SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
นางสาวชลธิชา มายอด 565050039-9
นางสาวนิโลบล มีชัย 565050042-0
นางสาวอุทัยวรรณ นิสสัยกลา 565050051-9
นางสาวพิมลวรรณ รมวาป 565050046-2
1. ต้องศึกษาทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมเพื่อเลือกวิธีที่จะนํามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่
ตอบ :ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่จะนํามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่ ในสถานการณ์นี้คือ พฤติกรรมเรสปอน
เดนส์ (Respondent Behavior) ซึ่งหมายถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น
ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ และ ทฤษฎีที่นํามาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
แบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ
2. ต้องอธิบายหลักการที่ท่านเลือกและนํามาใช้ในการวางเงื่อนไขกับไก่ได้อย่างไร อธิบายเหตุผล
ตอบ : ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ มีหลักการดังนี้การวาง
เงื่อนไขแบบคลาสสิค = สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้สามารถนํามาใช้ในการวางเงื่อนไขกับ
ไก่ ได้ โดย การให้สิ่งเร้าคือเสียงเคาะไม้ไผ่ เพื่อทําให้ไก่มี พฤติกรรมตอบสนองที่ต้องการคือไก่มากินอาหารในเวลาที่
กําหนด ทําให้ปอยฝ้ ายไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองแต่ทําได้โดยการให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอก
เวลาให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มีเสียงเคาะไม้ไผ่ไก่ก็จะมากินอาหาร
ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
3. วิเคราะห์หลักการที่เลือกเพื่อหาข้อดี-ข้อจํากัด พร้อมแสดงเหตุผล
ตอบ ข้อดีของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ คือ
1. ทําให้ไก่มีพฤติกรรมการตอบสนองต่อการวางเงื่อนไขเพื่อตอบสนองต่อความหิวได้โดยใช้เวลาระยะสั้นๆ เช่น
ปอยฝ้ ายไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองแต่ให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอกเวลาให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มี
เสียงเคาะไม้ไผ่ไก่ก็จะตอบสนองต่อเสียงไม้ไผ่โดยการวิ่งมากินอาหาร
ข้อจํากัดของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ คือถ้ามี
การเคาะไม้ไผ่หลายๆครั้ง แต่ไม่มีการให้อาหารไก่ ไก่ก็จะลดอาการตอบสนองและไม่สนใจเสียงเคาะไม้ไผ่ในที่สุดทําให้วิธี
นี้ใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป
ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
4. แสดงขั้นตอนวิธีการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ตามหลักการที่ท่าน
ตอบ ขั้นตอนวิธีการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ตามหลักการทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ
1. ทดลองเคาะไม้ไผ่ให้สัญญาณไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่ยังไม่สนใจเสียงดังกล่าว
2. ทดลองให้อาหารไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่จะวิ่งมากินอาหารที่ให้
3.ครั้งต่อมาทดลองเคาะไม้ไผ่ พร้อมกับให้อาหารไก่ทันทีอย่างต่อเนื่องกับเสียง ผลที่เกิดขึ้นไก่มากินอาหารทันทีทําซํ้า
ตามวิธีข้างต้นซํ้าๆกันหลายๆวัน
4. ทดลองเคาะไม้ไผ่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงไม้ไผ่ ไก่ก็จะมารอกินอาหารตามเสียงสัญญาณทันที ปอยฝ้ ายจึงไม่ต้องมาให้
อาหารไก่ด้วยตนเองในวันที่มีภารกิจมาก เพียงแต่ให้คนงานมาเคาะไม้ไผ่เรียกไก่มากินอาหารแทน
ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
สามารถอธิบายดังแผนผังต่อไปนี้
ก่อนการวางเงื่อนไข
เสียงเคาะไม้ไผ่ -> ไก่ไม่เกิดการตอบสนองใดๆ
สิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข UCS(อาหาร) -> การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข UCR (ไก่
