SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
การปฏิวัติอุตสาหกรรม

(Industrial Revolution)
4.1 ความหมายและปจจัยที่ทําใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเทคนิคการผลิตในขั้นมูลฐานจาก
การเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตที่ใชมือมาเปนการใชเครื่องจักร ซึ่งประหยัดแรงงานในการผลิต
วิธีการผลิตแบบอุตสาหกรรมภายในครัวเรือน (Domestic System) หรือระบบ
ิ
จายงานไปทําในบาน (Putting – Out System) ซึ่งนายจางเปนผูออกวัตถุดบใหลูกจางนําไปทํา
การผลิตภายในบานเรือนของลูกจางเอง โดยที่ลูกจางจะเปนเจาของเครื่องมือที่ใชในการผลิตและจะ
ไดรับคาตอบแทนจากจํานวนการผลิตที่ตนผลิตขึ้นเปนรายชิ้น กลายมาเปนการผลิตในระบบโรงงาน
(Factory System) ซึ่งลูกจางจะตองเขาทํางานในโรงงานแบบเชาไปเย็นกลับ หรืออาจจะพักคางอยู
ในบริเวณโรงงานนันเลยและไดคาจางเปนรายวัน นายจางจะเปนนายทุน คือ เปนเจาของวัตถุดบที่ใช
้
ิ
และเปนเจาของทุนและเครืองมือเครื่องจักรที่ใชในการผลิตทั้งหมด
่
สําหรับปจจัยสําคัญทีผลักดันใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม ไดแก
่
1. การพัฒนาวิทยาการทางเทคนิคดานอุตสาหกรรม
ผลสําเร็จของการคนพบและความพยายามในการปรับปรุงเทคโนโลยีการรูจักใช
เชื้อเพลิง ถานหินและพลังไอน้ากับเครื่องจักร ทั้งในการผลิตสิ่งทอและการคมนาคมขนสงทางบก
ํ
และทางน้า รวมทั้งตนแบบของอุปกรณเครื่องใชตางๆ ตั้งแตเครื่องพิมพดีด จักรเย็บผา กลองถายรูป
ํ
ไฟฟา โทรทัศน ฟลมภาพยนตร เครื่องเลนแผนเสียง จานเสียง รถยนต จักรยาน เหลานีลวนเปน
้
ความคิดของนักประดิษฐในคริสตศตวรรษที่ 19 ทั้งสิ้น
2. การขยายตัวทางการคาและการสะสมทุน
ในสมัยลัทธิพาณิชยนิยมในชวงหลังของสมัยกลาง การคานอกจากจะกอใหเกิด
ตลาด หรือความตองการตอสินคาใหมๆ จากหัตถอุตสาหกรรมแลว ยังเปนปจจัยกอใหเกิดการ
หมุนเวียน และตลาดของปจจัยการผลิตที่มีราคาถูกจากดินแดนตางๆ ขนแกะ ใยฝาย และปจจัย
การผลิตหลายชนิดมาถึงแหลงผลิตไดโดยอาศัยการขนสง คาขาย และในขณะเดียวกันก็สรางรสนิยม
และความตองการของตลาดทั้งยุโรปและอเมริกา
นอกจากนันการผลิตอุตสาหกรรมตองอาศัยทุน
้
ความมั่งคั่ง และเงินหมุนเวียนจํานวนมาก ดังนั้นตองมีการจัดหาพลังงาน วัตถุดบ และเทคนิควิธี
ิ
การผลิตสมัยใหม ซึ่งเปนปจจัยของการเกิดระบบอุตสาหกรรมที่ทันสมัยอยูเสมอ
66
3. การพัฒนาเกษตรกรรม
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงทางดานเกษตรแผนใหม ไดแก การกั้นรั้วที่ดิน การใช
ที่ดินแปลงใหญในการเพาะปลูก การรูจักใชปุย การใชเครื่องจักรทุนแรงงานการเกษตร เชน
เครื่องชวยหวานเมล็ดพืช การคนหาพันธุพืชใหมๆ เพื่อผลผลิตพืชไรที่ดีทั้งดานปริมาณและคุณภาพ
สําหรับสนองความตองการดานวัตถุดิบแกโรงงานอุตสาหกรรม เชน การปลูกฝายเสนใยยาวและเสน
ใยสั้น การคัดพันธุแกะเนือ แกะขน เปนตน ยิ่งไปกวานันมีการขยายที่ดินทําการเพาะปลูกใน

้
้
ดินแดนทวีปอเมริกา แอฟริกาใต ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด เปนตน ทําใหที่ดินทีไมเคยใช
่
เพาะปลูกมากอน กอใหเกิดพืชผลเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก
และหลั่งไหลเขาสูดินแดนยุโรป
ประสิทธิภาพและผลผลิตทีเพิ่มขึ้นในสาขาเกษตรกรรม นอกจากจะเปนการเตรียมผูคนในสาขานี้ให
่
เปนตลาดปจจัยการผลิตและกําลังซื้อ (Purchasing Power) ของสินคาอุตสาหกรรมแลว ยังเปน
แรงผลักดันใหเกิดการเคลือนยายแรงงานอิสระจํานวนมากเปนสิ่งสําคัญตอการดําเนินงานดาน
่
อุตสาหกรรมเพราะทําใหมแรงงานอยางเพียงพอที่จะตรึงใหราคาคาจางถูก สงผลใหตนทุนการผลิต
ี
ต่ํา และสามารถขายสินคาไดในราคาที่แขงขันได
4. การขยายตัวของประชากร
หลังจากที่เกิดโรคระบาดรายแรงหลายครั้งในสมัยกลาง ผูที่รอดชีวิตจากโรค
ระบาดไดยอมเปนผูมีรางกายแข็งแรงเปนพิเศษ
ประชากรเหลานี้กลายเปนแรงงานคุณภาพอยูใน
สาขาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม และที่สําคัญไปกวานั้นเมื่อประชากรเพิ่มขึ้นเสมือนเปนตลาดที่
สามารถรองรับผลผลิตและปอนปจจัยการผลิตทั้งสาขาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มตนในอังกฤษกอนแลวขยายแพรไปในประเทศยุโรปบาง
ประเทศและสหรัฐอเมริกา แพรไปถึงญี่ปุนในชวงทายศตวรรษที่ 19 ประเทศที่มีการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมหลังจากนั้น คือ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เยอรมัน สหรัฐอเมริกา สวีเดน ออสเตรีย ฮังการี
และอิตาลีตามลําดับ
สาเหตุที่ทําใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมเกิดขึ้นในประเทศอังกฤษเปนแหงแรก
มีปจจัยผลักดันที่สําคัญ 5 ประการ คือ
1. แหลงวัตถุดิบที่สําคัญ
อังกฤษมีเสนใยขนแกะใชปอนกิจการสิ่งทอขนสัตว ซึ่งเปนสินคาออกที่สําคัญ

ของอังกฤษ ปริมาณขนแกะที่ไดเพิ่มขึ้นอยางมาก เพราะมีการลอมรั้วที่ดินสงเสริมการเลี้ยงแกะตั้งแต
คริสตศตวรรษที่ 16 ทําใหอังกฤษมีวตถุดบสําหรับปอนระบบจายงานใหไปทําที่บานซึ่งมีอยูกระจาย
ั ิ
ทั่วประเทศ ยิ่งกวานั้นอังกฤษยังมีวัตถุดบ คือ ฝายซึ่งนํามาใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอ วัตถุดบฝายนี้
ิ
ิ
ไดมาจากอาณานิคมอินเดียและอเมริกา โดยอังกฤษสงพันธุฝายและเขาไปชักจูงใหดินแดนเหลานี้
ปลูกฝายขึ้น ดังนั้นอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายและผาขนสัตวทําใหประเทศอังกฤษพัฒนาอุตสาหกรรมได
ผลสําเร็จ
67
2. สภาวะแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการคา
อังกฤษเปนเกาะที่มีทะเลลอมรอบ มีอาวจอดเรือดีทําใหไดประโยชนในการคา
ทางทะเล สืบเนื่องมาจากการสงเสริมการคาขายอยางกวางขวางในยุคกอน ภูมิอากาศอันหนาวเย็น
ทําใหผคนในอังกฤษตองการปจจัยตางๆ ในการสรางบานเรือนใหเหมาะสมแข็งแรง ตองการเชื้อเพลิง
ู
ใหความอบอุน สิ่งเหลานีเปนความตองการสินคาตางๆ ก็จะเปนสิ่งกระตุนใหเกิดอุตสาหกรรม เพื่อ

้
สนองความจําเปนในการใชสอยดังกลาว
สิ่งที่สําคัญที่สดในขณะนั้นคือตลาดภายนอกและตลาด
ุ
ภายในประเทศขณะนั้นมีประสิทธิภาพ เพราะจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นมากและประชากรเหลานั้นมี
ฐานะดี สามารถเปนกําลังซื้อ สนับสนุนการผลิตสินคาใหมๆ จากอังกฤษได โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ประเทศอังกฤษเปนประเทศแรกในการผลิตสินคาซื้อขายอยางกวางขวางทั่วโลก ในขณะที่ยุโรปทั่วไป
ยังเต็มไปดวยสงครามรบพุงชิงอํานาจกัน อังกฤษจึงไดประโยชนจากตลาดใหญที่มีประสิทธิภาพนี้แต
เพียง ผูเดียว
3. ทางดานพลังงาน
อังกฤษมีถานหินอยางมากมายและอยูใกลแหลงที่ตั้งอุตสาหกรรมหนัก ทําให
คาขนสงถูก การที่เชื้อเพลิงถานหินราคาถูก อังกฤษจึงพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กขึ้นไดจนเปนผูนา
ํ
ของโลก ทั้งๆ ที่อังกฤษมีแรเหล็กไมมากนัก แตไดอาศัยเหล็กแทงวัตถุดบที่ขนสงจากประเทศแถบ
ิ
ทะเลบอลติกมาปอนอุตสาหกรรมของตน
4. การประดิษฐคิดคนเทคโนโลยี
อังกฤษเปนประเทศที่มีการใชเทคโนโลยีใหมๆ ในรูปของประดิษฐกรรมประเภท
สินคาทุนตางๆ ประเภทเครื่องจักรกลที่ใชผลิตสินคาอุปโภคอีกตอหนึ่ง อีกทั้งมีเครือขายการคมนาคม
ซึ่งทําใหการกระจายผลผลิตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
5. นโยบายการเงินการคลัง
ชวงการปฏิวัติอุตสาหกรรมนั้น กษัตริยองกฤษพระเจาเฮนรี่ที่ 3 ไดทรงดําเนิน
ั
นโยบายไดเหมาะสม การลดคาของเงินในป ค.ศ. 1536 และ ค.ศ. 1539 ทําใหราคาสินคาสูงขึ้นทันที
ในขณะที่คาจางที่เปนตัวเงินยังไมทันสูงขึ้น ทําใหอตสาหกรรมไดกําไรสูง ประกอบกับอังกฤษพัฒนา

ุ
เทคโนโลยีใหมๆ เปนชาติแรก ทําใหเกิดการผลิตสินคาตางๆ จํานวนมากดวยตนทุนที่ลดลง ชักจูง
ใหมีผูประกอบการลงทุนทํากิจกรรมการผลิตใหมๆ อยางแพรหลาย
ดังนั้นเพื่อใหเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม สามารถ
แบงชวงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษออกเปน 2 ชวง คือ
ก. การปฏิวัติอุตสาหกรรมชวงที่ 1 และกําเนิดของชนชั้นกระฎมพี (ค.ศ. 17801840)
ข. การปฏิวัติอุตสาหกรรมชวงที่ 2 (ค.ศ. 1840-1895)
68
4.2 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษชวงที่ 1 และกําเนิดของชนชั้นกระฎมพี (ค.ศ. 17801840)
อังกฤษกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกเพราะเหตุผลหลายประการ
นับตั้งแตพระเจาวิลเลี่ยมที่ 3 เปนกษัตริย อังกฤษมีความมั่นคงทางการเมือง รัฐสภาของอังกฤษเต็ม
ไปดวยนักธุรกิจและเจาของที่ดิน และสิงที่คนพวกนี้หวงกังวลมากก็คือความเจริญรุงเรืองของตนเอง
่

และของประเทศชาติ ชนชันปกครองของอังกฤษมีความสนใจเรื่องการคาเปนสําคัญ พวกคนชั้นสูง
้
พอคาและเจาของที่ดินในอังกฤษพรอมที่จะเอาเงินมาลงทุนสรางโรงงานใหมๆ ทําเหมืองถานหิน และ
ถลุงเหล็ก
ระหวาง ค.ศ. 1801-1831 ประชากรอังกฤษ 15 เปอรเซ็นตของประชากรทั้ง
ประเทศซึ่งมีอยู 10.7 ลานคน อาศัยอยูในเมืองและในป ค.ศ. 1880 อัตราสวนนี้เพิ่มขึ้นเปน 80

เปอรเซ็นตของประชากรทั้งประเทศ 29.8 ลานคน ในป ค.ศ. 1801 ขณะนั้น 40 เปอรเซ็นตของ
แรงงานทํางานในกิจการอุตสาหกรรม ตอมาในป ค.ศ. 1871 อัตราสวนนี้เพิ่มขึ้นเปน 65 เปอรเซ็นต
แรงงานในภาคเกษตรลดลงจาก 35 เปอรเซ็นต เหลือ 15 เปอรเซ็นต การสะสมทุนเพิ่มขึ้นจาก 5
เปอรเซ็นต เปน 10 เปอรเซ็นตของรายไดประชาชาติระหวาง ค.ศ. 1780-1860
การประดิษฐคิดคนเครื่องจักร
การเปลี่ยนสภาพจากการเปนเกษตรกรและทํางานอยูในโรงงานขนาดเล็กๆ มาเปน
ระบบโรงงานใหญโต จะไมสามารถเกิดขึนไดถาหากไมมีการประดิษฐผลงานหลายอยางของชาวสกอต
้
และชาวอังกฤษหลายคนในชวงนั้น ในป ค.ศ. 1733 จอหน เดย จดทะเบียนสิทธิบัตรเรื่องการ
ประดิษฐกระสวยบินซึ่งทําใหสามารถทอผาไดเพิ่มเปนสองเทา
แตเดิมสิ่งประดิษฐของเดยมี
จุดมุงหมายเพือใชในอุตสาหกรรมทอผาขนสัตว ตอมาไดรับการดัดแปลงไปใชกบเครื่องทอผาฝายใน
่
ั
แลงคาเชียร และในบริเวณตะวันตกเฉียงใตของสกอตแลนด
James Watt (ค.ศ. 1736-1819) นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษเปนผูแกไขขอ

บกพรองตางๆ โดยนําเอาเครื่องคอนเดนเซอรมาประกอบในป ค.ศ. 1769 พอถึงป ค.ศ. 1781
เจมส วัตต ก็ไดดัดแปลงเครื่องยนตไอน้าดีขึ้นจนขับรถได หลังจากนั้นเครื่องยนตไอน้ําก็ถูกนํามาใช
ํ
ในโรงงานเพื่อขับดันเครื่องทอผาและเครื่องจักรกลทุกชนิด
นอกจากนี้เครื่องจักรไอน้ํายังสามารถ
นํามาใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ใชถายเทน้ําออกจากเหมือง ใชในโรงงานน้ําตาล แปง และใชใน

โรงงานทําเบียร และปนภาชนะ เครื่องจักรไอน้ําตองการการลงทุนจึงตองมีการผลิตขนาดใหญจึงจะ
ประหยัด ดังนั้นจึงทําใหเกิดโรงงานและการกระจุกตัวของกรรมกรหลายรอยคนอยูในโรงงานเดียวกัน
69
อุตสาหกรรมสิ่งทอฝาย
การนําเอาเครื่องจักรไอน้ําไปใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายถือวาเปนการปฏิวัติ
การผลิตสิ่งทอ และเปนการเริ่มการปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษและของโลก สิ่งทอฝายเปน
อุตสาหกรรมที่เจริญกาวหนารวดเร็วที่สุดในอังกฤษ และเปนสินคาออกที่เพิ่มเร็วที่สุด โรงงานสิ่งทอ
ในชวงแรกๆ สรางขึ้นในบริเวณใกลๆ น้ําตก และลําธารที่มีกระแสน้ําเชี่ยว
แตเมื่อมีการผลิต
เครื่องจักรไอน้ําขึ้นมา ในไมชาการสรางโรงงานก็ยายมาตั้งภายในบริเวณตัวเมืองที่มีแหลงถานหินอยู
ใกลๆ อุตสาหกรรมสิ่งทอฝายกระจายอยูในชนบทแถบรอบๆ เมืองแมนเชสเตอรและกลาสโกว ตอมา
ในทศวรรษ 1790 เกิดการเจริญเติบโตของเมืองที่มีโรงงานปนดายฝาย (Cotton Spinning Industry)

