของโมเสสยิ่งกว่าคณะอื่นๆในสังคม ในด้านความกระตือรือร้น : ข่มเหงคริสตจักร พวกฟาริสีส่วนมากไม่ได้กระตือรือร้นที่จะกำจัดพวกที่เชื่อในพระเยซู ในด้านความชอบธรรมโดยบัญญัติ : ไม่มีที่ติ เปาโลรักษาบัญญัติ 613 ข้อของฟาริสีโดยไม่มีข้อยกเว้น
  • 28.
  • 29. 186 ญ การล่วงล้ำสมัยใหม่ ฟีลิปปี 3:18-19 พระคัมภีร์   การตีความหมาย   ลัทธิมอร์มอน   ลัทธิโฮลี่ ลาฟเตอร์ ประพฤติตัวเป็นเป็นศัตรูต่อกางเขน พวกนี้ต่อต้านความรอดโดยความเชื่อ ความรอดโดยการกระทำ ไม่สอนเรื่องพระคริสต์ ปลายทางของคนเหล่านั้นคือความพินาศ พวกนี้ไม่ได้รับความรอด อ้างว่าได้รับความรอดแต่แท้จริงช่วยตัวเองให้รอดไม่ได้ อ้างว่าเป็นคริสเตียน แต่ทำไมไม่สอนเรื่องพระคริสต์ ? พระของเขาคือกระเพาะ เป้าหมายชีวิตคือความพึงพอใจ เป้าหมายคือการเป็นพระเพื่อที่จะมีเพศสัมพันธ์กับพระเพศหญิงได้มากเท่าที่ต้องการ เป้าหมายคือการมีความรู้สึกดีๆ เขายกความที่น่าอับอายของเขาขึ้นมาโอ้อวด พวกนี้ภูมิใจในสิ่งที่น่าละอาย วิหารที่มีสามีภรรยาได้หลายๆคน เป็นเป้าหมายสูงสุด ความสูงส่งฝ่ายวิญญาณคือการหัวเราะจนคุมไม่อยู่ และส่งเสียงเหมือนไก่ เขาสนใจในวัตถุทางโลก พวกนี้มีมุมมองชีวิตแบบ ที่นี่ - เดี๋ยวนี้ “ เป็นพระแห่งอัตตา ( ตนเอง ) และเพศ ” “ อย่าใช้ความคิดแล้วคุณจะรู้สึกดี !”
  • 30. 184-185 สังเคราะห์เนื้อหา 2 ความถ่อมใจ 1 ยินดี 3 การปกป้อง 4 สันติสุข ผลจากการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์
  • 31. 185-186 ก โครงเรื่อง ( บทที่ 1) เปาโลขอบคุณและอธิษฐานเพื่อพี่น้องชาวฟีลิปปีและยินดีเมื่อทราบว่าการถูกจำคุกของท่านเป็นเหตุให้พระกิตติคุณแพร่ขยายออกไป และหนุนใจพวกเขาให้เห็นว่าการต่อสู้กับผู้ที่ข่มเหงเพื่อพระคริสต์นั้นจะนำความยินดีมาสู่ชิวิตของเขาด้วยเช่นกัน ( บทที่ 2) เปาโลยกตัวอย่างความถ่อมใจจากชีวิตของสี่บุคคล ( พระคริสต์ , เปาโลเอง , ทิโมธี และเอปาโฟรดิทัส ) ในฐานะที่เป็นแบบอย่างแห่งทัศนคติของพระคริสต์ เพื่อขอร้องให้คริสตจักรมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันโดยทางความถ่อมใจของสมาชิกแต่ละคน ( บทที่ 3) เปาโลขอให้คริสตจักรเอาอย่างท่านในการอยากเป็นเหมือนพระคริสต์แทนที่จะวางใจในคุณความดีของตนเองเพื่อพวกเขาจะได้ปกป้องตัวเองจากผู้สอนที่ยึดถือกฎบัญญัติและเสรีนิยมโดยการรักษาชีวิตที่สมดุลระหว่างบัญญัติกับเสรีภาพ ( บทที่ 4) เปาโลย้ำว่าการมีทัศนคติอย่างพระคริสต์นำสันติสุขกับพระเจ้าและกับมนุษย์ในทุกสถานการณ์เพื่อคริสตจักรจะได้พึ่งพาพระกำลังของพระคริสต์ในความเป็นหนึ่งและในการร่วมต่อสู้ในคริสตจักร
  • 32. 186 ฎ เลียนแบบพระคริสต์ ในการยินดีในความทุกข์ (1 เธสะโลนิกา 1:6) ในพระลักษณะ ( โรม 8:29) ในการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ( เอเฟซัส 4:13) ในความอดทน (1 ทิโมธี 1:16) ในความบริบูรณ์ ( โคโลสี 1:28; มัทธิว 6:33) ในการยอมต่อความทุกข์ที่ไม่เป็นธรรม (1 เปโตร 2:21) ในทุกสิ่ง ( ยอห์น 3:30)