SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาอาเซียน ให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทา
ได้ศึกษาข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
1 ประชาคมอาเซียน
1.1 ประเทศสมาชิกอาเซียน
1.บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
2.กัมพูชา (Cambodia)
3.อินโดนีเซีย (Indonesia)
4.ลาว (Laos)
5.มาเลเซีย (Malaysia)
6.พม่า (Myanmar)
7.ฟิลิปปินส์ (Philippines)
8.สิงคโปร์ (Singapore)
9.เวียดนาม (Vietnam)
10.ประเทศไทย (Thailand)
2.จุดประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน
3.อาเซียน +3
1 ประเทศจีน
2 ประเทศเกาหลีใต้
3 ประเทศญี่ปุ่น
4.อาเซียน +6
1. จีน
2. ญี่ปุ่น
3. เกาหลีใต้
4. ออสเตรเลีย
5. นิวซีแลนด์
6. อินเดีย
5.กฎบัตรอาเซียน
6.โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน (weblog)
7.โครงงานที่เกี่ยวข้อง
1 โครงงานภายในประเทศ
1.ประชาคมอาเซียน
1.1ประเทศสมาชิกอาเซียน
1. ประเทศบรูไน (Brunei)
ประเทศบรูไนเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเป็นประเทศที่ 6 เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527 ภายหลังได้รับเอกราชจาก
ประเทศอังกฤษ
ข้อมูลทั่วไปของประเทศบรูไน
ชื่อภาษาไทย : เนการาบรูไนดารุสซาลาม
ชื่อภาษาอังกฤษ : Negara Brunei Darussalam
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)
ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ (Malay)
สกุลเงิน : ดอลล่าร์บรูไน (Brunei dollar, BND)
พื้นที่ : 2,226 ตารางไมล์ (5,765 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 415,717 คน
การปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช
Time Zone : UTC+8 (เร็วกว่าเวลาประเทศไทย 1 ชั่วโมง)
GDP : 21,907 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 50,440 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +673
ประเทศบรูไน
2. ประเทศกัมพูชา (Cambodia)
ประเทศกัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มอาเซียนเป็นลาดับสุดท้าย คือลาดับที่ 10 ทั้ง ๆ ที่ยื่นความจานงค์เข้ามา
พร้อมกับลาวและพม่า (ลาดับที่ 8 และ 9) แต่เนื่องจากความไม่สงบภายในประเทศ จึงต้องมีการเลื่อนการ
พิจารณาออกไป จนเมื่อเหตุการณ์สงบแล้ว กลุ่มอาเซียนจึงรับกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่
30 เมษายน พ.ศ. 2542
ข้อมูลทั่วไปของประเทศกัมพูชา
ชื่อภาษาไทย : ราชอาณาจักรกัมพูชา
ชื่อภาษาอังกฤษ : Kingdom of Cambodia
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)
ภาษาราชการ : ภาษาเขมร
สกุลเงิน : เรียลกัมพูชา (Riela, KHR)
พื้นที่ : 69,898 ตารางไมล์ (181,035 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 15,205,539 คน
การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
Time Zone : UTC+7 ใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย
GDP : 17,250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 1,108 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +855
ประเทศกัมพูชา
3. ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia)
ประเทศอินโดนีเซียถือว่าเป็นประเทศผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียนร่วมกับอีก 4 มิตรประเทศ คือ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย
และฟิลิปปินส์ โดยเข้าร่วมเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มต้น เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ภายหลังการลงนามใน
ปฏิญญากรุงเทพฯ
ข้อมูลทั่วไปของประเทศอินโดนีเซีย
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of Indonesia
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงจาการ์ตา (Jakarta)
ภาษาราชการ : ภาษาอินโดนีเซีย (Indonesian)
สกุลเงิน : รูเปี๊ยห์ (Rupiah, IDR)
พื้นที่ : 735,358 ตารางไมล์ (1,904,569 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 253,603,649 คน
การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
Time Zone : UTC+7 ถึง +9 (กรุงจาการ์ต้าใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย)
GDP : 2.388 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 9,559 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +62
ประเทศอินโดนีเซีย
4. ประเทศลาว (Laos, PDR)
ประเทศ สปป.ลาว เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียนเป็นลาดับที่ 8 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดยเข้าเป็น
ประเทศอาเซียนพร้อมกับพม่า ลาวนับได้ว่าเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนประเทศเดียวที่ไม่มีทางออกทะเล แต่เป็น
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย และใช้แม่น้าโขงเป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมขนส่งและสาหรับการ
สร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในประเทศและส่งขายให้กับประเทศเพื่อนบ้าน
ข้อมูลทั่วไปของประเทศลาว
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Lao People’s Democratic Republic
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงเวียงจันทน์ (Vientiane)
ภาษาราชการ : ภาษาลาว (Lao)
สกุลเงิน : กีบ (Kip, LAK)
พื้นที่ : 91,429 ตารางไมล์ (236,800 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 6,695,166 คน
การปกครอง : ระบอบสังคมนิยม มีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้บริหารสูงสุด
Time Zone : UTC+7 ใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย
GDP : 20,780 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 3,100 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +856
ประเทศลาว
5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
ประเทศมาเลเซียเป็นสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ
ข้อมูลทั่วไปของประเทศมาเลเซีย
ชื่อภาษาไทย : มาเลเซีย
ชื่อภาษาอังกฤษ : Malaysia
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, KL)
ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ (Malaysian Malay)
สกุลเงิน : ริงกิต (Ringgit, MYR)
พื้นที่ : 127,355 ตารางไมล์ (329,847 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 30,000,000 คน
การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริย์ (สมเด็จพระราชาธิบดี) เป็นประมุข
Time Zone : UTC+8 (เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง)
GDP : 555,912 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 18,509 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +60
ประเทศมาเลเซีย
6. ประเทศพม่า หรือ เมียนมาร์ (Myanmar)
ประเทศพม่า เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียนเป็นลาดับที่ 9 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (วันเดียวกับ
ประเทศลาว)
ข้อมูลทั่วไปของประเทศพม่า
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of the Union of Myanmar
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงเนปยีดอ (Naypyidaw)
ภาษาราชการ : ภาษาพม่า (Burmese)
สกุลเงิน : จ๊าต (Kyat, MMK)
พื้นที่ : 261,227 ตารางไมล์ (676,578 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 51,419,420 คน
การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
Time Zone : UTC+6:30 (ช้ากว่าประเทศไทยครึ่งชั่วโมง)
GDP : 111,120 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 1,711 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +95
ประเทศพม่า
7. ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines)
ประเทศฟิลิปปินส์ ก็เป็นอีกหนึ่งสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญา
กรุงเทพ
ข้อมูลทั่วไปของประเทศฟิลิปปินส์
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of the Philippines
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila)
ภาษาราชการ : ภาษาตากาล็อกและอังกฤษ (Filipino/English)
สกุลเงิน : เปโซ (Peso, PHP)
พื้นที่ : 115,120 ตารางไมล์ (298,170 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 92,337,852 คน
การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
Time Zone : UTC+8 (ช้ากว่าเวลาประเทศไทย 1 ชั่วโมง)
GDP : 456,418 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 4,682 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +63
ประเทศฟิลิปปินส์
8. ประเทศสิงคโปร์ (Singapore)
ประเทศสิงคโปร์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียนเช่นกัน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.
2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ
ข้อมูลทั่วไปของประเทศสิงคโปร์
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐสิงคโปร์
ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of Singapore
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : สิงคโปร์
ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษและภาษาจีนกลาง (English/Mandarin)
สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar, SGD)
พื้นที่ : 276 ตารางไมล์ (716 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 5,399,200 คน
การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
Time Zone : UTC+8 (เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง)
GDP : 348,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 64,584 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +65
ประเทศสิงคโปร์
9. ประเทศไทย (Thailand)
ประเทศไทย นอกจากจะเป็นสมาชิก 5 ชาติแรกและเป็นผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียนแล้ว ยังเป็นเจ้าภาพในการลงนามเพื่อ
สร้างข้อตกลงในการสร้างกลุ่มอาเซียนขึ้นมาด้วย โดยการลงนามนี้เรียกว่า ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok
Declaration) ซึ่งลงนามกันเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ที่พระราชวังสราญรมย์ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การต่างประเทศของประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ทั้งประเทศ ดังนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่ากรุงเทพคือบ้านเกิดของ
อาเซียน
ข้อมูลทั่วไปของประเทศไทย
ชื่อภาษาไทย : ราชอาณาจักรไทย
ชื่อภาษาอังกฤษ : The Kingdom of Thailand
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
ภาษาราชการ : ภาษาไทย (Thai)
สกุลเงิน : บาท (Thai Baht, THB)
พื้นที่ : 198,115 ตารางไมล์ (513,115 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 64,785,909 คน
การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
Time Zone : UTC+7
GDP : 673,725 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 9,874 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +66
ประเทศไทย
10. ประเทศเวียดนาม (Vietnam)
ประเทศเวีดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนเป็นลาดับที่ 7 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
ข้อมูลทั่วไปของประเทศเวียดนาม
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ชื่อภาษาอังกฤษ : Socialist Republic of Vietnam
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Ha Noi)
ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese)
สกุลเงิน : ด่ง (Dong, VND)
พื้นที่ : 128,565 ตารางไมล์ (331,210 ตารางกิโลเมตร)
จานวนประชากร : 89,693,000 คน
การปกครอง : ระบอบสังคมนิยม มีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้ปกครองสูงสุด
Time Zone : UTC+7 ใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย
GDP : 358,889 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 4,001 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +84
ประเทศเวียดนาม
2.จุดประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน
ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ
ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8
สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย
ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วย
- นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย)
- นายตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการ
แห่งชาติมาเลเซีย)
- นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์)
- นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์)
- พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย)
ทั้งนี้ ในเวลาต่อมาได้มีประเทศต่าง ๆ เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 8
มกราคม พ .ศ.2527) เวียดนาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ประเทศลาว, ประเทศพม่า (เป็น
สมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ .2540) และประเทศกัมพูชา (เป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2542) ทั้งนี้ ใน
ปัจจุบันมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ
วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน
วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค
ธารงไว้ซึ่ง สันติภาพเสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ
การพัฒนาทางสังคม และ วัฒนธรรมการกินดีอยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์
ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยแบ่งออก เป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้
1. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
2. เพื่อส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
3. เพื่อเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
4. เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
5. เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบของการฝึกอบรมและการวิจัยและส่งเสริมการศึกษาด้าน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนปรับปรุงการขนส่ง
และการคมนาคม
7. เพื่อส่งเสริมความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และ
องค์การระหว่างประเทศ
สัญลักษณ์ของอาเซียน
สัญลักษณ์ของอาเซียนนั้น เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้มานานตั้งแต่ก่อตั้ง ประกอบไปด้วยรูปรวงข้างสีเหลืองจานวน
10 ต้น บน พื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้าเงิน โดยมีความหมายว่าดังนี้...
รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือ 3 เสาหลัก คือ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC)
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC)
มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน
ภูมิภาคอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จัดทา
แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community
Blueprint) โดยเน้นใน 3 ประการ คือ
1.การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่วมกันทาเพื่อสร้างความเข้าใจใน
ระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนาการทางการเมืองไปใน
ทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการ ประชาธิปไตย การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีส่วนร่วม
ของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิติธรรมและธรรมาภิบาล เป็นต้น
2.ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสาหรับประชาชนที่ครอบคลุมในทุก
ด้านครอบ คลุมความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในรูปแบบเดิม มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการ
ระงับข้อพิพาท โดยสันติ เพื่อป้องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอยู่ด้วยกัน โดยสงบสุขและไม่มีความ
หวาดระแวง และขยายความร่วมมือเพื่อ ต่อต้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การต่อต้านการก่อการร้าย
อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันและจัดการ
ภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ
3.การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เพื่อเสริมสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือระดับ
ภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน+3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และการประชุมสุดยอดเอเชีย
ตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-AEC)
มีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ
ลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จัดทาแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดาเนินงานในด้านเศรษฐกิจเพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ
1.การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการเคลื่อนย้าย
สินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2.การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสาคัญกับประเด็น
นโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิใน
ทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ
และพลังงาน)
3.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการ
เสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ
4.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ
ภายนอกภูมิภาคเพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
อาเซียนได้ตั้งเป้าเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็นประชาคมที่มี
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการ
พัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้ง
ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน โดยได้
จัดทาแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community
Blueprint)ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่
1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ทั้งนี้โดยมีกลไกการดาเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และระดับรัฐมนตรีและ
คณะมนตรีประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
วันอาเซียน
ให้วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวันอาเซียน
เพลงประจาอาเซียน (ASEAN Anthem) คือ เพลง ASEAN WAY
3.อาเซียน+3
อาเซียน+3 (ASEAN+3) คือ กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาติเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ (อาเซียน) กับประเทศอื่นนอกกลุ่มอาเซียนอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ และ
ประเทศญี่ปุ่น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเพื่อนาไปสู่การจัดตั้งชุมชนเอเชีย
ตะวันออก (East Asian Community) ในอนาคต
รายละเอียดของอาเซียน+3
กลุ่มอาเซียน+3 (ASEAN+3, ASEAN Plus 3, อาเซียนบวกสาม) จะประกอบด้วยสมาชิก 13 ชาติ คือ 10
ชาติสมาชิกอาเซียน อันได้แก่ ประเทศไทย ประเทศพม่า ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว ประเทศกัมพูชา และประเทศบรูไน รวมกับประเทศจีน ประเทศ
ญี่ปุ่น และประเทศเกาหลีใต้ โดยทั้ง 13 ประเทศจะมีประชากรรวมทั้งสิ้นกว่า 2,000 ล้านคน หรือประมาณ 1 ใน
3 ของประชากรของทั้งโลก และจะมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ GDP ถึง 9 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ (ร้อยละ
16 ของ GDP รวมทั้งโลก) ในขณะที่ยอดทรัพย์สินที่เป็นเงินทุนสารองระหว่างประเทศสูงถึง 3.6 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐ (สูงกว่า 50% ของเงินทุนสารองของโลก)
เป้าหมายของการจัดตั้งอาเซียน+3
การจัดตั้งกลุ่มอาเซียน+3 นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันของกลุ่มประเทศอาเซียนและ
ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่อีก 3 ประเทศ ซึ่งรวมกันเรียกว่า ชุมชนเอเชียตะวันออก (East Asian
Community) และมีข้อตกลงกันเพื่อความร่วมมือในด้านต่างๆ 5 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการเมืองและความมั่นคง
2. ด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน
3. ด้านพลังงาน
4. สิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศโลก
5. ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เป้าหมายความร่วมมือกันของอาเซียน+3 หรือประชาคมเอเชียตะวันออก
การรวมกันเป็นกลุ่มอาเซียน+3 จะเป็นการนาไปสู่การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกในอนาคต ซึ่งชาติ
สมาชิกทั้งหมดจะร่วมมือและสนับสนุนกันในด้านต่างๆ โดยมีความร่วมมือ 6 ด้านที่จะต้องเร่งผลักดัน ดังนี้
1. การร่วมกันกาหนดกฎระเบียบในภูมิภาค
2. การตั้งเขตการค้าเสรี
3. ข้อตกลงความร่วมมือทางการเงินและการคลัง
4. เขตความร่วมมือและมิตรภาพเพื่อหลีกเลี่ยงการสะสมอาวุธ
5. การคมนาคมและเครือข่ายการสื่อสาร
6. ด้านสิทธิมนุษยชนและพันธะกรณีต่างๆ
ข้อริเริ่มเชียงใหม่ของกลุ่มอาเซียน+3
ในการประชุมรัฐมนตรีคลังอาเซียน+3 วาระพิเศษ (Special ASEAN+3 Financial Ministers Meeting)
เมื่อปี ค.ศ. 2009 ได้มีการสนับสนุนการใช้เวทีหารือด้านนโยบายและกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ของภูมิภาค
อาเซียน เช่น ข้อริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative: CMI) ซึ่งเป็นแนวความคิดด้านการเงินของภูมิภาค โดยจะ
มีการจัดตั้งกองทุนการเงินขึ้นมาใหม่เพื่อเป็นกันชนรองรับเศรษฐกิจที่อาจจะอ่อนแอในอนาคต
ที่ประชุมได้มีข้อสรุปเบื้องต้นว่า จะนาข้อริเริ่มเชียงใหม่มาขยายผลในทางปฏิบัติ โดยจะมีการจัดตั้ง
กองทุนสารองระหว่างประเทศร่วมกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จากเป้าหมายเดิม 80,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
เป็น 120,000 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 4 ล้านล้านบาท โดย 3 ประเทศนอกกลุ่มอาเซียน คือจีน ญี่ปุ่น
เและกาหลีใต้ จะลงขันในสัดส่วน 80% ของวงเงินดังกล่าว และประเทศในกลุ่มอาเซียนอีก 10 ประเทศ จะลงขัน
ในส่วนที่เหลืออีก 20% ซึ่งกองทุนนี้จะมีรูปแบบคล้ายกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพียงแต่จะให้ความ
ช่วยเหลือและเป็นหลักประกันให้กับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นหลัก ไม่ได้ให้ความช่วยเหลือทุกประเทศ
เหมือนกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
อาเซียน+3 นั้น เป็นความร่วมมือที่จะสามารถสร้างประโยชน์และความมั่นคงในภาพรวมให้กับสมาชิกทั้ง
13 ประเทศ อีกทั้งยังสามารถสร้างอานาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศได้อย่างมหาศาล
4.อาเซียน +6
สาหรับ "อา เซียน +6" หรือ FTA ASEAN PLUS 6 ก็คือ การรวมกลุ่มกันของ 16 ประเทศ ที่ประกอบ
ไปด้วยกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม, พม่า, กัมพูชา, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์,
มาเลเซีย, ลาว, สิงคโปร์, ไทย และเวียดนาม รวมกับประเทศที่อยู่นอกอาเซียนอีก 6 ประเทศ คือ จีน, ญี่ปุ่น,
เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และอินเดีย ซึ่งหากนับจานวนประชากรในกลุ่มนี้แล้ว จะพบว่า อาเซียน +6 มี
ประชากรรวมกันกว่า 3 พันล้านคน หรือคิดเป็น 50% ของประชากรโลกเลยทีเดียว
หลายคนอาจจะสงสัยว่า ทาไมอาเซียนต้องรวมกลุ่มกับอีก 6 ประเทศนอกอาเซียนด้วย คาตอบก็คือ การ
รวมกลุ่มอาเซียน +6 นี้ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มในการลงทุน การทาการค้า ฯลฯ ให้มีศักยภาพสามารถ
แข่งขันกับภูมิภาคอื่น ๆ เช่น สหภาพยุโรป นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมทาข้อตกลงการเปิดการค้าเสรี ด้วยการ
จัดตั้งประชาคมอาเซียนขึ้น พร้อมกับผนวกกาลังของแต่ละกลุ่มการค้าเข้าด้วยกัน เพื่อให้กลุ่มประเทศอาเซียน
สามารถดาเนินเศรษฐกิจได้อย่างมั่นคงยิ่งขึ้น
ความเป็นมาของอาเซียน +6
ที่ มาของแนวคิด "อาเซียน +6" นี้ เริ่มขึ้นครั้งแรกในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
(AEM-METI) และ AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.