86 เปอรเซ็นตของอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายของอังกฤษกระจุกตัวอยูในเขตเชสเชอร (Cheshire) และ
แลงคาเชียร (Lancashire) การปนดายทําไดเร็วมากสามารถผลิตในโรงงาน เพราะมีเครื่องจักร
ปนดายจากการประดิษฐของ James Hargreves (ค.ศ. 1702-1778) ซึ่งเครื่องทอผาของทานผูนี้
คือ Spinning Jenny ทํางานไดเทากับคนทอผา 8 คน หลังจากนั้นก็มีเครื่องทอผา Water Frame
ของ Richard Arkwright (ค.ศ. 1732-1792) ซึ่งใชพลังน้ําสามารถปนดายที่เหนียวใชเปนเสนยืน
ทอผาได
ฝายดิบเปนวัตถุดบที่ใชสําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ ฝายดิบที่เอามาปนดวยระยะแรก
ิ
นําเขามาจากหมูเกาะอินเดียตะวันตก (The West Indies) แตหลังจากนั้นนําเขาจากสหรัฐอเมริกา
ในป ค.ศ. 1810 ฝายดิบนําเขาจากสหรัฐอเมริกาประมาณครึ่งหนึ่งและในชวง ค.ศ. 1846-1850
นําเขาฝายดิบจากสหรัฐอเมริกาถึง 80 เปอรเซ็นต
กอน ค.ศ. 1790 สิ่งทอฝายของอังกฤษผลิตเพื่อสนองความตองการภายในประเทศ
ตอมาในชวงสงครามนโปเลียนกอน ค.ศ. 1815 ตลาดสหรัฐอเมริกาเขามาแทนทีตลาดภาคพืนทวีป
่
้
และหลังจากนันป ค.ศ. 1840 อินเดียกลายเปนตลาดสําคัญที่สดแทนที่ตลาดสหรัฐอเมริกา แสดงให
้
ุ
เห็นถึงแนวโนมตลาดสิ่งทอฝายของอังกฤษที่เคลื่อนยายจากประเทศพัฒนาแลวไปยังประเทศดอย
พัฒนา เพราะประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกา คอยๆ พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอของตนขึ้นมาก็ลดการ
สั่งสิ่งทอเขาจากอังกฤษ
อุตสาหกรรมผาขนสัตว
ขณะที่อุตสาหกรรมสิ่งทอฝายมีความสําคัญสูงสุดในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ
อังกฤษชวงที่ 1 ค.ศ. 1780-1840 อุตสาหกรรมผาขนสัตว (Woolen textiles) ซึ่งเคยมี
ความสําคัญมากอนและทําใหเกิดการขยายตัวของระบบทุนนิยมกลับลดความสําคัญลงไป หลังจาก
ทศวรรษ 1780 แลวอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายขึ้นมาแทนทีอุตสาหกรรมผาขนสัตว สาเหตุที่อุตสาหกรรม
่
ผาขนสัตวพฒนาไมรวดเร็วนักเมื่อเทียบกับสิ่งทอฝาย เพราะเปนอุตสาหกรรมเกาแกขยายตัวมาแต
ั
เดิมแลว พึ่งตลาดภายในซึ่งไมมีโอกาสขยายตัวเร็วเหมือนตลาดตางประเทศ รวมทั้งการนําเทคโนโลยี
70
ใหมมาใชในอุตสาหกรรมนีก็ดําเนินไปอยางลาชา มีการตอตานการนําเขาเครื่องจักรเขามาใชจากชาง
้
ทอผาขนสัตว การทอผาขนสัตวกวาจะใชเครื่องจักรอยางจริงจังก็หลัง ค.ศ. 1850 แลว
กําเนิดชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรม (Industrial Bourgeoisie)
การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษไมไดเกิดจากการวางแผนของรัฐ แตเกิดจากการ
ริเริ่มของกลุมบุคคลผูมความมุงมั่น ทะเยอทะยาน มีแนวคิดมองการณไกล เห็นโอกาสของการคนพบ
ี
เทคนิคที่มีตอการผลิตและทํากําไร ประหยัดและใชทรัพยากรทุกชนิดลงทุน จุดมุงหมายเบื้องตน
เพราะอยากรวย แตกตองการทําสังคมใหเจริญดวย โดยผลิตสินคาที่มีราคาถูกและดี กลุมคนเหลานี้
็
คือชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรม
ชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมของอังกฤษเกิดในอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายและเหล็ก
โดยเฉพาะหลัง ค.ศ. 1785 ที่อุตสาหกรรมสิ่งทอฝายกลายเปนระบบโรงงานขึ้นตามมาดวยอุตสาหกรรมอื่นๆ
แมวาชนชั้นเจาทีดินมีสวนอยางมากในการสนับสนุนพัฒนาการของระบบทุนนิยมและ
่
อุตสาหกรรม แตชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมไมใชเจาทีดิน เปนชาวนา เปนเจาของรานคาเล็กๆ เปน
่
้
หัตถกรในชนบท (rural artisan) เปนเจาของโรงเตี๊ยม การตังโรงงานอุตสาหกรรมในระยะนั้น
ตองการทุน เริ่มตนไมสูงมากนัก สวนใหญยืมมาจากเพื่อนและญาติพี่นอง ไมใชเอาทุนจากพอคาหรือ
กําไรจากการคา หรือกูมาจากธนาคาร การเริ่มกิจการอุตสาหกรรมในระยะเริ่มตนนั้นใชทุนขนาดยอม
และเมื่อจางแรงงานไดกลาเริ่มกิจการ รูจักประยุกตเทคโนโลยีกบการผลิตก็เริ่มงานได
ั
กรณีการเกิดชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมจากชาวนาและหัตถกรอิสระ เกิดนายทุน
จากผูผลิตเพือขายขนาดยอม (Petty Commodity Producer) ที่กอการอุตสาหกรรมเริ่มตนจาก
่
เงินทุนไมมากนัก เทคนิคการผลิตยังไมซบซอน หัตถกร หรือชางสมัครเลนก็คิดคนและคิดปรับปรุง
ั
เครื่องจักรกล ลงทุนจากเงินที่ตัวเองเก็บสะสมไว หรือยืมในทองถิ่น ลงทุนซ้ําจากกําไรของตัวเอง คือ
ใชตัวเองเปนแหลงทุน (Self – Financing) ไมไดพึ่งธนาคารอังกฤษจึงเปนกรณีพิเศษที่ชาวนา
อิสระและหัตถกรสามารถพัฒนา 2 ทาง สวนหนึ่งพัฒนาเปนนายทุนอุตสาหกรรม อีกสวนหนึ่ง
ลมละลายกลายเปนกรรมกร
ชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมไมมีวัฒนธรรมของตัวเอง ไมมีการสรางสรรค หรือริเริ่ม
เปลี่ยนแปลงใดๆ ชนชั้นนี้จงมีสวนผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและความกาวหนาทางสังคม
ึ
นอยมาก เพราะไดรับการศึกษาไมเกินการศึกษาขั้นตน ตอมาเมื่อมีการปรับปรุงระบบการศึกษาให
บุคคลโดยทั่วไปไดรบการศึกษาทั่วถึงกัน ดวยการศึกษาที่สูงนี้เองทําใหพวกกระฎมพีเขามามีอํานาจ
ั
ทางการเมืองมากขึ้น
71
การกอตัวของชนชั้นกรรมาชีพ
เมื่อเริ่มปฏิวัติอุตสาหกรรม กรรมกรมาจากชนบท แตเมื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
ดําเนินไปอยางแข็งขันในชวง ค.ศ. 1780-1800 กรรมกรมาจากประชากรที่เพิ่มขึ้นในเมืองเองเพราะ
ในอังกฤษประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จาก 5.5 ลานคนกอน ค.ศ. 1700 ซึ่งรวมทั้งอังกฤษและ
เวลส เปน 9 ลานคนใน ค.ศ. 1801 และ 18 ลานคนใน ค.ศ. 1851 เนื่องจากอัตราการเกิดเพิ่มขึ้น
หลังจาก ค.ศ. 1740 ประชากรอังกฤษจึงเปนเด็กและคนหนุมสาวในชวงศตวรรษที่ 18 ตอนปลาย
และศตวรรษที่ 19 เด็กและคนหนุมสาวเหลานี้ที่เปนกรรมกรในกิจการอุตสาหกรรม นอกจากนั้นก็
เปน ผูที่เคลื่อนยายมาจากชนบท ซึ่งก็คือ พวกชาวนาอิสระทีถูกชนชั้นกระฎมพีกวานซื้อที่ดินไป
่
รวมทั้งหัตถกรที่ลมละลายเพราะแขงขันสูอุตสาหกรรมไมได
ความเปนอยูของกรรมกรในชวงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1
กรรมกรมีชีวิตอยูอยางยากลําบาก โดยเฉพาะในชวงระยะตนของการปฏิวัติอุตสาหกรรม เมื่อทํางานกับเครื่องจักร งานดูไมสนุกและนาเบื่อ กรรมกรตองทํางานตามเวลา ตองทํางาน
สิ่งเดียวกันซ้ําแลวซ้ําเลาโดยไมเห็นคาทางเทคนิคและสังคมของสิ่งที่เขาทํา ไมมีเสรีภาพเหมือนกับ
การทําการเกษตร ไมอาจจัดการทํางานอยางที่เขาตองการได ตองทํางานนานชั่วโมงภายใตการควบคุม
ไมมีเวลาหยุดพักเพื่อคิดถึงฐานะของตัวเองหรือตอตาน มักหาทางออกดวยการดื่มเหลา มีการใช
แรงงานของผูหญิงและเด็กจํานวนมากเพราะคาจางถูก เด็กทํางานบางครั้งตั้งแตอายุ 5-6 ขวบ
ทํางานนาน 10-12 ชั่วโมงตอวัน ทําใหไมไดไปโรงเรียน ไมมีการศึกษา
การเคลื่อนไหวของกรรมกรเมื่อเริ่มแรกเปนการลุกฮือโดยไมมีการจัดตั้งองคกรถาวร
ผูนํามักมาจากพวกหัตถกรและกระฎมพีนอย (Petty bourgeoisie) การลุกฮือของ Luddite เกิดขึ้น
ทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษในป ค.ศ. 1811 - 1812 รวมถึงการเคลื่อนไหว
่
ของกรรมกรกับหัตถกร พวก Luddite เขาทําลายเครืองจักร พวกนี้กลาวหาวา เครื่องจักรทําใหเขา
วางงาน เครื่องจักรทําลายวิธีการผลิตแบบเดิม การเรียกรองครั้งสําคัญตอขบวนการ Chartist
ระหวางป ค.ศ. 1838-1848 เปนขบวนการของชนชั้นกรรมาชีพที่กวางขวางครอบคลุมระดับชาติ
เกิดขึ้นในเมืองใหญเกือบทุกเมือง พวก Chartist ตองการใหกรรมกรมีอํานาจในรัฐสภา มีอํานาจ
ในทางการเมือง จะไดปรับปรุงสภาพความเปนอยูของแรงงานได
4.3 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษชวงที่ 2 (ค.ศ. 1840-1895)
สาขาอุตสาหกรรมหลักเปลี่ยนจากสิ่งทอฝายเปนถานหินและเหล็ก จากอุตสาหกรรม
ผลิตสินคาอุปโภคบริโภค เปนอุตสาหกรรมหนักเครื่องจักร พาหนะ รถไฟ และเรือเดินสมุทร
72
อุตสาหกรรมถานหิน
ถานหินเปนหัวใจของอุตสาหกรรมหนัก เปนเชื้อเพลิงในการถลุงเหล็กและทําความ
รอนในเครื่องจักรไอน้ํา มีบทบาทมากในอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมโลหะเครื่องสูบน้ําออกจาก
เหมือง หัวรถจักร เรือกลไฟ ฯลฯ ในขณะนั้นอังกฤษมีอุตสาหกรรมถานหินและทําการผลิตมากกวา
ทุกประเทศในยุโรป การผลิตถานหินของอังกฤษเพิ่มขึ้นชาๆ ในศตวรรษที่ 18 และเพิ่มขึ้นรวดเร็วใน
ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในชวง ค.ศ. 1830 –1865 จากประมาณ 22 ลานตันตอปใน ค.ศ. 1825
เปน 110 ลานตันตอปใน ค.ศ. 1870 สําหรับการผลิตถานหินนัน อับราฮัม ดารบี้ (Abraham
้
Darby) คนพบวา ถาหากเอาถานหินมาทําเปนถานโคกจะใหความรอนรุนแรง ดังนั้นจึงนํามาใชแทน
ถานธรรมดาไดดี ถานโคกจึงถูกนํามาใชอยางแพรหลาย
บอถานหินของอังกฤษอยูที่สกอตแลนดระหวางเมืองเอดินเบิรก (Edinburgh) กับ
กลาสโกว (Glasgow) ที่เมืองนิวคาสเซิล (Newcastle) เชฟฟลด (Sheffield) แมนเชสเตอร
(Manchester) เบอรมิงแฮม (Birmingham) และทางทิศตะวันตกเฉียงใตของเวลสแถบเมือง
ิ
ิ
่
สวันซี (Swansea) บอถานหินเหลานี้อยูในที่ดนของเจาที่ดนและเปนของเจาที่ดิน เจาทีดิน สงเสริม
การขุดถานหิน
การสรางคลองเพื่อขนสงถานหินไปยังเมืองอุตสาหกรรม
เมื่อเกิดการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมชวงกลางทศวรรษที่ 19 แหลงอุตสาหกรรมของอังกฤษมี 6 แหง คือ 1) ในสกอตแลนด
ระหวางเอดินเบิรกกับกลาสโกวผลิตสิ่งทอฝาย 2) นิวคาสเซิลผลิตเรือเดินสมุทร 3) ลิเวอรพูล
แมนเชสเตอร ลีดส และเชฟฟลด ทําอุตสาหกรรมโลหะและสิ่งทอ 4) เบอรมิงแฮม ทําอุตสาหกรรม
โลหะ 5) เวลสทางตอนใตระหวางสวันซี (Swansea) และ คารดีฟ (Cardiff) ทําอุตสาหกรรม
โลหะ 6) ลอนดอน ทําเรือเดินสมุทร สิ่งทอและเครื่องจักร
เหมืองถานหินใชแรงงานเขมขน ตอนแรกใชแรงงานผูหญิงและเด็กชวย ตอมาได
แรงงานมาจากไอรแลนด (Ireland) และสกอตแลนด ใน ค.ศ. 1841 มีผูทํางานในเหมืองถานหิน
200,000 คน เพิ่มเปน 500,000 คนใน ค.ศ. 1880 หลังจากเปดเหมืองไประยะหนึ่งจะมีปญหา

น้ําทวมตองสูบน้ําออก การคิดคนเครื่องสูบน้ําดวยพลังไอน้ําจึงเปนการแกปญหาที่สําคัญ รวมทั้งการ
คิดคนตะเกียงนิรภัยในป ค.ศ. 1815 ทําใหอุบติเหตุจากการระเบิดของแกสในเหมืองเล็กๆ ลดลง
ั
มาก สิ่งเหลานี้ทําใหผลผลิตถานหินเพิมขึ้น อยางไรก็ตามเหมืองถานหินเปนกิจการที่ใชเครื่องจักร
่
ชวยไดไมมาก ดังนันจึงยังคงตองใชแรงงานคนในการทําเหมืองจํานวนมากเชนเคย
้
อุตสาหกรรมเหล็ก
มีความสําคัญใน ค.ศ. 1840 อุตสาหกรรมเหล็กใชวัตถุดิบที่มีในอังกฤษเอง คือ แร
เหล็ก เหล็กเปนวัสดุทใชในอุตสาหกรรมหลายชนิด เชน รถไฟและเรือเดินสมุทร ทอแกสและทอน้ํา
ี่
ตางๆ เครื่องจักร ฯลฯ ในป ค.ศ. 1840 อังกฤษผลิตเหล็กไดมากกวา 1 ลานตันตอป 20 ปตอมา