หิวอาหาร)
หลังการวางเงื่อนไข
สิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข UCS(อาหาร) -> การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข UCR
(ไก่หิวอาหาร)
สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข CS (เสียงเคาะไม้ไผ่) -> การตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข CR (ไก่หิว
อาหาร)
ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
ภารกิจที่ 2 น้องหนูขี้กลัว
1. หาวิธีการที่จะช่วยให้เด็กหายจากอาการกลัวการไปโรงเรียน
ควรสร้างให้สิ่งแวดล้อมรอบข้างอยู่ในสภาพที่ผ่อนคลาย ปัญหาจาการที่เด็กไม่ยอมไปโรงเรียน
อาจเกิดจากการยังกลัวกับสภาพการณ์ที่แตกต่างดังนั้นผู้ปกครอง หรือครูควรสร้างภาพแห่งการ
ปฏิสัมพันธ์ไปในทิศทางที่เป็นให้เห็นว่าไม่น่ากลัวอย่างที่คิด
2. วิเคราะห์และเลือกทฤษฎี ที่จะนํามาใช้ในการแก้ปัญหาและอธิบายรายละเอียดหลักการให้เข้าใจ
การใช้สิ่งเร้าสองสิ่งมาคู่กันคือสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) กับสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCR) แล้วทํา
ให้เกิดการตอบสนองอย่างเดียวกันใช้คนในการทดลองซึ่งมักจะมีอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้องและ
อารมณ์ของมนุษย์ติดตัวมาตั้งแต่กําเกิดเช่น อารมณ์รัก ไม่พอใจและกลัว
3. เหตุผลในการเลือกทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสัน
เนื่องจากการที่เด็กไม่ยอมไปโรงเรียนนั้นเกิดจากสภาพทางด้านอารมณ์และความรู้สึก ที่ไม่
คุ้นเคยของเด็ก ซึ่งขณะที่อยู่ที่บ้านกับที่โรงเรียนจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน
ดังนั้นจึงอาศัยหลักการของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสันเข้าช่วยเนื่องจาก
เกี่ยวเนื่องกับลักษณะอารมณ์ภายในของมนุษย์ซึ่งจะต้องสร้างให้เกิดความคุ้นเคยเป็นไปใน
ทางบวกและเมื่อมีพฤติกรรมทางบวกบ่อยๆ ครั้ง ก็จะเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ในทิศทางที่ดีแทน
ความกลัวอย่างถาวรได้
ภารกิจที่ 2 น้องหนูขี้กลัว
4. เลือกนําหลักการทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสันมาใช้
ในสถานการณ์นี้จะมีเหตุผลทางด้านอารมณ์ที่เกิดขี้นกับเด็กดังนั้นจึงอาจให้ผู้ปกครองเป็น
ผู้สร้างปฏิสัมพันธ์ในทางบวกโดยการสร้างความสนิทสนมกับครูและเพื่อนร่วมชั้นให้เห็นว่าไม่มี
ความน่ากลัวอย่างที่คิดพูดคุยให้เห็นเป็นตัวอย่างที่ดี และเด็กจะเรียนรู้พฤติกรรมที่เกิดขึ้นว่าอยู่ใน
ลักษณะที่ดี อยากมาโรงเรียนเพราะไม่มีความน่ากลัวอย่างที่คิด
ภารกิจที่ 2 น้องหนูขี้กลัว
ภารกิจที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่
1. ให้อธิบายหลักการที่ท่านคิดว่าจะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาจากสถานการณ์นี้ว่ามีพื้นฐาน มา
จากหลักการใดในทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ตอบ หลักการทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ มีแนวคิดคือ พฤติกรรมของมนุษย์เป็น
พฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองและจําเป็นต้องมีการเสริมแรงซึ่งการ
เสริมแรงนี้มีทั้งการเสริมแรงทางบวกและทางลบ การกระทําใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะ
เกิดขึ้นอีก
ส่วนการกระทําใดไม่มีการเสริมแรง การกระทํานั้นก็จะค่อยๆ ทําให้ค่อยๆปรับพฤติกรรม
2 จงวิเคราะห์ว่า สถานการณ์ที่ท่านอ่านนี้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีใดในกลุ่มพฤติกรรมนิยม อธิบายพร้อมทั้งให้
เหตุผลประกอบมาให้ชัดเจน
ตอบ อยู่ในขอบข่ายทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ เพราะ ครูต้องการให้
กลุ่มผู้เรียน 6 เปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น โดยกระตุ้นเสริมแรงให้กลุ่มผู้เรียน 6 คน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
และลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมนั้นอย่างถาวร โดยครูใหญ่ได้ใช้หลักการเสริมแรงตาม