2549 โดยญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia Summit (EAS
ประกอบด้วยอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย) ทาการศึกษาความเป็นไปได้ในการ
จัดตั้ง Comprehensive Economic Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่างประเทศ
อาเซียน+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์)จากนั้น ในการประชุม East Asia Summit
ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2550 ณ เมืองเชบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ ประชุมก็มีมติเห็นชอบให้ดาเนินการ
ศึกษาเรื่องดังกล่าว โดยประเทศญี่ปุ่นได้จัดประชุมร่วมกันระหว่างนักวิชาการซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ ละประเทศครั้ง
แรกในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ
อา เซียน+6 (CEPEA) ทั้งนี้ กลุ่มนักวิชาการได้ประชุมร่วมกันทั้งหมด 6 ครั้ง ระหว่างปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2551
ก่อนจะได้ผลสรุปว่า หากมีการจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) จะทาให้เกิดความ
สะดวกในด้านการค้าและการลงทุน ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ พลังงาน สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศ
เมื่อได้ข้อสรุปดังนี้ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจึงมีมติให้ศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับการจัดทาความตกลง การค้าเสรีระหว่าง
ประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) ในระยะที่ 2 โดยเน้นเรื่องความร่วมมือ (Cooperation), การอานวยความสะดวก
(Facilitation) และการเปิดเสรี (Liberalization)ที่จะช่วยสร้างความสามารถของประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการ
เปิดเสรีภายใต้อาเซียน+6 (CEPEA) ทั้งนี้ ในการประชุมเมื่อวันที่ 13-16 สิงหาคม พ.ศ. 2552 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญก็ได้
ข้อสรุปว่า การจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ อาเซียน+6 (CEPEA) ควรให้ความสาคัญเรื่องความ
ร่วมมือเป็นอันดับแรก พร้อมกับเน้นพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ในแต่ละประเทศ รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี
(Transfer of Technology) และสร้างความเข้มแข็งให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมทั้งควร
พิจารณาจัดตั้งกองทุนเอเชียตะวันออก เพื่อช่วยรองรับโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้น และสร้าง
พื้นฐานสาหรับการพัฒนาต่อไป
ประโยชน์ของอาเซียน +6
จากรายงาน การศึกษาของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เมื่อปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552 พบว่า การจัดทาความตก
ลงการค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) จะทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศ
เอเชียตะวันออกเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.11% หรือหากวัดเฉพาะประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
ประเทศ จะเพิ่มขึ้น 3.83% และเมื่อดูเฉพาะของประเทศไทยแล้วจะพบว่า ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจะ
เพิ่มขึ้นถึง 4.78% เลยทีเดียว ในขณะที่ประเทศ+6 มีค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ เพิ่มขึ้น 2.6%นอกจากนี้
อาเซียน +6 จะช่วยปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศสมาชิก ดังนี้
1.ขยายอุปสงค์ภายในภูมิภาค (Domestic demand within the region)
2.เพิ่มประสิทธิผลทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเน้นความชานาญในการผลิตสินค้าของแต่ละประเทศ
(Product specialization)
3.พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้มีการเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศสมาชิก โดยเฉพาะเรื่อง Logistics
ซึ่งการพัฒนาเหล่านี้จะนาไปสู่การลดช่องว่างของระดับการพัฒนาในแต่ละประเทศ สมาชิก รวมถึงการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจที่แน่นเฟ้นยิ่งขึ้น
5.กฎบัตรอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน หรือ ASEAN Charter เรียกง่าย ๆ ก็คือ ธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบ
ทางกฎหมาย และโครง สร้างองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนให้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยเฉพาะวัตถุประสงค์ใหญ่ ในปี พ.ศ.2558 ที่ทั้ง 10 ประเทศจะจับมือกันขับเคลื่อนเพื่อเป็น
ประชาคมอาเซียน
อย่างไรก็ตาม กฎบัตรอาเซียนดังกล่าว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2551หลังจากที่
ประเทศสมาชิกครบทั้ง 10 ประเทศ ได้ให้สัตยาบันกฎบัตร และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่
28 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม พ.ศ.2552 ที่จังหวัดเพชรบุรีเป็นการประชุมระดับผู้นาอาเซียนครั้งแรกหลังจากกฎบัตร
มีผลบังคับใช้
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือ 3 เสาหลัก คือ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC)
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community –
APSC) มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน
ภูมิภาคอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จัดทา
แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community
Blueprint) โดยเน้นใน 3 ประการ คือ
1.การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่วมกันทาเพื่อสร้างความ
เข้าใจในระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนาการทางการเมือง
ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการ ประชาธิปไตย การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีส่วน
ร่วมของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิติธรรมและธรรมาภิบาล เป็นต้น
2.ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสาหรับประชาชนที่
ครอบคลุมในทุกด้านครอบ คลุมความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในรูปแบบเดิม มาตรการสร้างความไว้เนื้อ
เชื่อใจและการระงับข้อพิพาท โดยสันติ เพื่อป้องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอยู่ด้วยกัน โดยสงบสุข
และไม่มีความหวาดระแวง และขยายความร่วมมือเพื่อ ต่อต้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การต่อต้านการก่อการ
ร้าย อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันและ
จัดการภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ
3.การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เพื่อเสริมสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือ
ระดับภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน+3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และการประชุมสุดยอดเอเชีย
ตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-AEC)มีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้
อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมี
ฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จัดทาแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community
Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดาเนินงานในด้านเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ
1.การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการ
เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2.การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสาคัญกับ
ประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิ
ในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ
และพลังงาน)
3.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการ
เสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ
4.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับ
ประเทศภายนอกภูมิภาคเพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
อาเซียนได้ตั้งเป้าเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็น
ประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี
และมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน
โดยได้จัดทาแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community
Blueprint)ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่
1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ทั้งนี้โดยมีกลไกการดาเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และระดับรัฐมนตรีและ
คณะมนตรีประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
6.โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน (weblog)
Web Blog หรือ Blog คือเว็บไซค์ทีให้พื้นที่ส่วนตัวแก่ผู้ใช้บริการ โดยมีฟังชั่นต่างๆให้เลือกใช้งาน เช่น
พื้นที่สาหรับเขียนประวัติ ไดอารี่ กล่องบทความ อัลบั้มรูป เว็บบอร์ด สามารถโพสต์บทความหรือเรื่องราวของ
สินค้า กิจกรรมที่บริษัทดาเนินการ ปรับแต่งหน้าตาได้เหมือนเวบไซค์ สามารถจดทะเบียนเป็นชื่อเจ้าของได้
เชื่อมต่อ social network เช่น facebook ,Tweeter ,Goolgle โพสคลิบวีดีโอ หรือ ทาเป็นอัลบั้มรูปถ่ายสินค้า
ส่วนตัว
ทีสาคัญ blog สามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบได้ง่าย ข้อมูลจะสามารถเก็บไว้ได้ตลอด สามารถเก็บไว้ดูเองหรือจะ
เปิดให้ผู้อื่นเข้ามาดูได้ หรือใช้ในรูปสมาชิกก็ได้ ปัจจุบันนิยมใช้ Blog เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ แจ้ง
ข่าวสารให้กับลูกค้า เช่น ถ้าเราทาร้านค้าออนไลน์ จะพบว่าการที่ใครจะเข้ามาซื้อของเราไม่ใช่เรื่องง่าย เนื่องจาก