ผลิตเพิ่มขึ้นเปน 3 เทา ในป ค.ศ. 1870 อังกฤษผลิตเหล็กได 7.7 ลานตัน หลังจากนั้นผลผลิตก็
73
เพิ่มขึ้นชาๆ สวนเหล็กกลาซึ่งเปนเหล็กผสมกับถาน ผลิตไดเพิ่มขึ้นมากในชวงทศวรรษ 1860 และ
1870 หลังจากคิดคนใชวิธผลิตแบบ Bessemer ในป ค.ศ. 1870 วิธีผลิตเหล็กกลาแบบ Bessemer
ี
เปนการถลุงเหล็กโดยใชความรอนสูง ซึ่ง Henry Bessemer (1813-1898) คิดคนขึ้นในป ค.ศ.
1856 ทําใหผลิตเหล็กกลาไดในราคาถูก ผลผลิตเหล็กกลาจึงเพิ่มสูงขึ้นมากเชนกัน ในป ค.ศ. 1870
อังกฤษผลิตเหล็กกลาไดมากกวาเยอรมนีกับสหรัฐอเมริการวมกัน แตพอถึงทศวรรษ 1880 อัตราการ
เพิ่มขึ้นของผลผลิตเหล็กกลาของอังกฤษก็ชากวาสหรัฐอเมริกา และเยอรมนี ในทศวรรษ 1880
สหรัฐอเมริกาผลิตเหล็กกลาและเหล็กธรรมดาไดมากกวาอังกฤษและกลางทศวรรษ 1890 เยอรมนีก็
ผลิตเหล็กกลาไดมากกวาอังกฤษ รวมทั้งผลิตเหล็กธรรมดาไดมากกวาอังกฤษตั้งแต ค.ศ. 1905 อีก
ดวย กลาวไดวา ยุคทองที่สุดของอังกฤษคือกลางศตวรรษที่ 19 หรือยุค Victorian ที่อังกฤษพัฒนา
อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา เปนผูนําที่สดหลังการรุงเรืองของอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายประมาณ
ุ
50 ป
อังกฤษมีถานหินมากทําใหสามารถผลิตเหล็กไดในราคาถูก นอกจากนี้ยังมีที่ตั้งโรงงาน
ถลุงเหล็กใกลๆ เหมืองถานหิน ขณะเดียวกันอุปสงคตอเหล็กสูงขึ้นมากเพราะการขยายตัวของกิจการ
รถไฟ การนําเหล็กไปใชในการตอเรือ และความตองการเหล็กเพื่อเปนสินคาออกอีกดวย
กิจการรถไฟ
ในระหวาง ค.ศ. 1830-1850 มีการสรางทางรถไฟสายสําคัญในอังกฤษ ในป ค.ศ.
1850 อังกฤษสงรถไฟและรางรถไฟเปนสินคาออก ในชวงหลังของศตวรรษที่ 19 มีการสราง
ทางรถไฟทั่วโลก หลายแหงใชอุปกรณรถไฟและความรูวศวกรรมรถไฟของอังกฤษ ทางรถไฟสายแรก
ิ
ของโลก คือ สตอคตัน (Stockton) กับดารลิงตัน (Darlington) ในเขตยอรคเชียร (Yorkshire)
ใตเมืองนิวคาสเซิล สรางเมื่อ ค.ศ. 1825 เพื่อขนสงถานหิน คือ เดิมนั้นมีการวางเหล็กและใช
รถบรรทุกมีลอเลื่อนบนรางอยูแลวใชมาลากเปลี่ยนมาเปนรถจักรไอน้ําลากบนรางรถไฟสายสตอคตันดารลิงตันนี้ รถจักรไอน้ําคิดคนโดย George Stephenson (ค.ศ. 1781-1848) สายที่สําคัญ คือ
ลิเวอรพูล–แมนเชสเตอร สรางใน ค.ศ. 1830 เพื่อใชกับรถไฟโดยเฉพาะและเนนการขนสงผูโดยสาร
ในชวงป ค.ศ. 1830-1850 เปนยุคสรางทางรถไฟ ในป ค.ศ. 1850 อังกฤษมีรางรถไฟยาว 9,734
กิโลเมตร และเมื่อถึง ค.ศ. 1870 2 ใน 3 ของทางรถไฟของอังกฤษสรางเสร็จเปนระยะทางยาว
21,699 กิโลเมตร เปนการลงทุนของเอกชนทั้งสิ้น
รถไฟขนสงไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพไมขึ้นกับดินฟาอากาศเหมือนกับรถหรือเรือ
ทําใหตลาดกวางขึ้น เกิดการประหยัดจากขนาดและการผลิตเฉพาะอยาง ผลที่สําคัญ คือ การขนสง
ถานหินและเหล็ก เชน การโยงถานหินของเขตยอรคเชียรใตกับเหล็กของเขตนอรธแฮมตันเชียเขา
ดวยกัน การขนสงสินคาเกษตรทั้งธัญพืชที่หนักและสิ่งที่เนาเสียงาย เชน ผลไมและนม และทําให
ผูคนทีไมเคยเดินทางมากอนสามารถเดินทางได การขนสงทางรถไฟทําใหการติดตอสื่อสารเปนไป
่
74
โดยสะดวก เชน ขนสงหนังสือพิมพและจดหมาย ทําใหเมืองขยายตัวรวมชานเมืองเขามาดวย กิจการ
รถไฟทําใหอตสาหกรรมเหล็กกาวหนารวดเร็ว
ุ
นโยบายการคาระหวางประเทศของอังกฤษ
ในศตวรรษที่ 19 อังกฤษใชนโยบายการคาระหวางประเทศและนโยบายเศรษฐกิจ
ิ
เสรีนิยม (Liberalism) แทนที่นโยบายพาณิชยนยม (Mercantilism) เมื่อตนศตวรรษที่ 18
นโยบายเสรีนิยมปลอยใหการสงสินคาออกและการสั่งสินคาเขาเปนไปโดยเสรี ไมกดกันสินคาเขา ในป
ี
ค.ศ. 1842 อังกฤษออกกฎหมายยกเลิกการคุมครองการผลิตขาวโพดภายในประเทศ (Repeal of
the Corn Laws) ใหธัญพืชเขาอังกฤษไดเสรี ทั้งนี้เปนไปตามแนวคิดของอดัม สมิธ (Adam Smith
1723-1790) บิดาของวิชาเศรษฐศาสตร นักคิดเสรีนิยมชาวสกอตแลนดที่วา หากปลอยใหมีการ
แลกเปลี่ยนโดยแขงขันและสมัครใจ การแลกเปลี่ยนจะใหประโยชนแกผูแลกเปลี่ยนทั้งสองฝาย และ
แกสังคมสวนรวม แตละบุคคลจะผลิตสิงที่เขาถนัดที่สด และมีโอกาสเลือกที่จะแลกเปลี่ยนกับผูที่ให
่
ุ
ประโยชนแกเขาสูงสุด ระบบตลาดซึ่งเกิดจากการแลกเปลี่ยนจะเปนผูกําหนดการจัดสรรใชทรัพยากร
ของเศรษฐกิจ ทําใหมีการใชทรัพยากรในทางที่เปนประโยชนสูงสุดแกปจเจกชนและสังคม ลัทธิ เสรี
นิยมทางเศรษฐกิจของสมิธไดมีสวนผลักดันใหเกิดนโยบายการคาเสรี และจํากัดการแทรกแซงของ
รัฐบาลในเศรษฐกิจและในการพัฒนาอุตสาหกรรมของอังกฤษ
ในดานการคาระหวางประเทศอังกฤษไมใชนโยบายกําแพงภาษีกดกันสินคาเขาเพื่อ
ี
ชวยอุตสาหกรรมภายใน ตั้งแตเริ่มศตวรรษที่ 19 จนถึง ค.ศ. 1870 สินคาออกของอังกฤษเพิ่ม
เร็วมาก สินคาออกเพิ่มในอัตราสูงกวาอัตราการเพิ่มของรายไดประชาชาติ เมื่อ ค.ศ. 1800 การคา
ระหวางประเทศหรือสินคาออกรวมกับสินคาเขา คิดเปน 32 เปอรเซ็นตของรายไดประชาชาติ ในป
ค.ศ. 1855 คิดเปน 35 เปอรเซ็นต และในป ค.ศ. 1875 คิดเปน 50 เปอรเซ็นต ในชวงทศวรรษ
1840 สินคาออกของอังกฤษเปนสิ่งทอฝาย ตอมาในทศวรรษ 1870 มีการกระจายชนิดของสินคาออก
รวมสินคาทุน คือ อุปกรณรถไฟ เหล็ก และถานหิน อังกฤษเปนชาติผูนาการคาระหวางประเทศของ
ํ
โลกในชวงนัน มีสัดสวนถึง 2 ใน 3 ของการคาของโลกทั้งหมด และ 3 ใน 4 ของการคาสินคา
้
อุตสาหกรรม เรือกลไฟของอังกฤษก็ครอบงําการคาทางทะเลตั้งแตทศวรรษ 1850-1860 ใน ค.ศ.
1890 อังกฤษเปนเจาของเรือกลไฟกวาครึ่งหนึ่งของโลก สินคาออกของอังกฤษประเภทสินคาทุน คือ
เครื่องจักรอุปกรณรถไฟสงไปขายประเทศภาคพืนยุโรปและสหรัฐอเมริกาซึ่งกําลังพัฒนาอุตสาหกรรม
้
ตองการสินคาทุนแตยังไมสามารถผลิตได
สวนสิ่งทอฝายตลาดเปลี่ยนจากภาคพื้นทวีปยุโรปเปน
ประเทศดอยพัฒนา โดยเฉพาะสงไปอินเดีย สินคาเขาของอังกฤษเปนธัญพืช ชา น้าตาล กาแฟ ยาสูบ
ํ
ฝายดิบ และแรเหล็ก สหรัฐอเมริกา และดินแดนอาณานิคมของอังกฤษ เชน อินเดีย และออสเตรเลีย
มีความสําคัญมากขึ้นในฐานะคูคาของอังกฤษแทนทีภาคพื้นทวีปยุโรป
่
75
การเคลื่อนไหวของกรรมกรชวงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2
หลังป ค.ศ. 1848 ขบวนการกรรมกรเริ่มมีองคกรเกิดขึ้นเรียกวา สหบาลกรรมกร1
(Trade Union) เกิดในหมูแรงงานที่มีฝมือกอน คือ สหบาลกรรมกรชาง (The Amalgamated
Society of Engineers) ในป ค.ศ. 1851 และตามมาดวยสหบาลในกิจการทําหมอน้ํา ชางไม และ
ชางกออิฐ
ความชวยเหลือของสหบาลจะทําหนาที่ดแลสมาชิกเมื่อเจ็บปวยและวางงานดวย
ู
นอกจากนี้ยังทําหนาทีตอรองและประนีประนอมกับนายจาง หลีกเลี่ยงการนัดหยุดงาน ในป ค.ศ.
่
1869 มีการจัดตั้ง Trade Union Congress ขึ้นเปนที่ประชุมรวมของสหบาลหลายแหง
หลังทศวรรษ 1880 เกิดสหบาลกรรมกรในอุตสาหกรรมหลายชนิด สหบาลใหมๆ
เหลานี้รับสมาชิกในกิจกรรมทั่วไป เปนสหบาลของแรงงานไรฝมือ เชน ในกิจการแกส ทาเรือ และ
กลาสี จํานวนสมาชิกของสหบาลคิดเปน 5 เปอรเซ็นตของกําลังแรงงานทั้งหมดในป ค.ศ. 1888
และคิดเปน 25 เปอรเซ็นต ในป ค.ศ. 1913 ในชวงพัฒนาการของสหบาลใหมไดรับอิทธิพลจาก
ความคิดสังคมนิยมและเริ่มรวมกันสงตัวแทนของตนเขาสมัครรับเลือกตั้ง ในป ค.ศ. 1900 สมาพันธ
ของสหบาลไดรับการสนับสนุนจากการตั้งพรรคแรงงาน (The Labour Party) ขึ้นในป ค.ศ.
1906 มีการตอสูดวยการตอรองและการนัดหยุดงานของกรรมกร
้ ํ
ภาครัฐบาลเขามาจัดระบบสังคม2 ดวยการพยายามจัดมาตรฐานขันต่าของโรงงาน
และการจางงาน เริ่มจากการจํากัด อายุ และชั่วโมงทํางานของเด็กและผูหญิง ในตอนตนของศตวรรษ
ที่ 19 นั้น 3 ใน 4 ของคนงานในโรงงานปนดายฝายเปนผูหญิงและเด็ก ในป ค.ศ. 1833 ไดมีการ
ออกกฎหมายแรงงาน (Factory Act) หามมิใหจางเด็กอายุต่ํากวา 9 ปทํางานในโรงงานสิ่งทอ และ
จํากัดเวลาทํางานของเด็กอายุระหวาง 13-18 ปใหทํางานวันละไมเกิน 12 ชั่วโมง รวมทั้งใหมี
ผูตรวจการโรงงานทํางานเต็มเวลา ดูแลใหโรงงานปฏิบติตามกฎหมาย ในป ค.ศ. 1842 กฎหมาย
ั
หามการจางผูหญิงและเด็กอายุต่ํากวา 10 ป ทํางานในเหมือง ตอมามีกฎหมายโรงงานออกตามกัน

มาเรื่อยๆ

1

สหบาลกรรมกร หมายถึง สมาคมที่คงอยูเรื่อยไปของผูมีรายไดจากคาจาง มีจุดประสงคเพื่อรักษาและ
ปรับปรุงสภาพชีวิตการทํางานของพวกเขาใหดีขึ้น (คํานิยามของ S. and B. Webb, History of Trade

Unionism, 1894)
2

รัฐไดจัดมาตรฐานขั้นต่ําของโรงงาน การจางงาน การสาธารณสุข การศึกษา การชวยเหลือเมื่อปวย ชรา
และพิการ ฯลฯ รวมเรียกวาสวัสดิการสังคม (Social Welfare) และเรียกการจัดระบบสังคมแบบนี้วา รัฐสวัสดิการ
(Welfare State)
76
ในดานสาธารณสุขมีการออกพระราชบัญญัติสาธารณสุขในป ค.ศ. 1848 กําหนดให
รัฐบาลทองถิ่นโดยเฉพาะเมืองตางๆ จัดตั้งคณะกรรมการสาธารณสุข มีอํานาจดูแลเรื่องน้ําประปา
การกําจัดขยะ ฯลฯ ทั้งนี้เพราะเมืองขยายตัวรวดเร็ว แออัด สกปรก และเปนแหลงเพาะเชื้อโรค
ในป ค.ศ. 1842 Edwin Chadwick (ค.ศ. 1800-1890) เลขาธิการของคณะกรรมาธิการ
พระราชบัญญัติคนจน (Secretary to the Poor Law Commissioners) ไดเสนอรายงานการ
สํารวจทั่วประเทศวาดวยสถานะของสุขภาพ (Report on the Sanitary Condition of the
Labouring Population) ซึ่งมีผลมากในการทําใหรัฐสภาออกกฎหมายทางดานสาธารณสุข
ทางดานการศึกษา ในป ค.ศ. 1870 รัฐสภาออกกฎหมายตั้งคณะกรรมการการศึกษา
ระดับทองถิ่น คณะกรรมการจะจัดใหมีโรงเรียนประถม ตอมาพระราชบัญญัติ ค.ศ. 1876
กําหนดใหเด็กศึกษาภาคบังคับจนถึงอายุ 10 ขวบ แลวขยายเปน 14 ขวบในป ค.ศ. 1918 ใน
อังกฤษตอนชวงปลายศตวรรษที่ 19 อังกฤษเริ่มลาหลังเยอรมนีในดานเทคนิค จึงมีการผลักดันให
รัฐสภาออกพระราชบัญญัติ 1902 กําหนดใหรัฐบาลทองถิ่นจัดและดูแลการศึกษาระดับมัธยม เด็กๆ
ลูกกรรมกรทุกคนไดรับการศึกษาชั้นประถมฟรี
และลูกกรรมกรที่มีความสามารถจํานวนมากขึ้นก็
สามารถศึกษาระดับมัธยมฟรีไดเชนกัน
สําหรับการชวยเหลือผูไมมีงานทําและยากจนมากนัน อังกฤษมีกฎหมายคนยากจน
้
(Poor Law) ตั้งแตป ค.ศ. 1601-1834 โดยที่รัฐบาลทองถิ่นจะเก็บภาษีเจาที่ดนและผูมีทรัพยสิน
ิ
และรายได นํามาแจกเปนอาหาร หรือสิงของหรือบางครั้งแจกเปนเงินดวยใหกับคนยากจนในทองที่
่
หรือรัฐบาลทองถิ่นอาจสรางบาน (Workhouse) ใหคนชรา หรือคนไมมีงานทําอยูและกินฟรี โดย
กําหนดใหทํางานอยูภายในบานนัน
้
4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของฝรั่งเศส
แมวาชนชั้นสูงของฝรั่งเศสร่ํารวย
ชาวบานธรรมดาก็มีชีวิตแบบพอยังชีพเทานั้น
ชาวนาผลิตโดยวิธีแบบเดิม ผลิตภาพต่ํา สวนเกินสงใหเจานาย ศาสนจักร และรัฐ เจานายใชแรงงาน
เกณฑ รับสวยเปนเงินและสิ่งของจากชาวนา แตเจานายไมไดลงไปจัดการไรนาดวยตัวเอง ชุมชน
หมูบานยังคงมีบทบาทสูง ชาวบานยังมีสิทธิใชที่ดนสวนกลาง การเปลี่ยนแปลงทางการผลิตเกษตรมี
ิ
นอย เพราะชาวบานไมมีทรัพยากรเหลือที่จะลงทุน ขณะที่พวกเจานายก็ไมสนใจลงทุนในการเกษตร
ใชจายสวนเกินในการบริโภค โดยเฉพาะซื้อของฟุมเฟอยและบริการที่ไมจําเปน รัฐใชเงินมากในการ
ทะนุบารุงกองทัพและทําสงคราม ศาสนจักรก็ใชเงินมากในการกอสรางของฟุมเฟอยเชนเดียวกับพวก
ํ
เจานาย
ดังนั้นการผลิตอุตสาหกรรมจึงเปนการผลิตขนาดเล็กและเปนการผลิตดวยมือ คือ
เปนการผลิตของหัตถกร ใชวัตถุดบทองถิ่น เชน ผลิตผาขนสัตว ผาฝาย หนัง และเหมืองแร เนื่องจาก
ิ
ประเทศฝรั่งเศสมีขนาดใหญและการคมนาคมไมดี ตลาดจึงมีลักษณะเปนตลาดทองถิ่น การผลิตที่
77
ไมมีประสิทธิภาพไมตองกลัวการแขงขันจากภายนอก แรงกระตุนใหมีอุตสาหกรรมขนาดใหญนั้นมา
จากรัฐ โดยการใหเงินทุนสนับสนุน โดยเฉพาะในสมัยพระเจาหลุยสที่ 14 (ครองราชย ค.ศ. 16431715) ภายใตการบริหารของเสนาบดีคอลแบรต (Jean Baptiste Colbert 1619-1683) แตไม
ประสบผลสําเร็จเทาไร
หลังจาก ค.ศ. 1715 นครปารีสขยายตัว เมืองทาฝงตะวันตกเฟองฟูขึ้นทําใหมีการ
ขยายการผลิตหัตถกรรมรอบๆ เมืองทาเหลานั้น แตการคากับตางประเทศก็ไมทําใหมีการเปลี่ยน
โครงสรางการผลิตภายใน ไมไดทําใหเกิดสินคาใหมๆ หรือผลิตดวยเทคนิคใหม และตอมาการคากับ
ตางประเทศของฝรั่งเศสก็ถูกกระทบกระเทือนเพราะสงคราม 7 ป (ค.ศ. 1756-1763)
การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสในชวงป ค.ศ. 1780-1840
ความสัมพันธในสาขาการเกษตรเปนแบบดั้งเดิม ประชากรสวนใหญเปนชาวนาที่
ผลิตเพื่อเลี้ยงชีพ การเกษตรที่ผลิตเพื่อตลาดปรากฏชัดเฉพาะในการผลิตเหลาองุน ซึ่งมีมากแถบ
แมน้ําลัวร (Loire) เพราะอยูใกลแถบชุมชนเมือง ยังคงมีการใหสิทธิพิเศษและยกยองชนชั้นเจานาย
ขุนนางอยางสูง ทําใหพวกกระฎมพีชอบซื้อตําแหนงราชการและซื้อทีดินใหตัวเอง แทนที่จะนําเงินไป
่
ลงทุนการคาและการอุตสาหกรรม
ฝรั่งเศสกอนการปฏิวัติในป ค.ศ. 1789 เปนระบบที่กษัตริยรวมอํานาจควบคุมเหนือ
เจานายและกระฎมพี พวกกระฎมพีจํานวนมากรับอุดมการณแบบฟวดัล ตอมาเมือมีการปฏิวัติ 1789
่
มีผลทําใหเกิดการออกกฎหมายที่สงเสริมสิทธิของปจเจกชน ยกเลิกกิล ยกเลิกภาษีการคาภายใน สิทธิ
เสรีภาพที่เกิดจากการปฏิวัตเปนสภาวะแวดลอมที่สงเสริมพัฒนาการอุตสาหกรรม
ิ
ชวงการปฏิวัติ
1789 สงผลเสียหายตอพัฒนาการเศรษฐกิจ คือ ตัดขาดการคากับดินแดนโพนทะเล เมืองทา
หลายแหงซบเซา การจราจลและศึกสงครามในชวงทศวรรษ 1780-1790 ทําใหการผลิตสินคา
อุปโภคบริโภคถูกจํากัด
ผลของการปฏิวัติ 1789 ทําใหชาวนามีกรรมสิทธิ์ในที่ทํากินของตน ไมตองสงสวย
ใหกับเจานายขุนนางอีกตอไป ชาวนาที่มเงินอาจซื้อทีดนเติมไดดวย ชาวนากลายเปนชนชั้นที่เปน
ี
่ ิ
เจาของที่ดินขนาดยอมทั่วไปในฝรั่งเศส สภาวะนี้ทําใหชาวนาไมอยากเคลื่อนยายเขามาเปนกรรมกร
ในเมือง สําหรับชาวนาที่มที่ดินนอยหรือไมมีที่ดินก็รบจางขาวนาที่มที่ดินทํางานอยูในชนบท หรือรับ
ี
ั
ี
งานหัตถกรรมทําเปนชิ้นในระบบหัตถกรรมที่แจกงานไปทําตามบาน
ชุมชนชาวนาผลิตเพือเลี้ยง
่
ตัวเองเปนหลัก คือผลิตธัญญาหารโดยเฉพาะขาวสาลีเพื่อเอาไปทําขนมปง
ในขณะเดียวกันการพัฒนาอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นแลวและเจริญอยางรวดเร็วบนเกาะ
อังกฤษ ผูประกอบการในฝรั่งเศสในกิจการสิ่งทอและโลหะไดลอกเลียนเทคโนโลยีจากอังกฤษบาง