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ (Operant Conditioning)ทําให้เกิดการเรียนรู้จากการลงมือ
กระทําและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทําให้เกิดพฤติกรรมการนนั้นซํ้าอีกจนค่อยๆหายไป
ภารกิจที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่
3. สมมติว่าท่านเป็นครูใหญ่ ท่านจะใช้หลักในทฤษฎีพฤติกรรมนิยมใด มาใช้ในการแก้ปัญหา อธิบายพร้อมทั้ง
ยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ หลักสําคัญของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทําของสกินเนอร์ คือ เราสามารถควบคุมการ
ตอบสนองได้ด้วยวิธีการเสริมแรง เราจะให้การเสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนองที่ต้องการ เพื่อให้กลายเป็น
นิสัยติดตัวต่อไป และลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์ให้หายไป ตัวอย่างเช่น เด็กชายคนหนึ่งมีพฤติกรรมคือ ไม่
สนใจการเรียน ชอบแกล้งเพื่อน คุณครูต้องการต้องแก้ไขพฤติกรรม โดยให้เด็กชายคนนี้แยกออกมาจาก
เพื่อน มานั่งใกล้ครู เพราะครูจะได้สังเกตพฤติกรรม ครูจะใช้งานที่เขาสามารถทําได้ เช่น เดินหนังสือ ช่วย
หยิบของ ขณะเดียวกันครูก็จะสร้างความคุ้นเคย ไม่ดุด่าว่ากล่าวแรงๆ ให้กําลังใจ เมื่อเขาช่วยเหลืองาน
สําเร็จ ครูก็ให้คําชม และพฤติกรรมดีขึ้นเรื่อยๆ ก็ให้เด็กชายคนนี้กลับไปนั่งที่เดิม และครูค่อยเสริมแรงอยู่
เสมอ
ภารกิจที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่
ภารกิจที่ 4 ทําความสะอาด
1. จงวิเคราะห์ว่า สถานการณ์ที่ท่านอ่านนี้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีใดในกลุ่มพฤติกรรมนิยม อธิบายพร้อม
ทั้งให้เหตุผลประกอบมาให้ชัดเจน
ตอบ สถานการณ์นี้อยู่ในขอบข่ายทฤษฎีการเชื่อมโยง(ClassicalConnectionism) ของธอร์นไดค์
(Thorndike) เพราะว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ
บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึง
พอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการเรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและ
จะพยายามใช้รูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จาก การทําความสะอาด
รอบแรกของนักเรียนโดยที่นักเรียนไม่ได้วางแผนแล้วการทําความสะอาดห้องเรียนนั้น ไม่สะอาด และครั้งที่
สองนักเรียนมีการวางแผงทําข้อตกลง จนห้องเรียนนั้นสะอาดและก็ทํามันเวลา
2. ให้วิเคราะห์ว่าทฤษฎีที่เลือกมีข้อดี ข้อจํากัด อย่างไร และมีแนวทางในการนําทฤษฎีดังกล่าวไปใช้ในการ
เรียนการสอนอย่างไร อธิบายพร้อมแสดงเหตุผล
ตอบ ข้อดี นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง สามารถนําปัญหาที่ได้จากการพบ
เจอ ประสบ มาแก้ไขปัญหา ปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม
แนวทางในการนําทฤษฎีการเชื่อมโยงไปใช้ในการเรียนการสอน ดังนี้
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการ
แก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจําผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทําสิ่งต่าง ๆ ด้วย
ตนเอง และผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและ
สมํ่าเสมอ เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนําการเรียนรู้นั้นไปใช้และได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะ
ช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสําเร็จ
ภารกิจที่ 4 ทําความสะอาด
ภารกิจที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซํ้า
1. อธิบายพร้อมทั้งประยุกต์หลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่นํามาใช้ในการออกแบบการ สอน
และสื่อการเรียนการสอน เพื่อใช้ในการแก้ไขสถานการณ์ข้างต้น
ตอบ ครูผู้สอนเมื่อรู้ว่าผู้เรียนไม่ชอบหรือมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เราสอนอยู่ก็ควรวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุ
มาจากอะไร อะไรคือสิ่งเร้าที่ที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นแล้วพยายามไม่ให้สิ่งเร้าที่ผู้เรียนไม่ชอบนั้น
เกิดขึ้น ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องทําการเรียนการสอนวิชานี้ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนานและเปิดโอกาสให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อศิษย์ให้โอกาสและรับฟัง
ความคิดเห็นของเขา คอยแนะนําในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ และครูผู้สอนควรกําหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน
ให้ชัดเจน แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆ ให้ผู้เรียนเรียนทีละหน่วย เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไปหา
ยาก นอกจากนี้ครูจะต้องดูความพร้อมของผู้เรียนว่ามีพื้นฐานในการเรียนเนื้อหานี้หรือยัง จัด
ประสบการณ์เนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนทําได้ดีและพอใจใน
ความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนถึงแม้อาจจะเป็นไปได้ช้า หลีกเลี่ยงการคุมชั้นเรียนโดยวิธีการ
ลงโทษ ซึ่งอาจจะทําให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหรือครูผู้สอนและเป็นอุปสรรคต่อการเรียน
2. จงวิเคราะห์หลักการจัดการเรียนรู้ตามแนวกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยมว่า มีความเหมาะสมหรือสอดคล้อง
กับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ อธิบายและให้เหตุผลประกอบ พร้อมทั้ง
บอกข้อดี-ข้อจํากัดและหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ยังสามารถนํามาใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ในปัจจุบันได้
ตอบ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในยุคปฏิรูปการ
เรียนรู้ เนื่องจากการเรียนตามแบบทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะนึกถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ความ
แตกต่างทางด้านอารมณ์ การตอบสนองที่ไม่เท่ากัน คํานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะ
สอนเนื้อหาอะไร โดยปกติครูสามารถทําให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการ
เรียน การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้ องกันไม่ให้
ผู้สอนทําโทษเขา
ภารกิจที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซํ้า
ข้อดี
สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนได้
มีการเสริมแรงโดยให้แรงเสริมเป็นการจูงใจให้ผู้เรียนสามารถมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป
ข้อจํากัด
เนื่องจากนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลการให้แรงเสริมกับแต่ละคนอาจส่งผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกไม่
เท่ากัน หรือ อาจใช้กับเฉพาะบางคนก็ได้
หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ยังสามารถนํามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันได้เช่น ทฤษฏีการวาง
เงื่อนไข ของ วัตตสัน นํามาใช้ในการแก้ปัญหาของการที่ผู้เรียนไม่กล้าถามครูหรือถามเพื่อนในชั้นเรียน รวมไปถึงการจัด
บรรยากาศในชั้นเรียนให้เด็กรู้สึกร่วมกับผู้อื่นเป็นกันเองและกล้าแสดงออก ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์
(Operant Conditioning)นํามาใช้ในการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ไม่พึง
ประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมที่คงทนซึ่งจําเป็นที่จะต้องได้รับการสริมแรงตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์
(Operant Conditioning) ที่จะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทําและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทําให้เกิดพฤติกรรมการนนั้นซํ้า
อีก
ภารกิจที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซํ้า
Thank you!