การแข่งขันสูง ความเชื่อมั่นในตัวสินค้า ดังนั้นเราจาเป็นต้องสร้างBlog ขึ้นมาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสินค้า
อธิบายรายละเอียด ให้ความรู้เกี่ยวกับคาแนะนาสินค้า เรานา Blog เข้ามาจัดการ เนื่องจาก Web Blog สามารถ
up date ได้ง่าย และมีการให้ข่าวสาร หรือเรื่องที่ใกล้เคียงสินค้า เพื่อแนะนาให้คนเข้ามายังเวบไซค์ร้านค้า
ออนไลน์ ด้วยการเชื่อม Blog กับเว็บไซค์หลักของเรา
(นางชญานิศ เปลี่ยนศรีเมือง) ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก
1. ให้ทาการสมัครบัญชีของ Gmail ของ google แต่ถ้าใครมีบัญชี Gmail อยู่แล้วก็ทาการล็อกอินเพื่อ
สร้าง บล็อก ของ http://www.blogger.com/ ได้เลย ซึ่งโดยปกติแล้ว เมื่อเราเข้าไปที่เว็บ www.blogger.com
หน้า เพจแรกจะถามบัญชีถึงบัญชีGmail ของผู้ที่จะทาการสร้างบล็อกสาหรับนักศึกษาที่มีบัญชี Gmail อยู่แล้วก็
กรอกชื่อบัญชี Gmail และ รหัสผานของตน ดังภาพ
หากใครยังไม่มีบัญชีให้คลิกที่เมนู Sign up เพื่อทาการสมัครบัญชี Gmail ใหม่
2. เมื่อเราเข้าไปที่www.blogger.com ที่ได้ทาการล็อกอินบัญชีของ Gmail แล้ว หน้าแรกของ blogger
จะมีหน้าตาดังภาพ ให้คลิกไปที่เมนู“บล็อกใหม่” เพื่อทาการสร้างบล็อก
3. เมื่อเราคลิกไปที่เมนูเพื่อสร้างบล็อกใหม่แล้ว ให้ทาการกรอกรายละเอียดดังนี้ คือ ตรงหัวข้อ ให้พิมพ์ชื่อ
บล็อก ตรงที่อยู่ ให้ตั้งชื่อ URL ซึ่งควรใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษและตัวเลข และต้องดูตรงสถานะของบล็อก ด้วยวา
ชื่อ URL ที่ตั้งไปนั้นมีผู้ใช้แล้วหรือยังไม่มีผู้ใช้ มันจะแจ้งว่า “ที่อยู่บล็อกนี้สามารถใช้ได้” เสร็จแล้ว ให้ทาการเลือก
รูปแบบ จากแม่แบบวาจะให้บล็อกมีหน้าตาในการแสดงผลเช่นไร เมื่อเลือกแล้วก็ คลิกเมนู “สร้างบล็อก”
4. เมื่อทาการสร้างบล็อกแล้ว เราจะกลับมาที่หน้าจัดการบล็อกเพื่อทาการตกแต่งบล็อกให้ดูสวยงามโดย
การ ใส่รูปภาพหรือ โค๊ดต่างๆ ให้นักศึกษาทาการคลิกลูกศรสีดา เพื่อเลือกเมนูรูปแบบ ดังภาพ
5. เมื่อคลิกเมนูรูปแบบ แล้วจะมีหน้าตาดังภาพให้คลิกที่ เมนูเครื่องมือออกแบบเทมเพลต เพื่อปรับแต่ง
หน้า เทมเพลตตามที่เราต้องการ
เมื่อคลิกแล้วทาการเลือกรูปเทมเพลต ตามต้องการ เมื่อเลือกแล้วให้คลิกที่ เมนู“ใช้กับบล็อก” เพื่อบันทึก
รูปแบบเทมเพลต
6. เมื่อทาการเลือกรูปแบบของเทมเพลตแล้วให้กลับมาที่“รูปแบบ”อีกครั้ง เพื่อทาการใส่หัวบล็อกและ
ตกแต่งบล็อกโดยคลิกเลือกเมนูแก้ไข ตรงส่วนของ ชื่อบล็อก
เมื่อคลิกเมนูแก้ไข แล้วให้คลิกที่ เมนู“เลือกไฟล์” เพื่อเลือกไฟล์ภาพที่จะนามาเป็นหัวบล็อกเมื่อเลือกภาพ
ได้แล้วกดopenจากนั้นระบบจะทาการอัพโหลดภาพดังกล่าวเข้าไป เมื่อระบบอัพโหลดภาพเสร็จแล้ว ให้ คลิก
เลือก เมนู“แทนที่ชื่อและคาอธิบาย” เสร็จแล้วกดเมนู“บันทึก” เพื่อทาการบันทึกภาพดังกล่าวซึ่งจะเข้า ไปอยู่ใน
ตาแหน่งหัวบล็อกดังภาพ
7. เมื่อทาการใส่หัวบล็อกเสร็จแล้ว ให้คลิกที่เมนู“เพิ่ม Gadget” เพื่อใส่โค๊ด ปฏิทิน นาฬิกา สถิติผู้เยี่ยม
ชม แล้วแต่ความต้องการของเรา แล้วคลิกเมนู“บันทึกการจัดเรียง”
8. เมื่อทาการใส่โค๊ดตกแต่งตามต้องการแล้ว ให้เลือกเมนู“หน้าเว็บ” เพื่อทาการสร้างหน้าเว็บเพจต่างๆ
ตาม ต้องการคลิกที่เมนู “แสดงหน้าเว็บเป็น” เลือกลูกศรสีดา แล้วคลิกเลือกรูปแบบ “แท็บด้านบนสุด” แล้วกด
“บันทึกการจัดเรียง” ดังภาพ
เมื่อทาการเลือกตาแหน่งของแท็บเมนูแล้ว ให้ คลิกเมนู หน้าเว็บใหม่และเลือกลูกศรสีดา เลือกเมนู “หน้า
เว็บ เปล่า” เพื่อสร้างหน้าเพจต่างๆ
9. เมื่อคลิกเมนูสร้างหน้าเว็บแล้ว ให้ตั้งชื่อเว็บเพจ ตรงช่อง และพิมพ์รายละเอียดลงไป แล้วคลิกที่เมนู
“บันทึก”
10. เมื่อทาการสร้างเมนูเว็บเพจ แล้ว ท่านสามารถที่จะทาลิงค์ไปเว็บไซต์หรือบล็อกต่างๆ โดยคลิกที่เมนู
เพิ่ม “Gadget” แล้วเลือก ฟังกชัน์ “รายชื่อลิงค์” แล้วคลิกเครื่องหมาย + เพื่อสร้างลิงค์ ดังภาพ
เมื่อคลิกที่ฟังชันก์ รายชื่อลิงค์แล้ว ให้ทาการ พิมพ์ชื่อเมนู “ Link Exchange” และ copy ลิงค์ ที่
ต้องการ เชื่อมโยงของเพื่อนมาใส่ไว้ในช่อง URL ของไซต์ใหม่และ ตรงชื่อเว็บไซต์ให้ พิมพ์ชื่อ ของเว็บนั้นๆ ที่
ต้องการทาลิงค์ เมื่อทาเสร็จ ให้คลิกที่ เมนู “เพิ่มลิงค์” เพื่อทาการเพิ่มลิงค์เว็บไซต์อื่นๆต่อไปแล้วคลิกที่เมนู
“บันทึก” ดังภาพ
เมื่อเราทาการสร้างลิงค์เสร็จ เมื่อกดบันทึกจะมีหน้าตาดังภาพ ซึ่งในกรณีที่เราต้องการเพิ่มลิงค์ต่อให้คลิก
ที่ เครื่องมือ “แก่ไข้ ” ดังภาพ
เราสามารถทาการเคลื่อนย้ายตาแหน่ง โดยการคลิกลากมาไว้ในตาแหน่งที่เราต้องการได้
เราสามารถปรับเปลี่ยนความกว้างในการแสดงผลหน้าจอได้ โดยคลิกไปที่เครื่องมือเครื่องมือออกแบบเทม
เพลต แล้วเลือก“ปรับความกว้าง” ดังภาพ
10. ในการสร้างบทความ ให้คลิกไปที่เมนู“บทความใหม่” ดังภาพ
11. เมื่อคลิกเมนูสร้างบทความใหม่แล้ว ให้นักศึกษา ทาการแทรกภาพ โดยการคลิกที่ไอคอน แทรก
รูปภาพ คลิกที่เมนูเลือกไฟล์และทาการเลือกรูปภาพ แล้ว กดopenดังรูป
ระบบจะทาการอัพโหลดไฟล์รูปดังกล่าว เมื่ออัพโหลดเสร็จแล้ว ให้คลิกที่“เพิ่มรายการที่เลือก
เมื่อทาการเลือกภาพแล้ว ภาพดังกล่าวจะเข้ามาอยูในแบบร่างบทความ ดังรูป เสร็จแล้วพิมพ์รายละเอียด
ลง ไปแล้วคลิก เมนู เพื่อทาการ“บันทึก” บทความความ และเผยแพร่ บทความ
เมื่อกดบันทึกแล้ว จะเข้ามาสู่หน้าจอ รายการที่แสดงถึงบทความที่เราสร้างขึ้นเมื่อครู่ ถ้าหากเราต้องการ สร้างบทความ
เพิ่ ม ให้คลิกที่ เมนูสร้าง บทความใหม่
ถ้าในบทความของเรา ต้องการเผยแพร่ผลงานวีดิโอจาก Youtube ให้เราคลิกที่ไอคอน แทรกวีดิโอ
ทาการเลือกวีดิโอจาก Youtube ซึ่งถ้าในกรณีที่เรามีคลิปในบัญชียูทูบของเราอยู่แล้ว ให้คลิกเลือกเมนู
วีดิโอ ่ Youtube ของฉัน แต่ถ้าเราจะเอา คลิป Youtube จากแหล่งบัญชีอื่น ให้คลิกเมนูจาก Youtube แล้วเสริ์ต
หาเอา นะคะ
เมื่อทาการแทรกวีดิโอจาก Youtube แล้ว วีดิโอ ดังกล่าวจะเข้ามาอยู่ในแบบร่างบทความ ดังรูป
เสร็จแล้วทาการ กดบันทึก และ คลิกไปที่ เมนู แสดงตัวอย่าง ก็จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ
7.โครงงานที่เกี่ยวข้อง
1 โครงงานภายในประเทศ
ณัฏฐณิชา คล้ายทอง โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยี โดยจัดทาเรื่อง ประเทศอาเซียน10
ประเทศ มีจุดมุ่งหมายใน การดาเนินการศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียง เรื่องประเทศอาเซียน10ประเทศมีขั้นตอน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า อาเซียนนั้นเป็นเรื่องที่สาคัญมากและเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งจะเป็นการทาให้มี
การแลกเปลี่ยนความรู้และสิ่งต่างๆให้เจริญมากขึ้นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และทางด้านการเมืองการ
ปกครอง ได้อย่างดียิ่งขึ้น
พรทิพา อาจกล้า การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคม
อาเซียน โดยสร้างสื่อวีดีทัศน์นาเสนอ โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์
โปรแกรม Motion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ในการบันทึกเสียง คณะผู้จัดทา
ได้ดาเนินงานตามขั้นตอนที่ไดว้างแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานโดย การนาเสนอสื่อวีดีทัศน์ในระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลการจัดทาโครงงาน พบว่าการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เพื่อการศึกษาในเรื่องประชาคมอาเซียน
ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้รับความสนใจและเป็นวีดีทัศน์ที่มี
ประโยชน์
นาย ฐิติศักดิ์ พิทักษ์ นายรุ่งภพ หอยแก้ว ''สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน''นี้เป็นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อ
การศึกษา (Education Media Development) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้
คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา ซึ่งผู้จัดทาจะใช้ Blogger ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง “สื่อเพื่อ
การศึกษาอาเซียน” เป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลาย โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร
การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน

More Related Content

Similar to บทที่ 2 แก้ใหม่

Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ssManunya Museanko
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013stiu
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
9789740332862
97897403328629789740332862
9789740332862CUPress
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 
Singapore Trade and Investment Handbook.pdf
Singapore Trade and Investment Handbook.pdfSingapore Trade and Investment Handbook.pdf
Singapore Trade and Investment Handbook.pdfPawachMetharattanara
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Similar to บทที่ 2 แก้ใหม่ (20)

Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
 
58210401117
58210401117 58210401117
58210401117
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
 
58210401121
5821040112158210401121
58210401121
 
อาเซียน (Asean)
อาเซียน (Asean)อาเซียน (Asean)
อาเซียน (Asean)
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss
 
9789740332862
97897403328629789740332862
9789740332862
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Singapore Trade and Investment Handbook.pdf
Singapore Trade and Investment Handbook.pdfSingapore Trade and Investment Handbook.pdf
Singapore Trade and Investment Handbook.pdf
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 

บทที่ 2 แก้ใหม่