ประกอบกับชนชั้นกระฎมพีสะสมความมั่งคั่งไดเพิ่มขึ้น และระบบกฎหมายหลังการปฏิวัติใหสทธิและ
ิ
เสรีภาพแกชนชั้นนี้ จึงเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมขึ้นในชวงตนศตวรรษที่ 19 กิจการ
อุตสาหกรรมของฝรั่งเศสเปนการผลิตขนาดยอม ผลิตสินคาคุณภาพพิเศษ คือ หรูหรา หรือมีรูปแบบ
78
เฉพาะนําแฟชันมากกวาสินคาธรรมดา ฝรั่งเศสสามารถสงสินคาคุณภาพพิเศษเหลานี้เปนสินคาออก
่
เชน ผาไหม ถุงมือ และถวยชามกระเบื้อง ดังนั้นแมจะมีการใชเครื่องจักรผลิตแลว สินคาจากฝรังเศส
่
ยังเนนลักษณะคุณภาพและรูปแบบพิเศษ อีกประการหนึ่งการผลิตอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในฝรั่งเศส
กระจายอยูเปนหยอมๆ และมีขนาดเล็กอยูในชนบท อุตสาหกรรมสิ่งทอยังใชชาวนาเปนแรงงาน
ในระบบกระจายงานไปทําตามบาน เหมืองและอุตสาหกรรมโลหะที่อยูในชนบทก็ใชแรงงานชาวนา
ฝรั่งเศสขนถานหิน อุตสาหกรรมหนักมีบทบาทนอย เปนอุตสาหกรรมสินคาอุปโภคบริโภค กิจการ
อุตสาหกรรมเปนธุรกิจครอบครัว การขยายตัวขึ้นอยูกบกําไรสะสมของกิจการเอง ระบบธนาคารและ
ั
การใหกูทําอุตสาหกรรมชากวาอังกฤษ
ในป ค.ศ. 1830 สาขาอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นแลวในฝรั่งเศส ประกอบดวย
อุตสาหกรรมสิ่งทอ แตเศรษฐกิจสวนใหญยังเปนเกษตรกรรม แหลงอุตสาหกรรมสิ่งทออยูที่มณฑล
Alasace สวนแหลงอุตสาหกรรมเหล็กอยูที่เมือง Le Creusot ใจกลางประเทศ อุตสาหกรรม
สวนใหญมีขนาดเล็ก เมื่อกลางศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศสมีคนงาน 3 ลานคน แตมีกิจการอุตสาหกรรมถึง
1.5 ลานกิจการ หมายความวา มีคนงานเฉลี่ยกิจการละ 2 คนเทานัน
้
กลาวโดยสรุปเศรษฐกิจของฝรั่งเศสจนถึงกลางศตวรรษที่ 19 สาขาเกษตรกรรมเปน
สาขาเศรษฐกิจที่ครอบงํา โดยเฉพาะการเพาะปลูกธัญพืชเพื่อบริโภคเปนอาหาร การคมนาคมมีไม
เพียงพอ และในสาขาอุตสาหกรรมสิ่งทอมีการพัฒนาเหนืออุตสาหกรรมสาขาอื่น
การพัฒนาอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสในชวงป ค.ศ. 1840-1895
มีการใชถานหินอยางแพรหลาย ใชเครื่องจักรไอน้ําเปนแหลงที่มาของพลังงาน และมี
การใชเครื่องจักรในอุตสาหกรรม คือ ปรากฏระบบโรงงานขึ้นชัดเจน มีการสรางทางรถไฟหลายสาย
จนสําเร็จเปนเครือขายครอบคลุมทั่วประเทศ มีปารีสเปนศูนยกลาง รัฐบาลเปนผูจัดหาที่ดนและวาง
ิ
รางรถไฟ แลวใหบริษัทเอกชนเชาโดยบริษัทเปนผูจดหารถจักรและรถพวง เนื่องจากฝรั่งเศสเปน
ั
ประเทศที่มีอาณาเขตกวางใหญ การสรางระบบทางรถไฟขึ้นมาไดจึงมีสวนชวยการคมนาคมมาก ทํา
ใหการผลิตเพื่อพอเลี้ยงตัวเองในแตละเขตเริ่มสลายตัวลง
อุตสาหกรรมถลุงเหล็กดวยฟนลด
ความสําคัญลง เพราะสามารถขนสงถานหินและแรเหล็กไดแลว ในป ค.ศ. 1850 ฝรั่งเศสมีทางรถไฟ
3,000 กิโลเมตร อีก 20 ปตอมาเพิ่มขึ้นเปน 17,500 กิโลเมตร ในป ค.ศ. 1851 ประชากรฝรั่งเศส
74.5 เปอรเซ็นต อาศัยอยูในชนบทหรือเมืองที่มีขนาดเล็กกวา 2,000 คน มีเมืองอยู 5 เมืองเทานั้น
ที่มีพลเมืองมากกวา 100,000 คน คือ ปารีส (Paris) มารไซย (Marseilles) ลียอง (Lyons)
บอรโดซ (Bordeaux) และรูอัง (Rouen) ในทีนี้มารไซย บอรโดซ และรูอังเปนเมืองทา ปารีสเปน
่
เมืองหลวงมีเพียงเมืองลียองเทานั้นที่เปนเมืองอุตสาหกรรม แตในป ค.ศ. 1872 ประชากร 2 ใน 3
อยูในเมืองและตั้งแต ค.ศ. 1850 แหลงอุตสาหกรรมจะมีจํานวนประชากรเพิ่มขึ้น
79
การนําพลังงานมาใชในโรงงานอุตสาหกรรม มีการใชเครื่องจักรไอน้ําในอุตสาหกรรม
สิ่งทอ ตั้งแต ค.ศ. 1812 แตการขยายตัวจริงๆ ของการใชเครื่องจักรไอน้ําอยูในชวง ค.ศ. 1815
1870 มีการใชอยูในมณฑล Nord มณฑลแถบแมน้ําแซน (Seine) ลัวร และมณฑล Haut-Rhin
ในเขต Alsace มณฑลเหลานี้ผลิตสิ่งทอ มีการใชเครื่องจักรไอน้ําในการปนดายฝาย ตามมาดวยการ
ใชในเหมือง ถลุงเหล็ก สรางเครื่องจักรและในโรงงานน้ําตาล อุตสาหกรรมฝรั่งเศสใชพลังน้ํามาก
ทําใหการเปลียนมาใชพลังงานไอน้าเกิดขึนชาๆ
่
ํ
้
ทีตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมในฝรั่งเศสตอนตน
่
ศตวรรษที่ 19 มักจะตั้งใกลน้ําตก หรือลําธารในหุบเขา Vosges ใน Alsace มีโรงงานปนดาย
อุตสาหกรรมโลหะที่ Franche Comte ริมธารน้ํา ซึ่งน้ําไหลเร็วทําใหอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสตอง
ตั้งอยูในที่ๆ หางไกลจากกัน
อุตสาหกรรมถานหิน
ฝรั่งเศสมีเหมืองถานหินแตมีไมมากเทากับอังกฤษ และมีปญหาวาแหลงถานหินอยู
หางไกลและการขนสงลําบาก ทําใหใชประโยชนจากถานหินไดไมเต็มที่ สิ่งเหลานี้เปนอุปสรรคตอ
การขยายตัวของอุตสาหกรรมในฝรั่งเศส ในป ค.ศ. 1850 ฝรั่งเศสมีแหลงถานหินทีสําคัญ 3 แหง คือ
่
′
1) แถบเมือง Saint – Etienne บนแมนาลัวร และไรนใกลเมืองลียองทางดาน
้ํ
ตะวันออกเฉียงใตของประเทศ แหลงนีผลิตไดประมาณครึ่งหนึ่งของฝรั่งเศส มีบริษัท Compagnie
้
Generale de Mines de la Loire เปนผูผลิต
^
2) แถบเมือง Blanzy Epinac และ Le Creusot ในมณฑล Saoneet – Loire
ใจกลางประเทศ แหลงนี้ผลิตได 1 ใน 10 ของประเทศ
3) แถบเมือง Valenciennes ในมณฑล Nord ทางเหนือ ดําเนินการโดยบริษัท

Compagnie des Mines d’Anzin
ทั้งแหลงที่ 1 และ 3 อยูหางจากปารีสมาก ตองสงมาทางน้าและทางบกหลายทอด
ํ
ในป ค.ศ. 1846 มีการคนพบแหลงถานหินที่ใหญที่สุดของฝรั่งเศส คือ ที่มณฑล Pas-de-Calois
มีการผลิตถานหินเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนกลายเปนแหลงอุตสาหกรรมที่สําคัญของฝรั่งเศส ผลผลิต
ถานหินทั้งหมดของฝรั่งเศสเพิ่มจาก 4.4 ลานตันตอป ในชวงป 1845-1849 เปน 15.4 ลานตัน
ตอปในชวงป ค.ศ. 1870-1874
อุตสาหกรรมเหล็ก
อุตสาหกรรมเหล็กของฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป มีการถลุงเหล็ก
ดวยฟนซึ่งหาไดงาย ทําใหกิจกรรมถลุงเหล็กของฝรั่งเศสอยูกระจัดกระจายทั่วไปในปา จนกระทั่งป
ค.ศ. 1848 ผลผลิตเหล็กมีถึง 2 ใน 3 ก็ยังคงถลุงเหล็กดวยฟนอยู การถลุงเหล็กดวยถานหินอยางดี
80
คือ ถานโคก ซึ่งเปนถานหินที่เอาแกสออกหมดแลว ในมณฑล Moselle ทางตะวันออกเฉียงเหนือ
ติดกับประเทศลักเซมเบอรก ตั้งแต ค.ศ. 1852 การผลิตเหล็กเพิ่มขึ้นเพราะมีความตองการรางรถไฟ
เพิ่มขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีการผลิตเหล็ก คือ มีการนําเอาวิธีผลิตเหล็กแบบ
Bessemer และแบบ Martin มาใช การถลุงเหล็กมีขนาดใหญขึ้น จางคนงานกวา 5,000 คน
ตอมาในป ค.ศ. 1869 ผลผลิตเหล็กทั้งหมดของฝรั่งเศสรวมกันทั้งหมด 1 ลานตัน
คือ มากกวาทุกประเทศในยุโรปยกเวนอังกฤษ ผูผลิตเหล็กกลาสําคัญของฝรั่งเศส คือ Petin Gaudet
และ Terre Noire ปญหาสําคัญของอุตสาหกรรมเหล็กในฝรั่งเศส คือ ขาดถานหินชนิดที่เรียกวา
ถานโคก
ชนชั้นกระฎมพีและชนชั้นกรรมาชีพในฝรั่งเศส
ชนชั้นกระฎมพีของฝรั่งเศสตองอยูภายใตชนชั้นเจานาย ชนชั้นกระฎมพีของฝรั่งเศส
ไดรวมตัวกับชนชั้นกรรมาชีพและหัตถกรในเมือง มีการจุดชนวนการปฏิวัติไดสําเร็จลมระบบเกาได
ชนชั้นกระฎมพีจึงไมพึ่งเจานาย โดยเฉพาะในป ค.ศ. 1871 ชนชั้นกระฎมพีเปนพันธมิตรกับชนชั้น
หัตถกรและกรรมาชีพในเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสจึงเกิดขึ้นในบรรยากาศทีชนชั้น
่
กระฎมพีมีอํานาจทางการเมืองแทนที่เจานายผูเปนเจาของที่ดิน ตอมาภายหลังป ค.ศ. 1871 ชนชั้น
กระฎมพีกับชนชั้นเจานายและขาราชการใชการบริหารและการพัฒนาเทคโนโลยีแทนการเมือง แกไข
การขัดแยงทางการเมืองระหวางชนชั้นและผลักดันใหมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ปราบปรามไมให
ี
หัตถกรและชนชั้นกรรมาชีพในเมืองมีอํานาจมากเกินไป
ชนชั้นกรรมาชีพของฝรั่งเศสในศตวรรษที่ 19 เกิดในรานฝกงานขนาดเล็ก
(Workshop) ไมใชโรงงาน (Factory) และถาทํางานในโรงงานมักเปนโรงงานขนาดเล็ก และยังมี
หัตถกรผูมีเครื่องมือการผลิตเล็กๆ นอยๆ และมีฝมือพิเศษเปนจํานวนมาก
4.5 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของเยอรมนี
พัฒนาการอุตสาหกรรมในเยอรมนีชากวาอังกฤษประมาณ 50 ป เริ่มประมาณ
ทศวรรษ 1830 อุปสรรคที่ขัดขวาง คือ การที่เยอรมนีไมมีสภาพเปนประเทศอันหนึ่งอันเดียวกันหลัง
เยอรมนีเปนสมาพันธรัฐ
คองเกรสแหงเวียนนา ค.ศ. 1815 (Congress of Vienna)
(Confederation) ประกอบดวยรัฐนอยใหญที่มีอํานาจอธิปไตยของตัวเองรวมกันถึง 39 รัฐ แตละรัฐ
มีดานภาษีของตัวเองเปนอุปสรรคตอการขนสงสินคาทําใหขนาดของตลาดแคบ
ยังผลใหไมมีการ
สงเสริมการกอตั้งโรงงานอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม

More Related Content

Viewers also liked

The presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobsThe presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobsPadvee Academy
 
Sustainable Architecture Design
Sustainable Architecture DesignSustainable Architecture Design
Sustainable Architecture DesignKevin Francis
 
Sustainable Architecture
Sustainable ArchitectureSustainable Architecture
Sustainable ArchitectureFu Sunke
 
High-tech Architecture
High-tech ArchitectureHigh-tech Architecture
High-tech ArchitectureKhaled Almusa
 
Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...
Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...
Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...Rohit Arora
 
Sustainable architecture
Sustainable architectureSustainable architecture
Sustainable architectureArundathi Pinky
 

Viewers also liked (6)

The presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobsThe presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobs
 
Sustainable Architecture Design
Sustainable Architecture DesignSustainable Architecture Design
Sustainable Architecture Design
 
Sustainable Architecture
Sustainable ArchitectureSustainable Architecture
Sustainable Architecture
 
High-tech Architecture
High-tech ArchitectureHigh-tech Architecture
High-tech Architecture
 
Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...
Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...
Hi- tech Architecture and its pioneering architects, Norman Foster , Richard ...
 