More Related Content

What's hot

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์Marinshy Marin
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือMamoss CM
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotWeerachai Jansook
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 

What's hot (20)

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Similar to Problem base

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้pimporn454
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfนิพ พิทา
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfนิพ พิทา
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 

Similar to Problem base (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎี
ทฤษฎีทฤษฎี
ทฤษฎี
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 

Problem base

  • 1. นางสาวชลธิชา มายอด 565050039-9 นางสาวนิโลบล มีชัย 565050042-0 นางสาวอุทัยวรรณ นิสสัยกลา 565050051-9 นางสาวพิมลวรรณ รมวาป 565050046-2
  • 2. 1. ต้องศึกษาทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมเพื่อเลือกวิธีที่จะนํามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่ ตอบ :ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่จะนํามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่ ในสถานการณ์นี้คือ พฤติกรรมเรสปอน เดนส์ (Respondent Behavior) ซึ่งหมายถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ และ ทฤษฎีที่นํามาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ 2. ต้องอธิบายหลักการที่ท่านเลือกและนํามาใช้ในการวางเงื่อนไขกับไก่ได้อย่างไร อธิบายเหตุผล ตอบ : ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ มีหลักการดังนี้การวาง เงื่อนไขแบบคลาสสิค = สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้สามารถนํามาใช้ในการวางเงื่อนไขกับ ไก่ ได้ โดย การให้สิ่งเร้าคือเสียงเคาะไม้ไผ่ เพื่อทําให้ไก่มี พฤติกรรมตอบสนองที่ต้องการคือไก่มากินอาหารในเวลาที่ กําหนด ทําให้ปอยฝ้ ายไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองแต่ทําได้โดยการให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอก เวลาให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มีเสียงเคาะไม้ไผ่ไก่ก็จะมากินอาหาร ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
  • 3. 3. วิเคราะห์หลักการที่เลือกเพื่อหาข้อดี-ข้อจํากัด พร้อมแสดงเหตุผล ตอบ ข้อดีของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ คือ 1. ทําให้ไก่มีพฤติกรรมการตอบสนองต่อการวางเงื่อนไขเพื่อตอบสนองต่อความหิวได้โดยใช้เวลาระยะสั้นๆ เช่น ปอยฝ้ ายไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองแต่ให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอกเวลาให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มี เสียงเคาะไม้ไผ่ไก่ก็จะตอบสนองต่อเสียงไม้ไผ่โดยการวิ่งมากินอาหาร ข้อจํากัดของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ คือถ้ามี การเคาะไม้ไผ่หลายๆครั้ง แต่ไม่มีการให้อาหารไก่ ไก่ก็จะลดอาการตอบสนองและไม่สนใจเสียงเคาะไม้ไผ่ในที่สุดทําให้วิธี นี้ใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
  • 4. 4. แสดงขั้นตอนวิธีการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ตามหลักการที่ท่าน ตอบ ขั้นตอนวิธีการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ตามหลักการทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ คลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาลอฟ 1. ทดลองเคาะไม้ไผ่ให้สัญญาณไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่ยังไม่สนใจเสียงดังกล่าว 2. ทดลองให้อาหารไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่จะวิ่งมากินอาหารที่ให้ 3.ครั้งต่อมาทดลองเคาะไม้ไผ่ พร้อมกับให้อาหารไก่ทันทีอย่างต่อเนื่องกับเสียง ผลที่เกิดขึ้นไก่มากินอาหารทันทีทําซํ้า ตามวิธีข้างต้นซํ้าๆกันหลายๆวัน 4. ทดลองเคาะไม้ไผ่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงไม้ไผ่ ไก่ก็จะมารอกินอาหารตามเสียงสัญญาณทันที ปอยฝ้ ายจึงไม่ต้องมาให้ อาหารไก่ด้วยตนเองในวันที่มีภารกิจมาก เพียงแต่ให้คนงานมาเคาะไม้ไผ่เรียกไก่มากินอาหารแทน ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