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาอาเซียน ให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทา ได้ศึกษาข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1 ประชาคมอาเซียน 1.1 ประเทศสมาชิกอาเซียน 1.บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) 2.กัมพูชา (Cambodia) 3.อินโดนีเซีย (Indonesia) 4.ลาว (Laos) 5.มาเลเซีย (Malaysia) 6.พม่า (Myanmar) 7.ฟิลิปปินส์ (Philippines) 8.สิงคโปร์ (Singapore) 9.เวียดนาม (Vietnam) 10.ประเทศไทย (Thailand) 2.จุดประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน 3.อาเซียน +3 1 ประเทศจีน 2 ประเทศเกาหลีใต้ 3 ประเทศญี่ปุ่น
  • 2. 4.อาเซียน +6 1. จีน 2. ญี่ปุ่น 3. เกาหลีใต้ 4. ออสเตรเลีย 5. นิวซีแลนด์ 6. อินเดีย 5.กฎบัตรอาเซียน 6.โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน (weblog) 7.โครงงานที่เกี่ยวข้อง 1 โครงงานภายในประเทศ
  • 3. 1.ประชาคมอาเซียน 1.1ประเทศสมาชิกอาเซียน 1. ประเทศบรูไน (Brunei) ประเทศบรูไนเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเป็นประเทศที่ 6 เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527 ภายหลังได้รับเอกราชจาก ประเทศอังกฤษ ข้อมูลทั่วไปของประเทศบรูไน ชื่อภาษาไทย : เนการาบรูไนดารุสซาลาม ชื่อภาษาอังกฤษ : Negara Brunei Darussalam ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ (Malay) สกุลเงิน : ดอลล่าร์บรูไน (Brunei dollar, BND) พื้นที่ : 2,226 ตารางไมล์ (5,765 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 415,717 คน การปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช Time Zone : UTC+8 (เร็วกว่าเวลาประเทศไทย 1 ชั่วโมง) GDP : 21,907 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 50,440 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +673
  • 4. ประเทศบรูไน 2. ประเทศกัมพูชา (Cambodia) ประเทศกัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มอาเซียนเป็นลาดับสุดท้าย คือลาดับที่ 10 ทั้ง ๆ ที่ยื่นความจานงค์เข้ามา พร้อมกับลาวและพม่า (ลาดับที่ 8 และ 9) แต่เนื่องจากความไม่สงบภายในประเทศ จึงต้องมีการเลื่อนการ พิจารณาออกไป จนเมื่อเหตุการณ์สงบแล้ว กลุ่มอาเซียนจึงรับกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 ข้อมูลทั่วไปของประเทศกัมพูชา ชื่อภาษาไทย : ราชอาณาจักรกัมพูชา ชื่อภาษาอังกฤษ : Kingdom of Cambodia ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) ภาษาราชการ : ภาษาเขมร สกุลเงิน : เรียลกัมพูชา (Riela, KHR) พื้นที่ : 69,898 ตารางไมล์ (181,035 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 15,205,539 คน การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข Time Zone : UTC+7 ใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย GDP : 17,250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 1,108 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +855
  • 5. ประเทศกัมพูชา 3. ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia) ประเทศอินโดนีเซียถือว่าเป็นประเทศผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียนร่วมกับอีก 4 มิตรประเทศ คือ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยเข้าร่วมเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มต้น เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ภายหลังการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพฯ ข้อมูลทั่วไปของประเทศอินโดนีเซีย ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of Indonesia ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงจาการ์ตา (Jakarta) ภาษาราชการ : ภาษาอินโดนีเซีย (Indonesian) สกุลเงิน : รูเปี๊ยห์ (Rupiah, IDR) พื้นที่ : 735,358 ตารางไมล์ (1,904,569 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 253,603,649 คน การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข Time Zone : UTC+7 ถึง +9 (กรุงจาการ์ต้าใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย) GDP : 2.388 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 9,559 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +62
  • 6. ประเทศอินโดนีเซีย 4. ประเทศลาว (Laos, PDR) ประเทศ สปป.ลาว เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียนเป็นลาดับที่ 8 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดยเข้าเป็น ประเทศอาเซียนพร้อมกับพม่า ลาวนับได้ว่าเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนประเทศเดียวที่ไม่มีทางออกทะเล แต่เป็น ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย และใช้แม่น้าโขงเป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมขนส่งและสาหรับการ สร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในประเทศและส่งขายให้กับประเทศเพื่อนบ้าน ข้อมูลทั่วไปของประเทศลาว ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ชื่อภาษาอังกฤษ : Lao People’s Democratic Republic ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงเวียงจันทน์ (Vientiane) ภาษาราชการ : ภาษาลาว (Lao) สกุลเงิน : กีบ (Kip, LAK) พื้นที่ : 91,429 ตารางไมล์ (236,800 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 6,695,166 คน การปกครอง : ระบอบสังคมนิยม มีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้บริหารสูงสุด Time Zone : UTC+7 ใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย GDP : 20,780 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 3,100 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +856
  • 7. ประเทศลาว 5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ประเทศมาเลเซียเป็นสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ ข้อมูลทั่วไปของประเทศมาเลเซีย ชื่อภาษาไทย : มาเลเซีย ชื่อภาษาอังกฤษ : Malaysia ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, KL) ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ (Malaysian Malay) สกุลเงิน : ริงกิต (Ringgit, MYR) พื้นที่ : 127,355 ตารางไมล์ (329,847 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 30,000,000 คน การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริย์ (สมเด็จพระราชาธิบดี) เป็นประมุข Time Zone : UTC+8 (เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง) GDP : 555,912 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 18,509 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +60
  • 8. ประเทศมาเลเซีย 6. ประเทศพม่า หรือ เมียนมาร์ (Myanmar) ประเทศพม่า เข้าร่วมเป็นสมาชิกของอาเซียนเป็นลาดับที่ 9 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (วันเดียวกับ ประเทศลาว) ข้อมูลทั่วไปของประเทศพม่า ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of the Union of Myanmar ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงเนปยีดอ (Naypyidaw) ภาษาราชการ : ภาษาพม่า (Burmese) สกุลเงิน : จ๊าต (Kyat, MMK) พื้นที่ : 261,227 ตารางไมล์ (676,578 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 51,419,420 คน การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข Time Zone : UTC+6:30 (ช้ากว่าประเทศไทยครึ่งชั่วโมง) GDP : 111,120 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 1,711 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +95
  • 9. ประเทศพม่า 7. ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines) ประเทศฟิลิปปินส์ ก็เป็นอีกหนึ่งสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญา กรุงเทพ ข้อมูลทั่วไปของประเทศฟิลิปปินส์ ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of the Philippines ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila) ภาษาราชการ : ภาษาตากาล็อกและอังกฤษ (Filipino/English) สกุลเงิน : เปโซ (Peso, PHP) พื้นที่ : 115,120 ตารางไมล์ (298,170 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 92,337,852 คน การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข Time Zone : UTC+8 (ช้ากว่าเวลาประเทศไทย 1 ชั่วโมง) GDP : 456,418 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 4,682 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +63
  • 10. ประเทศฟิลิปปินส์ 8. ประเทศสิงคโปร์ (Singapore) ประเทศสิงคโปร์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มอาเซียนเช่นกัน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามปฏิญญากรุงเทพ ข้อมูลทั่วไปของประเทศสิงคโปร์ ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐสิงคโปร์ ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of Singapore ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : สิงคโปร์ ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษและภาษาจีนกลาง (English/Mandarin) สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar, SGD) พื้นที่ : 276 ตารางไมล์ (716 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 5,399,200 คน การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา Time Zone : UTC+8 (เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง) GDP : 348,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 64,584 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +65