Sustainable architecture
Sustainable architectureSustainable architecture
Sustainable architecture
 

More from New Nan

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1New Nan
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยNew Nan
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาNew Nan
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตNew Nan
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่New Nan
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นNew Nan
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน New Nan
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์New Nan
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถาNew Nan
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)New Nan
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ New Nan
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ New Nan
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +New Nan
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !New Nan
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงNew Nan
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวยNew Nan
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอีNew Nan
 

More from New Nan (20)

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยา
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถา
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริง
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวย
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอี
 

การปฏิวัติอุตสาหกรรม

  • 1. การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) 4.1 ความหมายและปจจัยที่ทําใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเทคนิคการผลิตในขั้นมูลฐานจาก การเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตที่ใชมือมาเปนการใชเครื่องจักร ซึ่งประหยัดแรงงานในการผลิต วิธีการผลิตแบบอุตสาหกรรมภายในครัวเรือน (Domestic System) หรือระบบ ิ จายงานไปทําในบาน (Putting – Out System) ซึ่งนายจางเปนผูออกวัตถุดบใหลูกจางนําไปทํา การผลิตภายในบานเรือนของลูกจางเอง โดยที่ลูกจางจะเปนเจาของเครื่องมือที่ใชในการผลิตและจะ ไดรับคาตอบแทนจากจํานวนการผลิตที่ตนผลิตขึ้นเปนรายชิ้น กลายมาเปนการผลิตในระบบโรงงาน (Factory System) ซึ่งลูกจางจะตองเขาทํางานในโรงงานแบบเชาไปเย็นกลับ หรืออาจจะพักคางอยู ในบริเวณโรงงานนันเลยและไดคาจางเปนรายวัน นายจางจะเปนนายทุน คือ เปนเจาของวัตถุดบที่ใช ้ ิ และเปนเจาของทุนและเครืองมือเครื่องจักรที่ใชในการผลิตทั้งหมด ่ สําหรับปจจัยสําคัญทีผลักดันใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม ไดแก ่ 1. การพัฒนาวิทยาการทางเทคนิคดานอุตสาหกรรม ผลสําเร็จของการคนพบและความพยายามในการปรับปรุงเทคโนโลยีการรูจักใช เชื้อเพลิง ถานหินและพลังไอน้ากับเครื่องจักร ทั้งในการผลิตสิ่งทอและการคมนาคมขนสงทางบก ํ และทางน้า รวมทั้งตนแบบของอุปกรณเครื่องใชตางๆ ตั้งแตเครื่องพิมพดีด จักรเย็บผา กลองถายรูป ํ ไฟฟา โทรทัศน ฟลมภาพยนตร เครื่องเลนแผนเสียง จานเสียง รถยนต จักรยาน เหลานีลวนเปน ้ ความคิดของนักประดิษฐในคริสตศตวรรษที่ 19 ทั้งสิ้น 2. การขยายตัวทางการคาและการสะสมทุน ในสมัยลัทธิพาณิชยนิยมในชวงหลังของสมัยกลาง การคานอกจากจะกอใหเกิด ตลาด หรือความตองการตอสินคาใหมๆ จากหัตถอุตสาหกรรมแลว ยังเปนปจจัยกอใหเกิดการ หมุนเวียน และตลาดของปจจัยการผลิตที่มีราคาถูกจากดินแดนตางๆ ขนแกะ ใยฝาย และปจจัย การผลิตหลายชนิดมาถึงแหลงผลิตไดโดยอาศัยการขนสง คาขาย และในขณะเดียวกันก็สรางรสนิยม และความตองการของตลาดทั้งยุโรปและอเมริกา นอกจากนันการผลิตอุตสาหกรรมตองอาศัยทุน ้ ความมั่งคั่ง และเงินหมุนเวียนจํานวนมาก ดังนั้นตองมีการจัดหาพลังงาน วัตถุดบ และเทคนิควิธี ิ การผลิตสมัยใหม ซึ่งเปนปจจัยของการเกิดระบบอุตสาหกรรมที่ทันสมัยอยูเสมอ
  • 2. 66 3. การพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงทางดานเกษตรแผนใหม ไดแก การกั้นรั้วที่ดิน การใช ที่ดินแปลงใหญในการเพาะปลูก การรูจักใชปุย การใชเครื่องจักรทุนแรงงานการเกษตร เชน เครื่องชวยหวานเมล็ดพืช การคนหาพันธุพืชใหมๆ เพื่อผลผลิตพืชไรที่ดีทั้งดานปริมาณและคุณภาพ สําหรับสนองความตองการดานวัตถุดิบแกโรงงานอุตสาหกรรม เชน การปลูกฝายเสนใยยาวและเสน ใยสั้น การคัดพันธุแกะเนือ แกะขน เปนตน ยิ่งไปกวานันมีการขยายที่ดินทําการเพาะปลูกใน  ้ ้ ดินแดนทวีปอเมริกา แอฟริกาใต ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด เปนตน ทําใหที่ดินทีไมเคยใช ่ เพาะปลูกมากอน กอใหเกิดพืชผลเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก และหลั่งไหลเขาสูดินแดนยุโรป ประสิทธิภาพและผลผลิตทีเพิ่มขึ้นในสาขาเกษตรกรรม นอกจากจะเปนการเตรียมผูคนในสาขานี้ให ่ เปนตลาดปจจัยการผลิตและกําลังซื้อ (Purchasing Power) ของสินคาอุตสาหกรรมแลว ยังเปน แรงผลักดันใหเกิดการเคลือนยายแรงงานอิสระจํานวนมากเปนสิ่งสําคัญตอการดําเนินงานดาน ่ อุตสาหกรรมเพราะทําใหมแรงงานอยางเพียงพอที่จะตรึงใหราคาคาจางถูก สงผลใหตนทุนการผลิต ี ต่ํา และสามารถขายสินคาไดในราคาที่แขงขันได 4. การขยายตัวของประชากร หลังจากที่เกิดโรคระบาดรายแรงหลายครั้งในสมัยกลาง ผูที่รอดชีวิตจากโรค ระบาดไดยอมเปนผูมีรางกายแข็งแรงเปนพิเศษ ประชากรเหลานี้กลายเปนแรงงานคุณภาพอยูใน สาขาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม และที่สําคัญไปกวานั้นเมื่อประชากรเพิ่มขึ้นเสมือนเปนตลาดที่ สามารถรองรับผลผลิตและปอนปจจัยการผลิตทั้งสาขาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มตนในอังกฤษกอนแลวขยายแพรไปในประเทศยุโรปบาง ประเทศและสหรัฐอเมริกา แพรไปถึงญี่ปุนในชวงทายศตวรรษที่ 19 ประเทศที่มีการปฏิวัติ อุตสาหกรรมหลังจากนั้น คือ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เยอรมัน สหรัฐอเมริกา สวีเดน ออสเตรีย ฮังการี และอิตาลีตามลําดับ สาเหตุที่ทําใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมเกิดขึ้นในประเทศอังกฤษเปนแหงแรก มีปจจัยผลักดันที่สําคัญ 5 ประการ คือ 1. แหลงวัตถุดิบที่สําคัญ อังกฤษมีเสนใยขนแกะใชปอนกิจการสิ่งทอขนสัตว ซึ่งเปนสินคาออกที่สําคัญ  ของอังกฤษ ปริมาณขนแกะที่ไดเพิ่มขึ้นอยางมาก เพราะมีการลอมรั้วที่ดินสงเสริมการเลี้ยงแกะตั้งแต คริสตศตวรรษที่ 16 ทําใหอังกฤษมีวตถุดบสําหรับปอนระบบจายงานใหไปทําที่บานซึ่งมีอยูกระจาย ั ิ ทั่วประเทศ ยิ่งกวานั้นอังกฤษยังมีวัตถุดบ คือ ฝายซึ่งนํามาใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอ วัตถุดบฝายนี้ ิ ิ ไดมาจากอาณานิคมอินเดียและอเมริกา โดยอังกฤษสงพันธุฝายและเขาไปชักจูงใหดินแดนเหลานี้ ปลูกฝายขึ้น ดังนั้นอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายและผาขนสัตวทําใหประเทศอังกฤษพัฒนาอุตสาหกรรมได ผลสําเร็จ
  • 3. 67 2. สภาวะแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการคา อังกฤษเปนเกาะที่มีทะเลลอมรอบ มีอาวจอดเรือดีทําใหไดประโยชนในการคา ทางทะเล สืบเนื่องมาจากการสงเสริมการคาขายอยางกวางขวางในยุคกอน ภูมิอากาศอันหนาวเย็น ทําใหผคนในอังกฤษตองการปจจัยตางๆ ในการสรางบานเรือนใหเหมาะสมแข็งแรง ตองการเชื้อเพลิง ู ใหความอบอุน สิ่งเหลานีเปนความตองการสินคาตางๆ ก็จะเปนสิ่งกระตุนใหเกิดอุตสาหกรรม เพื่อ  ้ สนองความจําเปนในการใชสอยดังกลาว สิ่งที่สําคัญที่สดในขณะนั้นคือตลาดภายนอกและตลาด ุ ภายในประเทศขณะนั้นมีประสิทธิภาพ เพราะจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นมากและประชากรเหลานั้นมี ฐานะดี สามารถเปนกําลังซื้อ สนับสนุนการผลิตสินคาใหมๆ จากอังกฤษได โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศอังกฤษเปนประเทศแรกในการผลิตสินคาซื้อขายอยางกวางขวางทั่วโลก ในขณะที่ยุโรปทั่วไป ยังเต็มไปดวยสงครามรบพุงชิงอํานาจกัน อังกฤษจึงไดประโยชนจากตลาดใหญที่มีประสิทธิภาพนี้แต เพียง ผูเดียว 3. ทางดานพลังงาน อังกฤษมีถานหินอยางมากมายและอยูใกลแหลงที่ตั้งอุตสาหกรรมหนัก ทําให คาขนสงถูก การที่เชื้อเพลิงถานหินราคาถูก อังกฤษจึงพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กขึ้นไดจนเปนผูนา ํ ของโลก ทั้งๆ ที่อังกฤษมีแรเหล็กไมมากนัก แตไดอาศัยเหล็กแทงวัตถุดบที่ขนสงจากประเทศแถบ ิ ทะเลบอลติกมาปอนอุตสาหกรรมของตน 4. การประดิษฐคิดคนเทคโนโลยี อังกฤษเปนประเทศที่มีการใชเทคโนโลยีใหมๆ ในรูปของประดิษฐกรรมประเภท สินคาทุนตางๆ ประเภทเครื่องจักรกลที่ใชผลิตสินคาอุปโภคอีกตอหนึ่ง อีกทั้งมีเครือขายการคมนาคม ซึ่งทําใหการกระจายผลผลิตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 5. นโยบายการเงินการคลัง ชวงการปฏิวัติอุตสาหกรรมนั้น กษัตริยองกฤษพระเจาเฮนรี่ที่ 3 ไดทรงดําเนิน ั นโยบายไดเหมาะสม การลดคาของเงินในป ค.ศ. 1536 และ ค.ศ. 1539 ทําใหราคาสินคาสูงขึ้นทันที ในขณะที่คาจางที่เปนตัวเงินยังไมทันสูงขึ้น ทําใหอตสาหกรรมไดกําไรสูง ประกอบกับอังกฤษพัฒนา  ุ เทคโนโลยีใหมๆ เปนชาติแรก ทําใหเกิดการผลิตสินคาตางๆ จํานวนมากดวยตนทุนที่ลดลง ชักจูง ใหมีผูประกอบการลงทุนทํากิจกรรมการผลิตใหมๆ อยางแพรหลาย ดังนั้นเพื่อใหเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม สามารถ แบงชวงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษออกเปน 2 ชวง คือ ก. การปฏิวัติอุตสาหกรรมชวงที่ 1 และกําเนิดของชนชั้นกระฎมพี (ค.ศ. 17801840) ข. การปฏิวัติอุตสาหกรรมชวงที่ 2 (ค.ศ. 1840-1895)
  • 4. 68 4.2 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษชวงที่ 1 และกําเนิดของชนชั้นกระฎมพี (ค.ศ. 17801840) อังกฤษกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกเพราะเหตุผลหลายประการ นับตั้งแตพระเจาวิลเลี่ยมที่ 3 เปนกษัตริย อังกฤษมีความมั่นคงทางการเมือง รัฐสภาของอังกฤษเต็ม ไปดวยนักธุรกิจและเจาของที่ดิน และสิงที่คนพวกนี้หวงกังวลมากก็คือความเจริญรุงเรืองของตนเอง ่  และของประเทศชาติ ชนชันปกครองของอังกฤษมีความสนใจเรื่องการคาเปนสําคัญ พวกคนชั้นสูง ้ พอคาและเจาของที่ดินในอังกฤษพรอมที่จะเอาเงินมาลงทุนสรางโรงงานใหมๆ ทําเหมืองถานหิน และ ถลุงเหล็ก ระหวาง ค.ศ. 1801-1831 ประชากรอังกฤษ 15 เปอรเซ็นตของประชากรทั้ง ประเทศซึ่งมีอยู 10.7 ลานคน อาศัยอยูในเมืองและในป ค.ศ. 1880 อัตราสวนนี้เพิ่มขึ้นเปน 80  เปอรเซ็นตของประชากรทั้งประเทศ 29.8 ลานคน ในป ค.ศ. 1801 ขณะนั้น 40 เปอรเซ็นตของ แรงงานทํางานในกิจการอุตสาหกรรม ตอมาในป ค.ศ. 1871 อัตราสวนนี้เพิ่มขึ้นเปน 65 เปอรเซ็นต แรงงานในภาคเกษตรลดลงจาก 35 เปอรเซ็นต เหลือ 15 เปอรเซ็นต การสะสมทุนเพิ่มขึ้นจาก 5 เปอรเซ็นต เปน 10 เปอรเซ็นตของรายไดประชาชาติระหวาง ค.ศ. 1780-1860 การประดิษฐคิดคนเครื่องจักร การเปลี่ยนสภาพจากการเปนเกษตรกรและทํางานอยูในโรงงานขนาดเล็กๆ มาเปน ระบบโรงงานใหญโต จะไมสามารถเกิดขึนไดถาหากไมมีการประดิษฐผลงานหลายอยางของชาวสกอต ้ และชาวอังกฤษหลายคนในชวงนั้น ในป ค.ศ. 1733 จอหน เดย จดทะเบียนสิทธิบัตรเรื่องการ ประดิษฐกระสวยบินซึ่งทําใหสามารถทอผาไดเพิ่มเปนสองเทา แตเดิมสิ่งประดิษฐของเดยมี จุดมุงหมายเพือใชในอุตสาหกรรมทอผาขนสัตว ตอมาไดรับการดัดแปลงไปใชกบเครื่องทอผาฝายใน ่ ั แลงคาเชียร และในบริเวณตะวันตกเฉียงใตของสกอตแลนด James Watt (ค.ศ. 1736-1819) นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษเปนผูแกไขขอ  บกพรองตางๆ โดยนําเอาเครื่องคอนเดนเซอรมาประกอบในป ค.ศ. 1769 พอถึงป ค.ศ. 1781 เจมส วัตต ก็ไดดัดแปลงเครื่องยนตไอน้าดีขึ้นจนขับรถได หลังจากนั้นเครื่องยนตไอน้ําก็ถูกนํามาใช ํ ในโรงงานเพื่อขับดันเครื่องทอผาและเครื่องจักรกลทุกชนิด นอกจากนี้เครื่องจักรไอน้ํายังสามารถ นํามาใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ใชถายเทน้ําออกจากเหมือง ใชในโรงงานน้ําตาล แปง และใชใน  โรงงานทําเบียร และปนภาชนะ เครื่องจักรไอน้ําตองการการลงทุนจึงตองมีการผลิตขนาดใหญจึงจะ ประหยัด ดังนั้นจึงทําใหเกิดโรงงานและการกระจุกตัวของกรรมกรหลายรอยคนอยูในโรงงานเดียวกัน