  • 5. สามารถอธิบายดังแผนผังต่อไปนี้ ก่อนการวางเงื่อนไข เสียงเคาะไม้ไผ่ -> ไก่ไม่เกิดการตอบสนองใดๆ สิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข UCS(อาหาร) -> การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข UCR (ไก่ หิวอาหาร) หลังการวางเงื่อนไข สิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข UCS(อาหาร) -> การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข UCR (ไก่หิวอาหาร) สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข CS (เสียงเคาะไม้ไผ่) -> การตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข CR (ไก่หิว อาหาร) ภารกิจที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
  • 6. ภารกิจที่ 2 น้องหนูขี้กลัว 1. หาวิธีการที่จะช่วยให้เด็กหายจากอาการกลัวการไปโรงเรียน ควรสร้างให้สิ่งแวดล้อมรอบข้างอยู่ในสภาพที่ผ่อนคลาย ปัญหาจาการที่เด็กไม่ยอมไปโรงเรียน อาจเกิดจากการยังกลัวกับสภาพการณ์ที่แตกต่างดังนั้นผู้ปกครอง หรือครูควรสร้างภาพแห่งการ ปฏิสัมพันธ์ไปในทิศทางที่เป็นให้เห็นว่าไม่น่ากลัวอย่างที่คิด 2. วิเคราะห์และเลือกทฤษฎี ที่จะนํามาใช้ในการแก้ปัญหาและอธิบายรายละเอียดหลักการให้เข้าใจ การใช้สิ่งเร้าสองสิ่งมาคู่กันคือสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) กับสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCR) แล้วทํา ให้เกิดการตอบสนองอย่างเดียวกันใช้คนในการทดลองซึ่งมักจะมีอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้องและ อารมณ์ของมนุษย์ติดตัวมาตั้งแต่กําเกิดเช่น อารมณ์รัก ไม่พอใจและกลัว
  • 7. 3. เหตุผลในการเลือกทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสัน เนื่องจากการที่เด็กไม่ยอมไปโรงเรียนนั้นเกิดจากสภาพทางด้านอารมณ์และความรู้สึก ที่ไม่ คุ้นเคยของเด็ก ซึ่งขณะที่อยู่ที่บ้านกับที่โรงเรียนจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงอาศัยหลักการของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสันเข้าช่วยเนื่องจาก เกี่ยวเนื่องกับลักษณะอารมณ์ภายในของมนุษย์ซึ่งจะต้องสร้างให้เกิดความคุ้นเคยเป็นไปใน ทางบวกและเมื่อมีพฤติกรรมทางบวกบ่อยๆ ครั้ง ก็จะเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ในทิศทางที่ดีแทน ความกลัวอย่างถาวรได้ ภารกิจที่ 2 น้องหนูขี้กลัว
  • 8. 4. เลือกนําหลักการทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของวัตสันมาใช้ ในสถานการณ์นี้จะมีเหตุผลทางด้านอารมณ์ที่เกิดขี้นกับเด็กดังนั้นจึงอาจให้ผู้ปกครองเป็น ผู้สร้างปฏิสัมพันธ์ในทางบวกโดยการสร้างความสนิทสนมกับครูและเพื่อนร่วมชั้นให้เห็นว่าไม่มี ความน่ากลัวอย่างที่คิดพูดคุยให้เห็นเป็นตัวอย่างที่ดี และเด็กจะเรียนรู้พฤติกรรมที่เกิดขึ้นว่าอยู่ใน ลักษณะที่ดี อยากมาโรงเรียนเพราะไม่มีความน่ากลัวอย่างที่คิด ภารกิจที่ 2 น้องหนูขี้กลัว
  • 9. ภารกิจที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่ 1. ให้อธิบายหลักการที่ท่านคิดว่าจะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาจากสถานการณ์นี้ว่ามีพื้นฐาน มา จากหลักการใดในทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม ตอบ หลักการทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ มีแนวคิดคือ พฤติกรรมของมนุษย์เป็น พฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองและจําเป็นต้องมีการเสริมแรงซึ่งการ เสริมแรงนี้มีทั้งการเสริมแรงทางบวกและทางลบ การกระทําใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะ เกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทําใดไม่มีการเสริมแรง การกระทํานั้นก็จะค่อยๆ ทําให้ค่อยๆปรับพฤติกรรม