  • 11. ประเทศสิงคโปร์ 9. ประเทศไทย (Thailand) ประเทศไทย นอกจากจะเป็นสมาชิก 5 ชาติแรกและเป็นผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียนแล้ว ยังเป็นเจ้าภาพในการลงนามเพื่อ สร้างข้อตกลงในการสร้างกลุ่มอาเซียนขึ้นมาด้วย โดยการลงนามนี้เรียกว่า ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ซึ่งลงนามกันเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ที่พระราชวังสราญรมย์ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศของประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ทั้งประเทศ ดังนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่ากรุงเทพคือบ้านเกิดของ อาเซียน ข้อมูลทั่วไปของประเทศไทย ชื่อภาษาไทย : ราชอาณาจักรไทย ชื่อภาษาอังกฤษ : The Kingdom of Thailand ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok) ภาษาราชการ : ภาษาไทย (Thai) สกุลเงิน : บาท (Thai Baht, THB) พื้นที่ : 198,115 ตารางไมล์ (513,115 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 64,785,909 คน การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา Time Zone : UTC+7 GDP : 673,725 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
  • 12. รายได้ต่อหัวประชากร : 9,874 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +66 ประเทศไทย 10. ประเทศเวียดนาม (Vietnam) ประเทศเวีดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนเป็นลาดับที่ 7 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ข้อมูลทั่วไปของประเทศเวียดนาม ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ชื่อภาษาอังกฤษ : Socialist Republic of Vietnam ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Ha Noi) ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) สกุลเงิน : ด่ง (Dong, VND) พื้นที่ : 128,565 ตารางไมล์ (331,210 ตารางกิโลเมตร) จานวนประชากร : 89,693,000 คน การปกครอง : ระบอบสังคมนิยม มีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้ปกครองสูงสุด Time Zone : UTC+7 ใช้เวลาเดียวกับประเทศไทย GDP : 358,889 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายได้ต่อหัวประชากร : 4,001 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +84
  • 13. ประเทศเวียดนาม 2.จุดประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน ประวัติการก่อตั้งอาเซียน อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วย - นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย) - นายตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการ แห่งชาติมาเลเซีย) - นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์) - นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์) - พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย)
  • 14. ทั้งนี้ ในเวลาต่อมาได้มีประเทศต่าง ๆ เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม พ .ศ.2527) เวียดนาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ประเทศลาว, ประเทศพม่า (เป็น สมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ .2540) และประเทศกัมพูชา (เป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2542) ทั้งนี้ ใน ปัจจุบันมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธารงไว้ซึ่ง สันติภาพเสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคม และ วัฒนธรรมการกินดีอยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยแบ่งออก เป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้ 1. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร 2. เพื่อส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3. เพื่อเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค 4. เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี 5. เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบของการฝึกอบรมและการวิจัยและส่งเสริมการศึกษาด้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 6. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนปรับปรุงการขนส่ง และการคมนาคม 7. เพื่อส่งเสริมความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และ องค์การระหว่างประเทศ
  • 15. สัญลักษณ์ของอาเซียน สัญลักษณ์ของอาเซียนนั้น เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้มานานตั้งแต่ก่อตั้ง ประกอบไปด้วยรูปรวงข้างสีเหลืองจานวน 10 ต้น บน พื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้าเงิน โดยมีความหมายว่าดังนี้... รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือ 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC)
  • 16. 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC) มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน ภูมิภาคอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จัดทา แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) โดยเน้นใน 3 ประการ คือ 1.การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่วมกันทาเพื่อสร้างความเข้าใจใน ระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนาการทางการเมืองไปใน ทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการ ประชาธิปไตย การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีส่วนร่วม ของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิติธรรมและธรรมาภิบาล เป็นต้น 2.ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสาหรับประชาชนที่ครอบคลุมในทุก ด้านครอบ คลุมความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในรูปแบบเดิม มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการ ระงับข้อพิพาท โดยสันติ เพื่อป้องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอยู่ด้วยกัน โดยสงบสุขและไม่มีความ หวาดระแวง และขยายความร่วมมือเพื่อ ต่อต้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การต่อต้านการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันและจัดการ ภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ 3.การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เพื่อเสริมสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือระดับ ภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน+3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และการประชุมสุดยอดเอเชีย ตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-AEC) มีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ ลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จัดทาแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดาเนินงานในด้านเศรษฐกิจเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ 1.การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการเคลื่อนย้าย สินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2.การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสาคัญกับประเด็น นโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิใน ทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน)
  • 17. 3.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการ เสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ 4.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาคเพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) อาเซียนได้ตั้งเป้าเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็นประชาคมที่มี ประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการ พัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้ง ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน โดยได้ จัดทาแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint)ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่ 1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม 5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา ทั้งนี้โดยมีกลไกการดาเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และระดับรัฐมนตรีและ คณะมนตรีประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน วันอาเซียน ให้วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็นวันอาเซียน เพลงประจาอาเซียน (ASEAN Anthem) คือ เพลง ASEAN WAY 3.อาเซียน+3
  • 18. อาเซียน+3 (ASEAN+3) คือ กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาติเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (อาเซียน) กับประเทศอื่นนอกกลุ่มอาเซียนอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศญี่ปุ่น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเพื่อนาไปสู่การจัดตั้งชุมชนเอเชีย ตะวันออก (East Asian Community) ในอนาคต รายละเอียดของอาเซียน+3 กลุ่มอาเซียน+3 (ASEAN+3, ASEAN Plus 3, อาเซียนบวกสาม) จะประกอบด้วยสมาชิก 13 ชาติ คือ 10 ชาติสมาชิกอาเซียน อันได้แก่ ประเทศไทย ประเทศพม่า ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว ประเทศกัมพูชา และประเทศบรูไน รวมกับประเทศจีน ประเทศ ญี่ปุ่น และประเทศเกาหลีใต้ โดยทั้ง 13 ประเทศจะมีประชากรรวมทั้งสิ้นกว่า 2,000 ล้านคน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรของทั้งโลก และจะมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ GDP ถึง 9 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ (ร้อยละ 16 ของ GDP รวมทั้งโลก) ในขณะที่ยอดทรัพย์สินที่เป็นเงินทุนสารองระหว่างประเทศสูงถึง 3.6 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐ (สูงกว่า 50% ของเงินทุนสารองของโลก) เป้าหมายของการจัดตั้งอาเซียน+3 การจัดตั้งกลุ่มอาเซียน+3 นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันของกลุ่มประเทศอาเซียนและ ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่อีก 3 ประเทศ ซึ่งรวมกันเรียกว่า ชุมชนเอเชียตะวันออก (East Asian Community) และมีข้อตกลงกันเพื่อความร่วมมือในด้านต่างๆ 5 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการเมืองและความมั่นคง 2. ด้านความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน 3. ด้านพลังงาน 4. สิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศโลก 5. ด้านสังคมและวัฒนธรรม เป้าหมายความร่วมมือกันของอาเซียน+3 หรือประชาคมเอเชียตะวันออก การรวมกันเป็นกลุ่มอาเซียน+3 จะเป็นการนาไปสู่การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกในอนาคต ซึ่งชาติ สมาชิกทั้งหมดจะร่วมมือและสนับสนุนกันในด้านต่างๆ โดยมีความร่วมมือ 6 ด้านที่จะต้องเร่งผลักดัน ดังนี้ 1. การร่วมกันกาหนดกฎระเบียบในภูมิภาค