  • 5. 69 อุตสาหกรรมสิ่งทอฝาย การนําเอาเครื่องจักรไอน้ําไปใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายถือวาเปนการปฏิวัติ การผลิตสิ่งทอ และเปนการเริ่มการปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษและของโลก สิ่งทอฝายเปน อุตสาหกรรมที่เจริญกาวหนารวดเร็วที่สุดในอังกฤษ และเปนสินคาออกที่เพิ่มเร็วที่สุด โรงงานสิ่งทอ ในชวงแรกๆ สรางขึ้นในบริเวณใกลๆ น้ําตก และลําธารที่มีกระแสน้ําเชี่ยว แตเมื่อมีการผลิต เครื่องจักรไอน้ําขึ้นมา ในไมชาการสรางโรงงานก็ยายมาตั้งภายในบริเวณตัวเมืองที่มีแหลงถานหินอยู ใกลๆ อุตสาหกรรมสิ่งทอฝายกระจายอยูในชนบทแถบรอบๆ เมืองแมนเชสเตอรและกลาสโกว ตอมา ในทศวรรษ 1790 เกิดการเจริญเติบโตของเมืองที่มีโรงงานปนดายฝาย (Cotton Spinning Industry)  86 เปอรเซ็นตของอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายของอังกฤษกระจุกตัวอยูในเขตเชสเชอร (Cheshire) และ แลงคาเชียร (Lancashire) การปนดายทําไดเร็วมากสามารถผลิตในโรงงาน เพราะมีเครื่องจักร ปนดายจากการประดิษฐของ James Hargreves (ค.ศ. 1702-1778) ซึ่งเครื่องทอผาของทานผูนี้ คือ Spinning Jenny ทํางานไดเทากับคนทอผา 8 คน หลังจากนั้นก็มีเครื่องทอผา Water Frame ของ Richard Arkwright (ค.ศ. 1732-1792) ซึ่งใชพลังน้ําสามารถปนดายที่เหนียวใชเปนเสนยืน ทอผาได ฝายดิบเปนวัตถุดบที่ใชสําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ ฝายดิบที่เอามาปนดวยระยะแรก ิ นําเขามาจากหมูเกาะอินเดียตะวันตก (The West Indies) แตหลังจากนั้นนําเขาจากสหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 1810 ฝายดิบนําเขาจากสหรัฐอเมริกาประมาณครึ่งหนึ่งและในชวง ค.ศ. 1846-1850 นําเขาฝายดิบจากสหรัฐอเมริกาถึง 80 เปอรเซ็นต กอน ค.ศ. 1790 สิ่งทอฝายของอังกฤษผลิตเพื่อสนองความตองการภายในประเทศ ตอมาในชวงสงครามนโปเลียนกอน ค.ศ. 1815 ตลาดสหรัฐอเมริกาเขามาแทนทีตลาดภาคพืนทวีป ่ ้ และหลังจากนันป ค.ศ. 1840 อินเดียกลายเปนตลาดสําคัญที่สดแทนที่ตลาดสหรัฐอเมริกา แสดงให ้ ุ เห็นถึงแนวโนมตลาดสิ่งทอฝายของอังกฤษที่เคลื่อนยายจากประเทศพัฒนาแลวไปยังประเทศดอย พัฒนา เพราะประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกา คอยๆ พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอของตนขึ้นมาก็ลดการ สั่งสิ่งทอเขาจากอังกฤษ อุตสาหกรรมผาขนสัตว ขณะที่อุตสาหกรรมสิ่งทอฝายมีความสําคัญสูงสุดในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ อังกฤษชวงที่ 1 ค.ศ. 1780-1840 อุตสาหกรรมผาขนสัตว (Woolen textiles) ซึ่งเคยมี ความสําคัญมากอนและทําใหเกิดการขยายตัวของระบบทุนนิยมกลับลดความสําคัญลงไป หลังจาก ทศวรรษ 1780 แลวอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายขึ้นมาแทนทีอุตสาหกรรมผาขนสัตว สาเหตุที่อุตสาหกรรม ่ ผาขนสัตวพฒนาไมรวดเร็วนักเมื่อเทียบกับสิ่งทอฝาย เพราะเปนอุตสาหกรรมเกาแกขยายตัวมาแต ั เดิมแลว พึ่งตลาดภายในซึ่งไมมีโอกาสขยายตัวเร็วเหมือนตลาดตางประเทศ รวมทั้งการนําเทคโนโลยี
  • 6. 70 ใหมมาใชในอุตสาหกรรมนีก็ดําเนินไปอยางลาชา มีการตอตานการนําเขาเครื่องจักรเขามาใชจากชาง ้ ทอผาขนสัตว การทอผาขนสัตวกวาจะใชเครื่องจักรอยางจริงจังก็หลัง ค.ศ. 1850 แลว กําเนิดชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรม (Industrial Bourgeoisie) การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษไมไดเกิดจากการวางแผนของรัฐ แตเกิดจากการ ริเริ่มของกลุมบุคคลผูมความมุงมั่น ทะเยอทะยาน มีแนวคิดมองการณไกล เห็นโอกาสของการคนพบ ี เทคนิคที่มีตอการผลิตและทํากําไร ประหยัดและใชทรัพยากรทุกชนิดลงทุน จุดมุงหมายเบื้องตน เพราะอยากรวย แตกตองการทําสังคมใหเจริญดวย โดยผลิตสินคาที่มีราคาถูกและดี กลุมคนเหลานี้ ็ คือชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรม ชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมของอังกฤษเกิดในอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายและเหล็ก โดยเฉพาะหลัง ค.ศ. 1785 ที่อุตสาหกรรมสิ่งทอฝายกลายเปนระบบโรงงานขึ้นตามมาดวยอุตสาหกรรมอื่นๆ แมวาชนชั้นเจาทีดินมีสวนอยางมากในการสนับสนุนพัฒนาการของระบบทุนนิยมและ ่ อุตสาหกรรม แตชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมไมใชเจาทีดิน เปนชาวนา เปนเจาของรานคาเล็กๆ เปน ่ ้ หัตถกรในชนบท (rural artisan) เปนเจาของโรงเตี๊ยม การตังโรงงานอุตสาหกรรมในระยะนั้น ตองการทุน เริ่มตนไมสูงมากนัก สวนใหญยืมมาจากเพื่อนและญาติพี่นอง ไมใชเอาทุนจากพอคาหรือ กําไรจากการคา หรือกูมาจากธนาคาร การเริ่มกิจการอุตสาหกรรมในระยะเริ่มตนนั้นใชทุนขนาดยอม และเมื่อจางแรงงานไดกลาเริ่มกิจการ รูจักประยุกตเทคโนโลยีกบการผลิตก็เริ่มงานได ั กรณีการเกิดชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมจากชาวนาและหัตถกรอิสระ เกิดนายทุน จากผูผลิตเพือขายขนาดยอม (Petty Commodity Producer) ที่กอการอุตสาหกรรมเริ่มตนจาก ่ เงินทุนไมมากนัก เทคนิคการผลิตยังไมซบซอน หัตถกร หรือชางสมัครเลนก็คิดคนและคิดปรับปรุง ั เครื่องจักรกล ลงทุนจากเงินที่ตัวเองเก็บสะสมไว หรือยืมในทองถิ่น ลงทุนซ้ําจากกําไรของตัวเอง คือ ใชตัวเองเปนแหลงทุน (Self – Financing) ไมไดพึ่งธนาคารอังกฤษจึงเปนกรณีพิเศษที่ชาวนา อิสระและหัตถกรสามารถพัฒนา 2 ทาง สวนหนึ่งพัฒนาเปนนายทุนอุตสาหกรรม อีกสวนหนึ่ง ลมละลายกลายเปนกรรมกร ชนชั้นกระฎมพีอุตสาหกรรมไมมีวัฒนธรรมของตัวเอง ไมมีการสรางสรรค หรือริเริ่ม เปลี่ยนแปลงใดๆ ชนชั้นนี้จงมีสวนผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและความกาวหนาทางสังคม ึ นอยมาก เพราะไดรับการศึกษาไมเกินการศึกษาขั้นตน ตอมาเมื่อมีการปรับปรุงระบบการศึกษาให บุคคลโดยทั่วไปไดรบการศึกษาทั่วถึงกัน ดวยการศึกษาที่สูงนี้เองทําใหพวกกระฎมพีเขามามีอํานาจ ั ทางการเมืองมากขึ้น
  • 7. 71 การกอตัวของชนชั้นกรรมาชีพ เมื่อเริ่มปฏิวัติอุตสาหกรรม กรรมกรมาจากชนบท แตเมื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ดําเนินไปอยางแข็งขันในชวง ค.ศ. 1780-1800 กรรมกรมาจากประชากรที่เพิ่มขึ้นในเมืองเองเพราะ ในอังกฤษประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จาก 5.5 ลานคนกอน ค.ศ. 1700 ซึ่งรวมทั้งอังกฤษและ เวลส เปน 9 ลานคนใน ค.ศ. 1801 และ 18 ลานคนใน ค.ศ. 1851 เนื่องจากอัตราการเกิดเพิ่มขึ้น หลังจาก ค.ศ. 1740 ประชากรอังกฤษจึงเปนเด็กและคนหนุมสาวในชวงศตวรรษที่ 18 ตอนปลาย และศตวรรษที่ 19 เด็กและคนหนุมสาวเหลานี้ที่เปนกรรมกรในกิจการอุตสาหกรรม นอกจากนั้นก็ เปน ผูที่เคลื่อนยายมาจากชนบท ซึ่งก็คือ พวกชาวนาอิสระทีถูกชนชั้นกระฎมพีกวานซื้อที่ดินไป ่ รวมทั้งหัตถกรที่ลมละลายเพราะแขงขันสูอุตสาหกรรมไมได ความเปนอยูของกรรมกรในชวงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 กรรมกรมีชีวิตอยูอยางยากลําบาก โดยเฉพาะในชวงระยะตนของการปฏิวัติอุตสาหกรรม เมื่อทํางานกับเครื่องจักร งานดูไมสนุกและนาเบื่อ กรรมกรตองทํางานตามเวลา ตองทํางาน สิ่งเดียวกันซ้ําแลวซ้ําเลาโดยไมเห็นคาทางเทคนิคและสังคมของสิ่งที่เขาทํา ไมมีเสรีภาพเหมือนกับ การทําการเกษตร ไมอาจจัดการทํางานอยางที่เขาตองการได ตองทํางานนานชั่วโมงภายใตการควบคุม ไมมีเวลาหยุดพักเพื่อคิดถึงฐานะของตัวเองหรือตอตาน มักหาทางออกดวยการดื่มเหลา มีการใช แรงงานของผูหญิงและเด็กจํานวนมากเพราะคาจางถูก เด็กทํางานบางครั้งตั้งแตอายุ 5-6 ขวบ ทํางานนาน 10-12 ชั่วโมงตอวัน ทําใหไมไดไปโรงเรียน ไมมีการศึกษา การเคลื่อนไหวของกรรมกรเมื่อเริ่มแรกเปนการลุกฮือโดยไมมีการจัดตั้งองคกรถาวร ผูนํามักมาจากพวกหัตถกรและกระฎมพีนอย (Petty bourgeoisie) การลุกฮือของ Luddite เกิดขึ้น ทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษในป ค.ศ. 1811 - 1812 รวมถึงการเคลื่อนไหว ่ ของกรรมกรกับหัตถกร พวก Luddite เขาทําลายเครืองจักร พวกนี้กลาวหาวา เครื่องจักรทําใหเขา วางงาน เครื่องจักรทําลายวิธีการผลิตแบบเดิม การเรียกรองครั้งสําคัญตอขบวนการ Chartist ระหวางป ค.ศ. 1838-1848 เปนขบวนการของชนชั้นกรรมาชีพที่กวางขวางครอบคลุมระดับชาติ เกิดขึ้นในเมืองใหญเกือบทุกเมือง พวก Chartist ตองการใหกรรมกรมีอํานาจในรัฐสภา มีอํานาจ ในทางการเมือง จะไดปรับปรุงสภาพความเปนอยูของแรงงานได 4.3 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษชวงที่ 2 (ค.ศ. 1840-1895) สาขาอุตสาหกรรมหลักเปลี่ยนจากสิ่งทอฝายเปนถานหินและเหล็ก จากอุตสาหกรรม ผลิตสินคาอุปโภคบริโภค เปนอุตสาหกรรมหนักเครื่องจักร พาหนะ รถไฟ และเรือเดินสมุทร
  • 8. 72 อุตสาหกรรมถานหิน ถานหินเปนหัวใจของอุตสาหกรรมหนัก เปนเชื้อเพลิงในการถลุงเหล็กและทําความ รอนในเครื่องจักรไอน้ํา มีบทบาทมากในอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมโลหะเครื่องสูบน้ําออกจาก เหมือง หัวรถจักร เรือกลไฟ ฯลฯ ในขณะนั้นอังกฤษมีอุตสาหกรรมถานหินและทําการผลิตมากกวา ทุกประเทศในยุโรป การผลิตถานหินของอังกฤษเพิ่มขึ้นชาๆ ในศตวรรษที่ 18 และเพิ่มขึ้นรวดเร็วใน ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในชวง ค.ศ. 1830 –1865 จากประมาณ 22 ลานตันตอปใน ค.ศ. 1825 เปน 110 ลานตันตอปใน ค.ศ. 1870 สําหรับการผลิตถานหินนัน อับราฮัม ดารบี้ (Abraham ้ Darby) คนพบวา ถาหากเอาถานหินมาทําเปนถานโคกจะใหความรอนรุนแรง ดังนั้นจึงนํามาใชแทน ถานธรรมดาไดดี ถานโคกจึงถูกนํามาใชอยางแพรหลาย บอถานหินของอังกฤษอยูที่สกอตแลนดระหวางเมืองเอดินเบิรก (Edinburgh) กับ กลาสโกว (Glasgow) ที่เมืองนิวคาสเซิล (Newcastle) เชฟฟลด (Sheffield) แมนเชสเตอร (Manchester) เบอรมิงแฮม (Birmingham) และทางทิศตะวันตกเฉียงใตของเวลสแถบเมือง ิ ิ ่ สวันซี (Swansea) บอถานหินเหลานี้อยูในที่ดนของเจาที่ดนและเปนของเจาที่ดิน เจาทีดิน สงเสริม การขุดถานหิน การสรางคลองเพื่อขนสงถานหินไปยังเมืองอุตสาหกรรม เมื่อเกิดการปฏิวัติ อุตสาหกรรมชวงกลางทศวรรษที่ 19 แหลงอุตสาหกรรมของอังกฤษมี 6 แหง คือ 1) ในสกอตแลนด ระหวางเอดินเบิรกกับกลาสโกวผลิตสิ่งทอฝาย 2) นิวคาสเซิลผลิตเรือเดินสมุทร 3) ลิเวอรพูล แมนเชสเตอร ลีดส และเชฟฟลด ทําอุตสาหกรรมโลหะและสิ่งทอ 4) เบอรมิงแฮม ทําอุตสาหกรรม โลหะ 5) เวลสทางตอนใตระหวางสวันซี (Swansea) และ คารดีฟ (Cardiff) ทําอุตสาหกรรม โลหะ 6) ลอนดอน ทําเรือเดินสมุทร สิ่งทอและเครื่องจักร เหมืองถานหินใชแรงงานเขมขน ตอนแรกใชแรงงานผูหญิงและเด็กชวย ตอมาได แรงงานมาจากไอรแลนด (Ireland) และสกอตแลนด ใน ค.ศ. 1841 มีผูทํางานในเหมืองถานหิน 200,000 คน เพิ่มเปน 500,000 คนใน ค.ศ. 1880 หลังจากเปดเหมืองไประยะหนึ่งจะมีปญหา  น้ําทวมตองสูบน้ําออก การคิดคนเครื่องสูบน้ําดวยพลังไอน้ําจึงเปนการแกปญหาที่สําคัญ รวมทั้งการ คิดคนตะเกียงนิรภัยในป ค.ศ. 1815 ทําใหอุบติเหตุจากการระเบิดของแกสในเหมืองเล็กๆ ลดลง ั มาก สิ่งเหลานี้ทําใหผลผลิตถานหินเพิมขึ้น อยางไรก็ตามเหมืองถานหินเปนกิจการที่ใชเครื่องจักร ่ ชวยไดไมมาก ดังนันจึงยังคงตองใชแรงงานคนในการทําเหมืองจํานวนมากเชนเคย ้ อุตสาหกรรมเหล็ก มีความสําคัญใน ค.ศ. 1840 อุตสาหกรรมเหล็กใชวัตถุดิบที่มีในอังกฤษเอง คือ แร เหล็ก เหล็กเปนวัสดุทใชในอุตสาหกรรมหลายชนิด เชน รถไฟและเรือเดินสมุทร ทอแกสและทอน้ํา ี่ ตางๆ เครื่องจักร ฯลฯ ในป ค.ศ. 1840 อังกฤษผลิตเหล็กไดมากกวา 1 ลานตันตอป 20 ปตอมา  ผลิตเพิ่มขึ้นเปน 3 เทา ในป ค.ศ. 1870 อังกฤษผลิตเหล็กได 7.7 ลานตัน หลังจากนั้นผลผลิตก็