  • 10. 2 จงวิเคราะห์ว่า สถานการณ์ที่ท่านอ่านนี้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีใดในกลุ่มพฤติกรรมนิยม อธิบายพร้อมทั้งให้ เหตุผลประกอบมาให้ชัดเจน ตอบ อยู่ในขอบข่ายทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ เพราะ ครูต้องการให้ กลุ่มผู้เรียน 6 เปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น โดยกระตุ้นเสริมแรงให้กลุ่มผู้เรียน 6 คน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ และลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมนั้นอย่างถาวร โดยครูใหญ่ได้ใช้หลักการเสริมแรงตาม ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ (Operant Conditioning)ทําให้เกิดการเรียนรู้จากการลงมือ กระทําและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทําให้เกิดพฤติกรรมการนนั้นซํ้าอีกจนค่อยๆหายไป ภารกิจที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่
  • 11. 3. สมมติว่าท่านเป็นครูใหญ่ ท่านจะใช้หลักในทฤษฎีพฤติกรรมนิยมใด มาใช้ในการแก้ปัญหา อธิบายพร้อมทั้ง ยกตัวอย่างประกอบ ตอบ หลักสําคัญของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทําของสกินเนอร์ คือ เราสามารถควบคุมการ ตอบสนองได้ด้วยวิธีการเสริมแรง เราจะให้การเสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนองที่ต้องการ เพื่อให้กลายเป็น นิสัยติดตัวต่อไป และลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์ให้หายไป ตัวอย่างเช่น เด็กชายคนหนึ่งมีพฤติกรรมคือ ไม่ สนใจการเรียน ชอบแกล้งเพื่อน คุณครูต้องการต้องแก้ไขพฤติกรรม โดยให้เด็กชายคนนี้แยกออกมาจาก เพื่อน มานั่งใกล้ครู เพราะครูจะได้สังเกตพฤติกรรม ครูจะใช้งานที่เขาสามารถทําได้ เช่น เดินหนังสือ ช่วย หยิบของ ขณะเดียวกันครูก็จะสร้างความคุ้นเคย ไม่ดุด่าว่ากล่าวแรงๆ ให้กําลังใจ เมื่อเขาช่วยเหลืองาน สําเร็จ ครูก็ให้คําชม และพฤติกรรมดีขึ้นเรื่อยๆ ก็ให้เด็กชายคนนี้กลับไปนั่งที่เดิม และครูค่อยเสริมแรงอยู่ เสมอ ภารกิจที่ 3 ฤทธิ์ครูใหญ่
  • 12. ภารกิจที่ 4 ทําความสะอาด 1. จงวิเคราะห์ว่า สถานการณ์ที่ท่านอ่านนี้อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีใดในกลุ่มพฤติกรรมนิยม อธิบายพร้อม ทั้งให้เหตุผลประกอบมาให้ชัดเจน ตอบ สถานการณ์นี้อยู่ในขอบข่ายทฤษฎีการเชื่อมโยง(ClassicalConnectionism) ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เพราะว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึง พอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการเรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและ จะพยายามใช้รูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จาก การทําความสะอาด รอบแรกของนักเรียนโดยที่นักเรียนไม่ได้วางแผนแล้วการทําความสะอาดห้องเรียนนั้น ไม่สะอาด และครั้งที่ สองนักเรียนมีการวางแผงทําข้อตกลง จนห้องเรียนนั้นสะอาดและก็ทํามันเวลา
  • 13. 2. ให้วิเคราะห์ว่าทฤษฎีที่เลือกมีข้อดี ข้อจํากัด อย่างไร และมีแนวทางในการนําทฤษฎีดังกล่าวไปใช้ในการ เรียนการสอนอย่างไร อธิบายพร้อมแสดงเหตุผล ตอบ ข้อดี นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง สามารถนําปัญหาที่ได้จากการพบ เจอ ประสบ มาแก้ไขปัญหา ปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม แนวทางในการนําทฤษฎีการเชื่อมโยงไปใช้ในการเรียนการสอน ดังนี้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการ แก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจําผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทําสิ่งต่าง ๆ ด้วย ตนเอง และผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและ สมํ่าเสมอ เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนําการเรียนรู้นั้นไปใช้และได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะ ช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสําเร็จ ภารกิจที่ 4 ทําความสะอาด