  • 19. 2. การตั้งเขตการค้าเสรี 3. ข้อตกลงความร่วมมือทางการเงินและการคลัง 4. เขตความร่วมมือและมิตรภาพเพื่อหลีกเลี่ยงการสะสมอาวุธ 5. การคมนาคมและเครือข่ายการสื่อสาร 6. ด้านสิทธิมนุษยชนและพันธะกรณีต่างๆ ข้อริเริ่มเชียงใหม่ของกลุ่มอาเซียน+3 ในการประชุมรัฐมนตรีคลังอาเซียน+3 วาระพิเศษ (Special ASEAN+3 Financial Ministers Meeting) เมื่อปี ค.ศ. 2009 ได้มีการสนับสนุนการใช้เวทีหารือด้านนโยบายและกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ของภูมิภาค อาเซียน เช่น ข้อริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative: CMI) ซึ่งเป็นแนวความคิดด้านการเงินของภูมิภาค โดยจะ มีการจัดตั้งกองทุนการเงินขึ้นมาใหม่เพื่อเป็นกันชนรองรับเศรษฐกิจที่อาจจะอ่อนแอในอนาคต ที่ประชุมได้มีข้อสรุปเบื้องต้นว่า จะนาข้อริเริ่มเชียงใหม่มาขยายผลในทางปฏิบัติ โดยจะมีการจัดตั้ง กองทุนสารองระหว่างประเทศร่วมกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จากเป้าหมายเดิม 80,000 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็น 120,000 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 4 ล้านล้านบาท โดย 3 ประเทศนอกกลุ่มอาเซียน คือจีน ญี่ปุ่น เและกาหลีใต้ จะลงขันในสัดส่วน 80% ของวงเงินดังกล่าว และประเทศในกลุ่มอาเซียนอีก 10 ประเทศ จะลงขัน ในส่วนที่เหลืออีก 20% ซึ่งกองทุนนี้จะมีรูปแบบคล้ายกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพียงแต่จะให้ความ ช่วยเหลือและเป็นหลักประกันให้กับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นหลัก ไม่ได้ให้ความช่วยเหลือทุกประเทศ เหมือนกองทุนการเงินระหว่างประเทศ อาเซียน+3 นั้น เป็นความร่วมมือที่จะสามารถสร้างประโยชน์และความมั่นคงในภาพรวมให้กับสมาชิกทั้ง 13 ประเทศ อีกทั้งยังสามารถสร้างอานาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศได้อย่างมหาศาล 4.อาเซียน +6 สาหรับ "อา เซียน +6" หรือ FTA ASEAN PLUS 6 ก็คือ การรวมกลุ่มกันของ 16 ประเทศ ที่ประกอบ ไปด้วยกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม, พม่า, กัมพูชา, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, ลาว, สิงคโปร์, ไทย และเวียดนาม รวมกับประเทศที่อยู่นอกอาเซียนอีก 6 ประเทศ คือ จีน, ญี่ปุ่น,
  • 20. เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และอินเดีย ซึ่งหากนับจานวนประชากรในกลุ่มนี้แล้ว จะพบว่า อาเซียน +6 มี ประชากรรวมกันกว่า 3 พันล้านคน หรือคิดเป็น 50% ของประชากรโลกเลยทีเดียว หลายคนอาจจะสงสัยว่า ทาไมอาเซียนต้องรวมกลุ่มกับอีก 6 ประเทศนอกอาเซียนด้วย คาตอบก็คือ การ รวมกลุ่มอาเซียน +6 นี้ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มในการลงทุน การทาการค้า ฯลฯ ให้มีศักยภาพสามารถ แข่งขันกับภูมิภาคอื่น ๆ เช่น สหภาพยุโรป นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมทาข้อตกลงการเปิดการค้าเสรี ด้วยการ จัดตั้งประชาคมอาเซียนขึ้น พร้อมกับผนวกกาลังของแต่ละกลุ่มการค้าเข้าด้วยกัน เพื่อให้กลุ่มประเทศอาเซียน สามารถดาเนินเศรษฐกิจได้อย่างมั่นคงยิ่งขึ้น ความเป็นมาของอาเซียน +6 ที่ มาของแนวคิด "อาเซียน +6" นี้ เริ่มขึ้นครั้งแรกในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (AEM-METI) และ AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 โดยญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia Summit (EAS ประกอบด้วยอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย) ทาการศึกษาความเป็นไปได้ในการ จัดตั้ง Comprehensive Economic Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่างประเทศ อาเซียน+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์)จากนั้น ในการประชุม East Asia Summit ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2550 ณ เมืองเชบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ ประชุมก็มีมติเห็นชอบให้ดาเนินการ ศึกษาเรื่องดังกล่าว โดยประเทศญี่ปุ่นได้จัดประชุมร่วมกันระหว่างนักวิชาการซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ ละประเทศครั้ง แรกในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ อา เซียน+6 (CEPEA) ทั้งนี้ กลุ่มนักวิชาการได้ประชุมร่วมกันทั้งหมด 6 ครั้ง ระหว่างปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2551 ก่อนจะได้ผลสรุปว่า หากมีการจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) จะทาให้เกิดความ สะดวกในด้านการค้าและการลงทุน ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ พลังงาน สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อได้ข้อสรุปดังนี้ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจึงมีมติให้ศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับการจัดทาความตกลง การค้าเสรีระหว่าง ประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) ในระยะที่ 2 โดยเน้นเรื่องความร่วมมือ (Cooperation), การอานวยความสะดวก (Facilitation) และการเปิดเสรี (Liberalization)ที่จะช่วยสร้างความสามารถของประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการ เปิดเสรีภายใต้อาเซียน+6 (CEPEA) ทั้งนี้ ในการประชุมเมื่อวันที่ 13-16 สิงหาคม พ.ศ. 2552 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญก็ได้ ข้อสรุปว่า การจัดทาความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ อาเซียน+6 (CEPEA) ควรให้ความสาคัญเรื่องความ ร่วมมือเป็นอันดับแรก พร้อมกับเน้นพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ในแต่ละประเทศ รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Transfer of Technology) และสร้างความเข้มแข็งให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมทั้งควร พิจารณาจัดตั้งกองทุนเอเชียตะวันออก เพื่อช่วยรองรับโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้น และสร้าง พื้นฐานสาหรับการพัฒนาต่อไป
  • 21. ประโยชน์ของอาเซียน +6 จากรายงาน การศึกษาของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เมื่อปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552 พบว่า การจัดทาความตก ลงการค้าเสรีระหว่างประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) จะทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศ เอเชียตะวันออกเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.11% หรือหากวัดเฉพาะประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศ จะเพิ่มขึ้น 3.83% และเมื่อดูเฉพาะของประเทศไทยแล้วจะพบว่า ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจะ เพิ่มขึ้นถึง 4.78% เลยทีเดียว ในขณะที่ประเทศ+6 มีค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ เพิ่มขึ้น 2.6%นอกจากนี้ อาเซียน +6 จะช่วยปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศสมาชิก ดังนี้ 1.ขยายอุปสงค์ภายในภูมิภาค (Domestic demand within the region) 2.เพิ่มประสิทธิผลทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเน้นความชานาญในการผลิตสินค้าของแต่ละประเทศ (Product specialization) 3.พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้มีการเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศสมาชิก โดยเฉพาะเรื่อง Logistics ซึ่งการพัฒนาเหล่านี้จะนาไปสู่การลดช่องว่างของระดับการพัฒนาในแต่ละประเทศ สมาชิก รวมถึงการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจที่แน่นเฟ้นยิ่งขึ้น 5.กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียน หรือ ASEAN Charter เรียกง่าย ๆ ก็คือ ธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบ ทางกฎหมาย และโครง สร้างองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนให้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยเฉพาะวัตถุประสงค์ใหญ่ ในปี พ.ศ.2558 ที่ทั้ง 10 ประเทศจะจับมือกันขับเคลื่อนเพื่อเป็น ประชาคมอาเซียน อย่างไรก็ตาม กฎบัตรอาเซียนดังกล่าว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2551หลังจากที่ ประเทศสมาชิกครบทั้ง 10 ประเทศ ได้ให้สัตยาบันกฎบัตร และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม พ.ศ.2552 ที่จังหวัดเพชรบุรีเป็นการประชุมระดับผู้นาอาเซียนครั้งแรกหลังจากกฎบัตร มีผลบังคับใช้