  • 9. 73 เพิ่มขึ้นชาๆ สวนเหล็กกลาซึ่งเปนเหล็กผสมกับถาน ผลิตไดเพิ่มขึ้นมากในชวงทศวรรษ 1860 และ 1870 หลังจากคิดคนใชวิธผลิตแบบ Bessemer ในป ค.ศ. 1870 วิธีผลิตเหล็กกลาแบบ Bessemer ี เปนการถลุงเหล็กโดยใชความรอนสูง ซึ่ง Henry Bessemer (1813-1898) คิดคนขึ้นในป ค.ศ. 1856 ทําใหผลิตเหล็กกลาไดในราคาถูก ผลผลิตเหล็กกลาจึงเพิ่มสูงขึ้นมากเชนกัน ในป ค.ศ. 1870 อังกฤษผลิตเหล็กกลาไดมากกวาเยอรมนีกับสหรัฐอเมริการวมกัน แตพอถึงทศวรรษ 1880 อัตราการ เพิ่มขึ้นของผลผลิตเหล็กกลาของอังกฤษก็ชากวาสหรัฐอเมริกา และเยอรมนี ในทศวรรษ 1880 สหรัฐอเมริกาผลิตเหล็กกลาและเหล็กธรรมดาไดมากกวาอังกฤษและกลางทศวรรษ 1890 เยอรมนีก็ ผลิตเหล็กกลาไดมากกวาอังกฤษ รวมทั้งผลิตเหล็กธรรมดาไดมากกวาอังกฤษตั้งแต ค.ศ. 1905 อีก ดวย กลาวไดวา ยุคทองที่สุดของอังกฤษคือกลางศตวรรษที่ 19 หรือยุค Victorian ที่อังกฤษพัฒนา อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา เปนผูนําที่สดหลังการรุงเรืองของอุตสาหกรรมสิ่งทอฝายประมาณ ุ 50 ป อังกฤษมีถานหินมากทําใหสามารถผลิตเหล็กไดในราคาถูก นอกจากนี้ยังมีที่ตั้งโรงงาน ถลุงเหล็กใกลๆ เหมืองถานหิน ขณะเดียวกันอุปสงคตอเหล็กสูงขึ้นมากเพราะการขยายตัวของกิจการ รถไฟ การนําเหล็กไปใชในการตอเรือ และความตองการเหล็กเพื่อเปนสินคาออกอีกดวย กิจการรถไฟ ในระหวาง ค.ศ. 1830-1850 มีการสรางทางรถไฟสายสําคัญในอังกฤษ ในป ค.ศ. 1850 อังกฤษสงรถไฟและรางรถไฟเปนสินคาออก ในชวงหลังของศตวรรษที่ 19 มีการสราง ทางรถไฟทั่วโลก หลายแหงใชอุปกรณรถไฟและความรูวศวกรรมรถไฟของอังกฤษ ทางรถไฟสายแรก ิ ของโลก คือ สตอคตัน (Stockton) กับดารลิงตัน (Darlington) ในเขตยอรคเชียร (Yorkshire) ใตเมืองนิวคาสเซิล สรางเมื่อ ค.ศ. 1825 เพื่อขนสงถานหิน คือ เดิมนั้นมีการวางเหล็กและใช รถบรรทุกมีลอเลื่อนบนรางอยูแลวใชมาลากเปลี่ยนมาเปนรถจักรไอน้ําลากบนรางรถไฟสายสตอคตันดารลิงตันนี้ รถจักรไอน้ําคิดคนโดย George Stephenson (ค.ศ. 1781-1848) สายที่สําคัญ คือ ลิเวอรพูล–แมนเชสเตอร สรางใน ค.ศ. 1830 เพื่อใชกับรถไฟโดยเฉพาะและเนนการขนสงผูโดยสาร ในชวงป ค.ศ. 1830-1850 เปนยุคสรางทางรถไฟ ในป ค.ศ. 1850 อังกฤษมีรางรถไฟยาว 9,734 กิโลเมตร และเมื่อถึง ค.ศ. 1870 2 ใน 3 ของทางรถไฟของอังกฤษสรางเสร็จเปนระยะทางยาว 21,699 กิโลเมตร เปนการลงทุนของเอกชนทั้งสิ้น รถไฟขนสงไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพไมขึ้นกับดินฟาอากาศเหมือนกับรถหรือเรือ ทําใหตลาดกวางขึ้น เกิดการประหยัดจากขนาดและการผลิตเฉพาะอยาง ผลที่สําคัญ คือ การขนสง ถานหินและเหล็ก เชน การโยงถานหินของเขตยอรคเชียรใตกับเหล็กของเขตนอรธแฮมตันเชียเขา ดวยกัน การขนสงสินคาเกษตรทั้งธัญพืชที่หนักและสิ่งที่เนาเสียงาย เชน ผลไมและนม และทําให ผูคนทีไมเคยเดินทางมากอนสามารถเดินทางได การขนสงทางรถไฟทําใหการติดตอสื่อสารเปนไป ่
  • 10. 74 โดยสะดวก เชน ขนสงหนังสือพิมพและจดหมาย ทําใหเมืองขยายตัวรวมชานเมืองเขามาดวย กิจการ รถไฟทําใหอตสาหกรรมเหล็กกาวหนารวดเร็ว ุ นโยบายการคาระหวางประเทศของอังกฤษ ในศตวรรษที่ 19 อังกฤษใชนโยบายการคาระหวางประเทศและนโยบายเศรษฐกิจ ิ เสรีนิยม (Liberalism) แทนที่นโยบายพาณิชยนยม (Mercantilism) เมื่อตนศตวรรษที่ 18 นโยบายเสรีนิยมปลอยใหการสงสินคาออกและการสั่งสินคาเขาเปนไปโดยเสรี ไมกดกันสินคาเขา ในป ี ค.ศ. 1842 อังกฤษออกกฎหมายยกเลิกการคุมครองการผลิตขาวโพดภายในประเทศ (Repeal of the Corn Laws) ใหธัญพืชเขาอังกฤษไดเสรี ทั้งนี้เปนไปตามแนวคิดของอดัม สมิธ (Adam Smith 1723-1790) บิดาของวิชาเศรษฐศาสตร นักคิดเสรีนิยมชาวสกอตแลนดที่วา หากปลอยใหมีการ แลกเปลี่ยนโดยแขงขันและสมัครใจ การแลกเปลี่ยนจะใหประโยชนแกผูแลกเปลี่ยนทั้งสองฝาย และ แกสังคมสวนรวม แตละบุคคลจะผลิตสิงที่เขาถนัดที่สด และมีโอกาสเลือกที่จะแลกเปลี่ยนกับผูที่ให ่ ุ ประโยชนแกเขาสูงสุด ระบบตลาดซึ่งเกิดจากการแลกเปลี่ยนจะเปนผูกําหนดการจัดสรรใชทรัพยากร ของเศรษฐกิจ ทําใหมีการใชทรัพยากรในทางที่เปนประโยชนสูงสุดแกปจเจกชนและสังคม ลัทธิ เสรี นิยมทางเศรษฐกิจของสมิธไดมีสวนผลักดันใหเกิดนโยบายการคาเสรี และจํากัดการแทรกแซงของ รัฐบาลในเศรษฐกิจและในการพัฒนาอุตสาหกรรมของอังกฤษ ในดานการคาระหวางประเทศอังกฤษไมใชนโยบายกําแพงภาษีกดกันสินคาเขาเพื่อ ี ชวยอุตสาหกรรมภายใน ตั้งแตเริ่มศตวรรษที่ 19 จนถึง ค.ศ. 1870 สินคาออกของอังกฤษเพิ่ม เร็วมาก สินคาออกเพิ่มในอัตราสูงกวาอัตราการเพิ่มของรายไดประชาชาติ เมื่อ ค.ศ. 1800 การคา ระหวางประเทศหรือสินคาออกรวมกับสินคาเขา คิดเปน 32 เปอรเซ็นตของรายไดประชาชาติ ในป ค.ศ. 1855 คิดเปน 35 เปอรเซ็นต และในป ค.ศ. 1875 คิดเปน 50 เปอรเซ็นต ในชวงทศวรรษ 1840 สินคาออกของอังกฤษเปนสิ่งทอฝาย ตอมาในทศวรรษ 1870 มีการกระจายชนิดของสินคาออก รวมสินคาทุน คือ อุปกรณรถไฟ เหล็ก และถานหิน อังกฤษเปนชาติผูนาการคาระหวางประเทศของ ํ โลกในชวงนัน มีสัดสวนถึง 2 ใน 3 ของการคาของโลกทั้งหมด และ 3 ใน 4 ของการคาสินคา ้ อุตสาหกรรม เรือกลไฟของอังกฤษก็ครอบงําการคาทางทะเลตั้งแตทศวรรษ 1850-1860 ใน ค.ศ. 1890 อังกฤษเปนเจาของเรือกลไฟกวาครึ่งหนึ่งของโลก สินคาออกของอังกฤษประเภทสินคาทุน คือ เครื่องจักรอุปกรณรถไฟสงไปขายประเทศภาคพืนยุโรปและสหรัฐอเมริกาซึ่งกําลังพัฒนาอุตสาหกรรม ้ ตองการสินคาทุนแตยังไมสามารถผลิตได สวนสิ่งทอฝายตลาดเปลี่ยนจากภาคพื้นทวีปยุโรปเปน ประเทศดอยพัฒนา โดยเฉพาะสงไปอินเดีย สินคาเขาของอังกฤษเปนธัญพืช ชา น้าตาล กาแฟ ยาสูบ ํ ฝายดิบ และแรเหล็ก สหรัฐอเมริกา และดินแดนอาณานิคมของอังกฤษ เชน อินเดีย และออสเตรเลีย มีความสําคัญมากขึ้นในฐานะคูคาของอังกฤษแทนทีภาคพื้นทวีปยุโรป ่
  • 11. 75 การเคลื่อนไหวของกรรมกรชวงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 หลังป ค.ศ. 1848 ขบวนการกรรมกรเริ่มมีองคกรเกิดขึ้นเรียกวา สหบาลกรรมกร1 (Trade Union) เกิดในหมูแรงงานที่มีฝมือกอน คือ สหบาลกรรมกรชาง (The Amalgamated Society of Engineers) ในป ค.ศ. 1851 และตามมาดวยสหบาลในกิจการทําหมอน้ํา ชางไม และ ชางกออิฐ ความชวยเหลือของสหบาลจะทําหนาที่ดแลสมาชิกเมื่อเจ็บปวยและวางงานดวย ู นอกจากนี้ยังทําหนาทีตอรองและประนีประนอมกับนายจาง หลีกเลี่ยงการนัดหยุดงาน ในป ค.ศ. ่ 1869 มีการจัดตั้ง Trade Union Congress ขึ้นเปนที่ประชุมรวมของสหบาลหลายแหง หลังทศวรรษ 1880 เกิดสหบาลกรรมกรในอุตสาหกรรมหลายชนิด สหบาลใหมๆ เหลานี้รับสมาชิกในกิจกรรมทั่วไป เปนสหบาลของแรงงานไรฝมือ เชน ในกิจการแกส ทาเรือ และ กลาสี จํานวนสมาชิกของสหบาลคิดเปน 5 เปอรเซ็นตของกําลังแรงงานทั้งหมดในป ค.ศ. 1888 และคิดเปน 25 เปอรเซ็นต ในป ค.ศ. 1913 ในชวงพัฒนาการของสหบาลใหมไดรับอิทธิพลจาก ความคิดสังคมนิยมและเริ่มรวมกันสงตัวแทนของตนเขาสมัครรับเลือกตั้ง ในป ค.ศ. 1900 สมาพันธ ของสหบาลไดรับการสนับสนุนจากการตั้งพรรคแรงงาน (The Labour Party) ขึ้นในป ค.ศ. 1906 มีการตอสูดวยการตอรองและการนัดหยุดงานของกรรมกร ้ ํ ภาครัฐบาลเขามาจัดระบบสังคม2 ดวยการพยายามจัดมาตรฐานขันต่าของโรงงาน และการจางงาน เริ่มจากการจํากัด อายุ และชั่วโมงทํางานของเด็กและผูหญิง ในตอนตนของศตวรรษ ที่ 19 นั้น 3 ใน 4 ของคนงานในโรงงานปนดายฝายเปนผูหญิงและเด็ก ในป ค.ศ. 1833 ไดมีการ ออกกฎหมายแรงงาน (Factory Act) หามมิใหจางเด็กอายุต่ํากวา 9 ปทํางานในโรงงานสิ่งทอ และ จํากัดเวลาทํางานของเด็กอายุระหวาง 13-18 ปใหทํางานวันละไมเกิน 12 ชั่วโมง รวมทั้งใหมี ผูตรวจการโรงงานทํางานเต็มเวลา ดูแลใหโรงงานปฏิบติตามกฎหมาย ในป ค.ศ. 1842 กฎหมาย ั หามการจางผูหญิงและเด็กอายุต่ํากวา 10 ป ทํางานในเหมือง ตอมามีกฎหมายโรงงานออกตามกัน  มาเรื่อยๆ 1 สหบาลกรรมกร หมายถึง สมาคมที่คงอยูเรื่อยไปของผูมีรายไดจากคาจาง มีจุดประสงคเพื่อรักษาและ ปรับปรุงสภาพชีวิตการทํางานของพวกเขาใหดีขึ้น (คํานิยามของ S. and B. Webb, History of Trade Unionism, 1894) 2 รัฐไดจัดมาตรฐานขั้นต่ําของโรงงาน การจางงาน การสาธารณสุข การศึกษา การชวยเหลือเมื่อปวย ชรา และพิการ ฯลฯ รวมเรียกวาสวัสดิการสังคม (Social Welfare) และเรียกการจัดระบบสังคมแบบนี้วา รัฐสวัสดิการ (Welfare State)
  • 12. 76 ในดานสาธารณสุขมีการออกพระราชบัญญัติสาธารณสุขในป ค.ศ. 1848 กําหนดให รัฐบาลทองถิ่นโดยเฉพาะเมืองตางๆ จัดตั้งคณะกรรมการสาธารณสุข มีอํานาจดูแลเรื่องน้ําประปา การกําจัดขยะ ฯลฯ ทั้งนี้เพราะเมืองขยายตัวรวดเร็ว แออัด สกปรก และเปนแหลงเพาะเชื้อโรค ในป ค.ศ. 1842 Edwin Chadwick (ค.ศ. 1800-1890) เลขาธิการของคณะกรรมาธิการ พระราชบัญญัติคนจน (Secretary to the Poor Law Commissioners) ไดเสนอรายงานการ สํารวจทั่วประเทศวาดวยสถานะของสุขภาพ (Report on the Sanitary Condition of the Labouring Population) ซึ่งมีผลมากในการทําใหรัฐสภาออกกฎหมายทางดานสาธารณสุข ทางดานการศึกษา ในป ค.ศ. 1870 รัฐสภาออกกฎหมายตั้งคณะกรรมการการศึกษา ระดับทองถิ่น คณะกรรมการจะจัดใหมีโรงเรียนประถม ตอมาพระราชบัญญัติ ค.ศ. 1876 กําหนดใหเด็กศึกษาภาคบังคับจนถึงอายุ 10 ขวบ แลวขยายเปน 14 ขวบในป ค.ศ. 1918 ใน อังกฤษตอนชวงปลายศตวรรษที่ 19 อังกฤษเริ่มลาหลังเยอรมนีในดานเทคนิค จึงมีการผลักดันให รัฐสภาออกพระราชบัญญัติ 1902 กําหนดใหรัฐบาลทองถิ่นจัดและดูแลการศึกษาระดับมัธยม เด็กๆ ลูกกรรมกรทุกคนไดรับการศึกษาชั้นประถมฟรี และลูกกรรมกรที่มีความสามารถจํานวนมากขึ้นก็ สามารถศึกษาระดับมัธยมฟรีไดเชนกัน สําหรับการชวยเหลือผูไมมีงานทําและยากจนมากนัน อังกฤษมีกฎหมายคนยากจน ้ (Poor Law) ตั้งแตป ค.ศ. 1601-1834 โดยที่รัฐบาลทองถิ่นจะเก็บภาษีเจาที่ดนและผูมีทรัพยสิน ิ และรายได นํามาแจกเปนอาหาร หรือสิงของหรือบางครั้งแจกเปนเงินดวยใหกับคนยากจนในทองที่ ่ หรือรัฐบาลทองถิ่นอาจสรางบาน (Workhouse) ใหคนชรา หรือคนไมมีงานทําอยูและกินฟรี โดย กําหนดใหทํางานอยูภายในบานนัน ้ 4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของฝรั่งเศส แมวาชนชั้นสูงของฝรั่งเศสร่ํารวย ชาวบานธรรมดาก็มีชีวิตแบบพอยังชีพเทานั้น ชาวนาผลิตโดยวิธีแบบเดิม ผลิตภาพต่ํา สวนเกินสงใหเจานาย ศาสนจักร และรัฐ เจานายใชแรงงาน เกณฑ รับสวยเปนเงินและสิ่งของจากชาวนา แตเจานายไมไดลงไปจัดการไรนาดวยตัวเอง ชุมชน หมูบานยังคงมีบทบาทสูง ชาวบานยังมีสิทธิใชที่ดนสวนกลาง การเปลี่ยนแปลงทางการผลิตเกษตรมี ิ นอย เพราะชาวบานไมมีทรัพยากรเหลือที่จะลงทุน ขณะที่พวกเจานายก็ไมสนใจลงทุนในการเกษตร ใชจายสวนเกินในการบริโภค โดยเฉพาะซื้อของฟุมเฟอยและบริการที่ไมจําเปน รัฐใชเงินมากในการ ทะนุบารุงกองทัพและทําสงคราม ศาสนจักรก็ใชเงินมากในการกอสรางของฟุมเฟอยเชนเดียวกับพวก ํ เจานาย ดังนั้นการผลิตอุตสาหกรรมจึงเปนการผลิตขนาดเล็กและเปนการผลิตดวยมือ คือ เปนการผลิตของหัตถกร ใชวัตถุดบทองถิ่น เชน ผลิตผาขนสัตว ผาฝาย หนัง และเหมืองแร เนื่องจาก ิ ประเทศฝรั่งเศสมีขนาดใหญและการคมนาคมไมดี ตลาดจึงมีลักษณะเปนตลาดทองถิ่น การผลิตที่