  • 14. ภารกิจที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซํ้า 1. อธิบายพร้อมทั้งประยุกต์หลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่นํามาใช้ในการออกแบบการ สอน และสื่อการเรียนการสอน เพื่อใช้ในการแก้ไขสถานการณ์ข้างต้น ตอบ ครูผู้สอนเมื่อรู้ว่าผู้เรียนไม่ชอบหรือมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เราสอนอยู่ก็ควรวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุ มาจากอะไร อะไรคือสิ่งเร้าที่ที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นแล้วพยายามไม่ให้สิ่งเร้าที่ผู้เรียนไม่ชอบนั้น เกิดขึ้น ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องทําการเรียนการสอนวิชานี้ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนานและเปิดโอกาสให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อศิษย์ให้โอกาสและรับฟัง ความคิดเห็นของเขา คอยแนะนําในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ และครูผู้สอนควรกําหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน ให้ชัดเจน แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆ ให้ผู้เรียนเรียนทีละหน่วย เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไปหา ยาก นอกจากนี้ครูจะต้องดูความพร้อมของผู้เรียนว่ามีพื้นฐานในการเรียนเนื้อหานี้หรือยัง จัด ประสบการณ์เนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนทําได้ดีและพอใจใน ความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนถึงแม้อาจจะเป็นไปได้ช้า หลีกเลี่ยงการคุมชั้นเรียนโดยวิธีการ ลงโทษ ซึ่งอาจจะทําให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหรือครูผู้สอนและเป็นอุปสรรคต่อการเรียน
  • 15. 2. จงวิเคราะห์หลักการจัดการเรียนรู้ตามแนวกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยมว่า มีความเหมาะสมหรือสอดคล้อง กับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ อธิบายและให้เหตุผลประกอบ พร้อมทั้ง บอกข้อดี-ข้อจํากัดและหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ยังสามารถนํามาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ในปัจจุบันได้ ตอบ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในยุคปฏิรูปการ เรียนรู้ เนื่องจากการเรียนตามแบบทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะนึกถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ความ แตกต่างทางด้านอารมณ์ การตอบสนองที่ไม่เท่ากัน คํานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะ สอนเนื้อหาอะไร โดยปกติครูสามารถทําให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการ เรียน การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้ องกันไม่ให้ ผู้สอนทําโทษเขา ภารกิจที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซํ้า
  • 16. ข้อดี สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนได้ มีการเสริมแรงโดยให้แรงเสริมเป็นการจูงใจให้ผู้เรียนสามารถมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป ข้อจํากัด เนื่องจากนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลการให้แรงเสริมกับแต่ละคนอาจส่งผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกไม่ เท่ากัน หรือ อาจใช้กับเฉพาะบางคนก็ได้ หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ยังสามารถนํามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันได้เช่น ทฤษฏีการวาง เงื่อนไข ของ วัตตสัน นํามาใช้ในการแก้ปัญหาของการที่ผู้เรียนไม่กล้าถามครูหรือถามเพื่อนในชั้นเรียน รวมไปถึงการจัด บรรยากาศในชั้นเรียนให้เด็กรู้สึกร่วมกับผู้อื่นเป็นกันเองและกล้าแสดงออก ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ (Operant Conditioning)นํามาใช้ในการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมที่คงทนซึ่งจําเป็นที่จะต้องได้รับการสริมแรงตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทําของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ที่จะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทําและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทําให้เกิดพฤติกรรมการนนั้นซํ้า อีก ภารกิจที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซํ้า