  • 13. 77 ไมมีประสิทธิภาพไมตองกลัวการแขงขันจากภายนอก แรงกระตุนใหมีอุตสาหกรรมขนาดใหญนั้นมา จากรัฐ โดยการใหเงินทุนสนับสนุน โดยเฉพาะในสมัยพระเจาหลุยสที่ 14 (ครองราชย ค.ศ. 16431715) ภายใตการบริหารของเสนาบดีคอลแบรต (Jean Baptiste Colbert 1619-1683) แตไม ประสบผลสําเร็จเทาไร หลังจาก ค.ศ. 1715 นครปารีสขยายตัว เมืองทาฝงตะวันตกเฟองฟูขึ้นทําใหมีการ ขยายการผลิตหัตถกรรมรอบๆ เมืองทาเหลานั้น แตการคากับตางประเทศก็ไมทําใหมีการเปลี่ยน โครงสรางการผลิตภายใน ไมไดทําใหเกิดสินคาใหมๆ หรือผลิตดวยเทคนิคใหม และตอมาการคากับ ตางประเทศของฝรั่งเศสก็ถูกกระทบกระเทือนเพราะสงคราม 7 ป (ค.ศ. 1756-1763) การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสในชวงป ค.ศ. 1780-1840 ความสัมพันธในสาขาการเกษตรเปนแบบดั้งเดิม ประชากรสวนใหญเปนชาวนาที่ ผลิตเพื่อเลี้ยงชีพ การเกษตรที่ผลิตเพื่อตลาดปรากฏชัดเฉพาะในการผลิตเหลาองุน ซึ่งมีมากแถบ แมน้ําลัวร (Loire) เพราะอยูใกลแถบชุมชนเมือง ยังคงมีการใหสิทธิพิเศษและยกยองชนชั้นเจานาย ขุนนางอยางสูง ทําใหพวกกระฎมพีชอบซื้อตําแหนงราชการและซื้อทีดินใหตัวเอง แทนที่จะนําเงินไป ่ ลงทุนการคาและการอุตสาหกรรม ฝรั่งเศสกอนการปฏิวัติในป ค.ศ. 1789 เปนระบบที่กษัตริยรวมอํานาจควบคุมเหนือ เจานายและกระฎมพี พวกกระฎมพีจํานวนมากรับอุดมการณแบบฟวดัล ตอมาเมือมีการปฏิวัติ 1789 ่ มีผลทําใหเกิดการออกกฎหมายที่สงเสริมสิทธิของปจเจกชน ยกเลิกกิล ยกเลิกภาษีการคาภายใน สิทธิ เสรีภาพที่เกิดจากการปฏิวัตเปนสภาวะแวดลอมที่สงเสริมพัฒนาการอุตสาหกรรม ิ ชวงการปฏิวัติ 1789 สงผลเสียหายตอพัฒนาการเศรษฐกิจ คือ ตัดขาดการคากับดินแดนโพนทะเล เมืองทา หลายแหงซบเซา การจราจลและศึกสงครามในชวงทศวรรษ 1780-1790 ทําใหการผลิตสินคา อุปโภคบริโภคถูกจํากัด ผลของการปฏิวัติ 1789 ทําใหชาวนามีกรรมสิทธิ์ในที่ทํากินของตน ไมตองสงสวย ใหกับเจานายขุนนางอีกตอไป ชาวนาที่มเงินอาจซื้อทีดนเติมไดดวย ชาวนากลายเปนชนชั้นที่เปน ี ่ ิ เจาของที่ดินขนาดยอมทั่วไปในฝรั่งเศส สภาวะนี้ทําใหชาวนาไมอยากเคลื่อนยายเขามาเปนกรรมกร ในเมือง สําหรับชาวนาที่มที่ดินนอยหรือไมมีที่ดินก็รบจางขาวนาที่มที่ดินทํางานอยูในชนบท หรือรับ ี ั ี งานหัตถกรรมทําเปนชิ้นในระบบหัตถกรรมที่แจกงานไปทําตามบาน ชุมชนชาวนาผลิตเพือเลี้ยง ่ ตัวเองเปนหลัก คือผลิตธัญญาหารโดยเฉพาะขาวสาลีเพื่อเอาไปทําขนมปง ในขณะเดียวกันการพัฒนาอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นแลวและเจริญอยางรวดเร็วบนเกาะ อังกฤษ ผูประกอบการในฝรั่งเศสในกิจการสิ่งทอและโลหะไดลอกเลียนเทคโนโลยีจากอังกฤษบาง  ประกอบกับชนชั้นกระฎมพีสะสมความมั่งคั่งไดเพิ่มขึ้น และระบบกฎหมายหลังการปฏิวัติใหสทธิและ ิ เสรีภาพแกชนชั้นนี้ จึงเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมขึ้นในชวงตนศตวรรษที่ 19 กิจการ อุตสาหกรรมของฝรั่งเศสเปนการผลิตขนาดยอม ผลิตสินคาคุณภาพพิเศษ คือ หรูหรา หรือมีรูปแบบ
  • 14. 78 เฉพาะนําแฟชันมากกวาสินคาธรรมดา ฝรั่งเศสสามารถสงสินคาคุณภาพพิเศษเหลานี้เปนสินคาออก ่ เชน ผาไหม ถุงมือ และถวยชามกระเบื้อง ดังนั้นแมจะมีการใชเครื่องจักรผลิตแลว สินคาจากฝรังเศส ่ ยังเนนลักษณะคุณภาพและรูปแบบพิเศษ อีกประการหนึ่งการผลิตอุตสาหกรรมที่ขยายตัวในฝรั่งเศส กระจายอยูเปนหยอมๆ และมีขนาดเล็กอยูในชนบท อุตสาหกรรมสิ่งทอยังใชชาวนาเปนแรงงาน ในระบบกระจายงานไปทําตามบาน เหมืองและอุตสาหกรรมโลหะที่อยูในชนบทก็ใชแรงงานชาวนา ฝรั่งเศสขนถานหิน อุตสาหกรรมหนักมีบทบาทนอย เปนอุตสาหกรรมสินคาอุปโภคบริโภค กิจการ อุตสาหกรรมเปนธุรกิจครอบครัว การขยายตัวขึ้นอยูกบกําไรสะสมของกิจการเอง ระบบธนาคารและ ั การใหกูทําอุตสาหกรรมชากวาอังกฤษ ในป ค.ศ. 1830 สาขาอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นแลวในฝรั่งเศส ประกอบดวย อุตสาหกรรมสิ่งทอ แตเศรษฐกิจสวนใหญยังเปนเกษตรกรรม แหลงอุตสาหกรรมสิ่งทออยูที่มณฑล Alasace สวนแหลงอุตสาหกรรมเหล็กอยูที่เมือง Le Creusot ใจกลางประเทศ อุตสาหกรรม สวนใหญมีขนาดเล็ก เมื่อกลางศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศสมีคนงาน 3 ลานคน แตมีกิจการอุตสาหกรรมถึง 1.5 ลานกิจการ หมายความวา มีคนงานเฉลี่ยกิจการละ 2 คนเทานัน ้ กลาวโดยสรุปเศรษฐกิจของฝรั่งเศสจนถึงกลางศตวรรษที่ 19 สาขาเกษตรกรรมเปน สาขาเศรษฐกิจที่ครอบงํา โดยเฉพาะการเพาะปลูกธัญพืชเพื่อบริโภคเปนอาหาร การคมนาคมมีไม เพียงพอ และในสาขาอุตสาหกรรมสิ่งทอมีการพัฒนาเหนืออุตสาหกรรมสาขาอื่น การพัฒนาอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสในชวงป ค.ศ. 1840-1895 มีการใชถานหินอยางแพรหลาย ใชเครื่องจักรไอน้ําเปนแหลงที่มาของพลังงาน และมี การใชเครื่องจักรในอุตสาหกรรม คือ ปรากฏระบบโรงงานขึ้นชัดเจน มีการสรางทางรถไฟหลายสาย จนสําเร็จเปนเครือขายครอบคลุมทั่วประเทศ มีปารีสเปนศูนยกลาง รัฐบาลเปนผูจัดหาที่ดนและวาง ิ รางรถไฟ แลวใหบริษัทเอกชนเชาโดยบริษัทเปนผูจดหารถจักรและรถพวง เนื่องจากฝรั่งเศสเปน ั ประเทศที่มีอาณาเขตกวางใหญ การสรางระบบทางรถไฟขึ้นมาไดจึงมีสวนชวยการคมนาคมมาก ทํา ใหการผลิตเพื่อพอเลี้ยงตัวเองในแตละเขตเริ่มสลายตัวลง อุตสาหกรรมถลุงเหล็กดวยฟนลด ความสําคัญลง เพราะสามารถขนสงถานหินและแรเหล็กไดแลว ในป ค.ศ. 1850 ฝรั่งเศสมีทางรถไฟ 3,000 กิโลเมตร อีก 20 ปตอมาเพิ่มขึ้นเปน 17,500 กิโลเมตร ในป ค.ศ. 1851 ประชากรฝรั่งเศส 74.5 เปอรเซ็นต อาศัยอยูในชนบทหรือเมืองที่มีขนาดเล็กกวา 2,000 คน มีเมืองอยู 5 เมืองเทานั้น ที่มีพลเมืองมากกวา 100,000 คน คือ ปารีส (Paris) มารไซย (Marseilles) ลียอง (Lyons) บอรโดซ (Bordeaux) และรูอัง (Rouen) ในทีนี้มารไซย บอรโดซ และรูอังเปนเมืองทา ปารีสเปน ่ เมืองหลวงมีเพียงเมืองลียองเทานั้นที่เปนเมืองอุตสาหกรรม แตในป ค.ศ. 1872 ประชากร 2 ใน 3 อยูในเมืองและตั้งแต ค.ศ. 1850 แหลงอุตสาหกรรมจะมีจํานวนประชากรเพิ่มขึ้น
  • 15. 79 การนําพลังงานมาใชในโรงงานอุตสาหกรรม มีการใชเครื่องจักรไอน้ําในอุตสาหกรรม สิ่งทอ ตั้งแต ค.ศ. 1812 แตการขยายตัวจริงๆ ของการใชเครื่องจักรไอน้ําอยูในชวง ค.ศ. 1815 1870 มีการใชอยูในมณฑล Nord มณฑลแถบแมน้ําแซน (Seine) ลัวร และมณฑล Haut-Rhin ในเขต Alsace มณฑลเหลานี้ผลิตสิ่งทอ มีการใชเครื่องจักรไอน้ําในการปนดายฝาย ตามมาดวยการ ใชในเหมือง ถลุงเหล็ก สรางเครื่องจักรและในโรงงานน้ําตาล อุตสาหกรรมฝรั่งเศสใชพลังน้ํามาก ทําใหการเปลียนมาใชพลังงานไอน้าเกิดขึนชาๆ ่ ํ ้ ทีตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมในฝรั่งเศสตอนตน ่ ศตวรรษที่ 19 มักจะตั้งใกลน้ําตก หรือลําธารในหุบเขา Vosges ใน Alsace มีโรงงานปนดาย อุตสาหกรรมโลหะที่ Franche Comte ริมธารน้ํา ซึ่งน้ําไหลเร็วทําใหอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสตอง ตั้งอยูในที่ๆ หางไกลจากกัน อุตสาหกรรมถานหิน ฝรั่งเศสมีเหมืองถานหินแตมีไมมากเทากับอังกฤษ และมีปญหาวาแหลงถานหินอยู หางไกลและการขนสงลําบาก ทําใหใชประโยชนจากถานหินไดไมเต็มที่ สิ่งเหลานี้เปนอุปสรรคตอ การขยายตัวของอุตสาหกรรมในฝรั่งเศส ในป ค.ศ. 1850 ฝรั่งเศสมีแหลงถานหินทีสําคัญ 3 แหง คือ ่ ′ 1) แถบเมือง Saint – Etienne บนแมนาลัวร และไรนใกลเมืองลียองทางดาน ้ํ ตะวันออกเฉียงใตของประเทศ แหลงนีผลิตไดประมาณครึ่งหนึ่งของฝรั่งเศส มีบริษัท Compagnie ้ Generale de Mines de la Loire เปนผูผลิต ^ 2) แถบเมือง Blanzy Epinac และ Le Creusot ในมณฑล Saoneet – Loire ใจกลางประเทศ แหลงนี้ผลิตได 1 ใน 10 ของประเทศ 3) แถบเมือง Valenciennes ในมณฑล Nord ทางเหนือ ดําเนินการโดยบริษัท Compagnie des Mines d’Anzin ทั้งแหลงที่ 1 และ 3 อยูหางจากปารีสมาก ตองสงมาทางน้าและทางบกหลายทอด ํ ในป ค.ศ. 1846 มีการคนพบแหลงถานหินที่ใหญที่สุดของฝรั่งเศส คือ ที่มณฑล Pas-de-Calois มีการผลิตถานหินเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนกลายเปนแหลงอุตสาหกรรมที่สําคัญของฝรั่งเศส ผลผลิต ถานหินทั้งหมดของฝรั่งเศสเพิ่มจาก 4.4 ลานตันตอป ในชวงป 1845-1849 เปน 15.4 ลานตัน ตอปในชวงป ค.ศ. 1870-1874 อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมเหล็กของฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป มีการถลุงเหล็ก ดวยฟนซึ่งหาไดงาย ทําใหกิจกรรมถลุงเหล็กของฝรั่งเศสอยูกระจัดกระจายทั่วไปในปา จนกระทั่งป ค.ศ. 1848 ผลผลิตเหล็กมีถึง 2 ใน 3 ก็ยังคงถลุงเหล็กดวยฟนอยู การถลุงเหล็กดวยถานหินอยางดี
  • 16. 80 คือ ถานโคก ซึ่งเปนถานหินที่เอาแกสออกหมดแลว ในมณฑล Moselle ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับประเทศลักเซมเบอรก ตั้งแต ค.ศ. 1852 การผลิตเหล็กเพิ่มขึ้นเพราะมีความตองการรางรถไฟ เพิ่มขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีการผลิตเหล็ก คือ มีการนําเอาวิธีผลิตเหล็กแบบ Bessemer และแบบ Martin มาใช การถลุงเหล็กมีขนาดใหญขึ้น จางคนงานกวา 5,000 คน ตอมาในป ค.ศ. 1869 ผลผลิตเหล็กทั้งหมดของฝรั่งเศสรวมกันทั้งหมด 1 ลานตัน คือ มากกวาทุกประเทศในยุโรปยกเวนอังกฤษ ผูผลิตเหล็กกลาสําคัญของฝรั่งเศส คือ Petin Gaudet และ Terre Noire ปญหาสําคัญของอุตสาหกรรมเหล็กในฝรั่งเศส คือ ขาดถานหินชนิดที่เรียกวา ถานโคก ชนชั้นกระฎมพีและชนชั้นกรรมาชีพในฝรั่งเศส ชนชั้นกระฎมพีของฝรั่งเศสตองอยูภายใตชนชั้นเจานาย ชนชั้นกระฎมพีของฝรั่งเศส ไดรวมตัวกับชนชั้นกรรมาชีพและหัตถกรในเมือง มีการจุดชนวนการปฏิวัติไดสําเร็จลมระบบเกาได ชนชั้นกระฎมพีจึงไมพึ่งเจานาย โดยเฉพาะในป ค.ศ. 1871 ชนชั้นกระฎมพีเปนพันธมิตรกับชนชั้น หัตถกรและกรรมาชีพในเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรมของฝรั่งเศสจึงเกิดขึ้นในบรรยากาศทีชนชั้น ่ กระฎมพีมีอํานาจทางการเมืองแทนที่เจานายผูเปนเจาของที่ดิน ตอมาภายหลังป ค.ศ. 1871 ชนชั้น กระฎมพีกับชนชั้นเจานายและขาราชการใชการบริหารและการพัฒนาเทคโนโลยีแทนการเมือง แกไข การขัดแยงทางการเมืองระหวางชนชั้นและผลักดันใหมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ปราบปรามไมให ี หัตถกรและชนชั้นกรรมาชีพในเมืองมีอํานาจมากเกินไป ชนชั้นกรรมาชีพของฝรั่งเศสในศตวรรษที่ 19 เกิดในรานฝกงานขนาดเล็ก (Workshop) ไมใชโรงงาน (Factory) และถาทํางานในโรงงานมักเปนโรงงานขนาดเล็ก และยังมี หัตถกรผูมีเครื่องมือการผลิตเล็กๆ นอยๆ และมีฝมือพิเศษเปนจํานวนมาก 4.5 การปฏิวัติอุตสาหกรรมของเยอรมนี พัฒนาการอุตสาหกรรมในเยอรมนีชากวาอังกฤษประมาณ 50 ป เริ่มประมาณ ทศวรรษ 1830 อุปสรรคที่ขัดขวาง คือ การที่เยอรมนีไมมีสภาพเปนประเทศอันหนึ่งอันเดียวกันหลัง เยอรมนีเปนสมาพันธรัฐ คองเกรสแหงเวียนนา ค.ศ. 1815 (Congress of Vienna) (Confederation) ประกอบดวยรัฐนอยใหญที่มีอํานาจอธิปไตยของตัวเองรวมกันถึง 39 รัฐ แตละรัฐ มีดานภาษีของตัวเองเปนอุปสรรคตอการขนสงสินคาทําใหขนาดของตลาดแคบ ยังผลใหไมมีการ สงเสริมการกอตั้งโรงงานอุตสาหกรรม