  • 22. ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือ 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC) 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC) มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน ภูมิภาคอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จัดทา แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) โดยเน้นใน 3 ประการ คือ 1.การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่วมกันทาเพื่อสร้างความ เข้าใจในระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนาการทางการเมือง ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการ ประชาธิปไตย การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการมีส่วน ร่วมของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิติธรรมและธรรมาภิบาล เป็นต้น 2.ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสาหรับประชาชนที่ ครอบคลุมในทุกด้านครอบ คลุมความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในรูปแบบเดิม มาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจและการระงับข้อพิพาท โดยสันติ เพื่อป้องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอยู่ด้วยกัน โดยสงบสุข และไม่มีความหวาดระแวง และขยายความร่วมมือเพื่อ ต่อต้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การต่อต้านการก่อการ ร้าย อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันและ จัดการภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ 3.การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เพื่อเสริมสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือ ระดับภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน+3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และการประชุมสุดยอดเอเชีย ตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-AEC)มีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้ อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมี
  • 23. ฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จัดทาแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดาเนินงานในด้านเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ 1.การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2.การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสาคัญกับ ประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการ เสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ 4.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับ ประเทศภายนอกภูมิภาคเพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) อาเซียนได้ตั้งเป้าเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็น ประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี และมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน โดยได้จัดทาแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint)ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่ 1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม 5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
  • 24. 6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา ทั้งนี้โดยมีกลไกการดาเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และระดับรัฐมนตรีและ คณะมนตรีประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 6.โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน (weblog) Web Blog หรือ Blog คือเว็บไซค์ทีให้พื้นที่ส่วนตัวแก่ผู้ใช้บริการ โดยมีฟังชั่นต่างๆให้เลือกใช้งาน เช่น พื้นที่สาหรับเขียนประวัติ ไดอารี่ กล่องบทความ อัลบั้มรูป เว็บบอร์ด สามารถโพสต์บทความหรือเรื่องราวของ สินค้า กิจกรรมที่บริษัทดาเนินการ ปรับแต่งหน้าตาได้เหมือนเวบไซค์ สามารถจดทะเบียนเป็นชื่อเจ้าของได้ เชื่อมต่อ social network เช่น facebook ,Tweeter ,Goolgle โพสคลิบวีดีโอ หรือ ทาเป็นอัลบั้มรูปถ่ายสินค้า ส่วนตัว ทีสาคัญ blog สามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบได้ง่าย ข้อมูลจะสามารถเก็บไว้ได้ตลอด สามารถเก็บไว้ดูเองหรือจะ เปิดให้ผู้อื่นเข้ามาดูได้ หรือใช้ในรูปสมาชิกก็ได้ ปัจจุบันนิยมใช้ Blog เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ แจ้ง ข่าวสารให้กับลูกค้า เช่น ถ้าเราทาร้านค้าออนไลน์ จะพบว่าการที่ใครจะเข้ามาซื้อของเราไม่ใช่เรื่องง่าย เนื่องจาก การแข่งขันสูง ความเชื่อมั่นในตัวสินค้า ดังนั้นเราจาเป็นต้องสร้างBlog ขึ้นมาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสินค้า อธิบายรายละเอียด ให้ความรู้เกี่ยวกับคาแนะนาสินค้า เรานา Blog เข้ามาจัดการ เนื่องจาก Web Blog สามารถ up date ได้ง่าย และมีการให้ข่าวสาร หรือเรื่องที่ใกล้เคียงสินค้า เพื่อแนะนาให้คนเข้ามายังเวบไซค์ร้านค้า ออนไลน์ ด้วยการเชื่อม Blog กับเว็บไซค์หลักของเรา (นางชญานิศ เปลี่ยนศรีเมือง) ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก 1. ให้ทาการสมัครบัญชีของ Gmail ของ google แต่ถ้าใครมีบัญชี Gmail อยู่แล้วก็ทาการล็อกอินเพื่อ สร้าง บล็อก ของ http://www.blogger.com/ ได้เลย ซึ่งโดยปกติแล้ว เมื่อเราเข้าไปที่เว็บ www.blogger.com หน้า เพจแรกจะถามบัญชีถึงบัญชีGmail ของผู้ที่จะทาการสร้างบล็อกสาหรับนักศึกษาที่มีบัญชี Gmail อยู่แล้วก็ กรอกชื่อบัญชี Gmail และ รหัสผานของตน ดังภาพ
  • 25. หากใครยังไม่มีบัญชีให้คลิกที่เมนู Sign up เพื่อทาการสมัครบัญชี Gmail ใหม่
  • 26. 2. เมื่อเราเข้าไปที่www.blogger.com ที่ได้ทาการล็อกอินบัญชีของ Gmail แล้ว หน้าแรกของ blogger จะมีหน้าตาดังภาพ ให้คลิกไปที่เมนู“บล็อกใหม่” เพื่อทาการสร้างบล็อก 3. เมื่อเราคลิกไปที่เมนูเพื่อสร้างบล็อกใหม่แล้ว ให้ทาการกรอกรายละเอียดดังนี้ คือ ตรงหัวข้อ ให้พิมพ์ชื่อ บล็อก ตรงที่อยู่ ให้ตั้งชื่อ URL ซึ่งควรใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษและตัวเลข และต้องดูตรงสถานะของบล็อก ด้วยวา ชื่อ URL ที่ตั้งไปนั้นมีผู้ใช้แล้วหรือยังไม่มีผู้ใช้ มันจะแจ้งว่า “ที่อยู่บล็อกนี้สามารถใช้ได้” เสร็จแล้ว ให้ทาการเลือก รูปแบบ จากแม่แบบวาจะให้บล็อกมีหน้าตาในการแสดงผลเช่นไร เมื่อเลือกแล้วก็ คลิกเมนู “สร้างบล็อก”
  • 27. 4. เมื่อทาการสร้างบล็อกแล้ว เราจะกลับมาที่หน้าจัดการบล็อกเพื่อทาการตกแต่งบล็อกให้ดูสวยงามโดย การ ใส่รูปภาพหรือ โค๊ดต่างๆ ให้นักศึกษาทาการคลิกลูกศรสีดา เพื่อเลือกเมนูรูปแบบ ดังภาพ
  • 28. 5. เมื่อคลิกเมนูรูปแบบ แล้วจะมีหน้าตาดังภาพให้คลิกที่ เมนูเครื่องมือออกแบบเทมเพลต เพื่อปรับแต่ง หน้า เทมเพลตตามที่เราต้องการ
  • 29. เมื่อคลิกแล้วทาการเลือกรูปเทมเพลต ตามต้องการ เมื่อเลือกแล้วให้คลิกที่ เมนู“ใช้กับบล็อก” เพื่อบันทึก รูปแบบเทมเพลต 6. เมื่อทาการเลือกรูปแบบของเทมเพลตแล้วให้กลับมาที่“รูปแบบ”อีกครั้ง เพื่อทาการใส่หัวบล็อกและ ตกแต่งบล็อกโดยคลิกเลือกเมนูแก้ไข ตรงส่วนของ ชื่อบล็อก
  • 30. เมื่อคลิกเมนูแก้ไข แล้วให้คลิกที่ เมนู“เลือกไฟล์” เพื่อเลือกไฟล์ภาพที่จะนามาเป็นหัวบล็อกเมื่อเลือกภาพ ได้แล้วกดopenจากนั้นระบบจะทาการอัพโหลดภาพดังกล่าวเข้าไป เมื่อระบบอัพโหลดภาพเสร็จแล้ว ให้ คลิก เลือก เมนู“แทนที่ชื่อและคาอธิบาย” เสร็จแล้วกดเมนู“บันทึก” เพื่อทาการบันทึกภาพดังกล่าวซึ่งจะเข้า ไปอยู่ใน ตาแหน่งหัวบล็อกดังภาพ
  • 31. 7. เมื่อทาการใส่หัวบล็อกเสร็จแล้ว ให้คลิกที่เมนู“เพิ่ม Gadget” เพื่อใส่โค๊ด ปฏิทิน นาฬิกา สถิติผู้เยี่ยม ชม แล้วแต่ความต้องการของเรา แล้วคลิกเมนู“บันทึกการจัดเรียง”
  • 32. 8. เมื่อทาการใส่โค๊ดตกแต่งตามต้องการแล้ว ให้เลือกเมนู“หน้าเว็บ” เพื่อทาการสร้างหน้าเว็บเพจต่างๆ ตาม ต้องการคลิกที่เมนู “แสดงหน้าเว็บเป็น” เลือกลูกศรสีดา แล้วคลิกเลือกรูปแบบ “แท็บด้านบนสุด” แล้วกด “บันทึกการจัดเรียง” ดังภาพ
  • 33. เมื่อทาการเลือกตาแหน่งของแท็บเมนูแล้ว ให้ คลิกเมนู หน้าเว็บใหม่และเลือกลูกศรสีดา เลือกเมนู “หน้า เว็บ เปล่า” เพื่อสร้างหน้าเพจต่างๆ
  • 34. 9. เมื่อคลิกเมนูสร้างหน้าเว็บแล้ว ให้ตั้งชื่อเว็บเพจ ตรงช่อง และพิมพ์รายละเอียดลงไป แล้วคลิกที่เมนู “บันทึก”
  • 35. 10. เมื่อทาการสร้างเมนูเว็บเพจ แล้ว ท่านสามารถที่จะทาลิงค์ไปเว็บไซต์หรือบล็อกต่างๆ โดยคลิกที่เมนู เพิ่ม “Gadget” แล้วเลือก ฟังกชัน์ “รายชื่อลิงค์” แล้วคลิกเครื่องหมาย + เพื่อสร้างลิงค์ ดังภาพ
  • 36. เมื่อคลิกที่ฟังชันก์ รายชื่อลิงค์แล้ว ให้ทาการ พิมพ์ชื่อเมนู “ Link Exchange” และ copy ลิงค์ ที่ ต้องการ เชื่อมโยงของเพื่อนมาใส่ไว้ในช่อง URL ของไซต์ใหม่และ ตรงชื่อเว็บไซต์ให้ พิมพ์ชื่อ ของเว็บนั้นๆ ที่
  • 37. ต้องการทาลิงค์ เมื่อทาเสร็จ ให้คลิกที่ เมนู “เพิ่มลิงค์” เพื่อทาการเพิ่มลิงค์เว็บไซต์อื่นๆต่อไปแล้วคลิกที่เมนู “บันทึก” ดังภาพ เมื่อเราทาการสร้างลิงค์เสร็จ เมื่อกดบันทึกจะมีหน้าตาดังภาพ ซึ่งในกรณีที่เราต้องการเพิ่มลิงค์ต่อให้คลิก ที่ เครื่องมือ “แก่ไข้ ” ดังภาพ
  • 40. 11. เมื่อคลิกเมนูสร้างบทความใหม่แล้ว ให้นักศึกษา ทาการแทรกภาพ โดยการคลิกที่ไอคอน แทรก รูปภาพ คลิกที่เมนูเลือกไฟล์และทาการเลือกรูปภาพ แล้ว กดopenดังรูป
  • 42.
  • 43. เมื่อทาการเลือกภาพแล้ว ภาพดังกล่าวจะเข้ามาอยูในแบบร่างบทความ ดังรูป เสร็จแล้วพิมพ์รายละเอียด ลง ไปแล้วคลิก เมนู เพื่อทาการ“บันทึก” บทความความ และเผยแพร่ บทความ เมื่อกดบันทึกแล้ว จะเข้ามาสู่หน้าจอ รายการที่แสดงถึงบทความที่เราสร้างขึ้นเมื่อครู่ ถ้าหากเราต้องการ สร้างบทความ เพิ่ ม ให้คลิกที่ เมนูสร้าง บทความใหม่
  • 44. ถ้าในบทความของเรา ต้องการเผยแพร่ผลงานวีดิโอจาก Youtube ให้เราคลิกที่ไอคอน แทรกวีดิโอ ทาการเลือกวีดิโอจาก Youtube ซึ่งถ้าในกรณีที่เรามีคลิปในบัญชียูทูบของเราอยู่แล้ว ให้คลิกเลือกเมนู วีดิโอ ่ Youtube ของฉัน แต่ถ้าเราจะเอา คลิป Youtube จากแหล่งบัญชีอื่น ให้คลิกเมนูจาก Youtube แล้วเสริ์ต หาเอา นะคะ
  • 45. เมื่อทาการแทรกวีดิโอจาก Youtube แล้ว วีดิโอ ดังกล่าวจะเข้ามาอยู่ในแบบร่างบทความ ดังรูป เสร็จแล้วทาการ กดบันทึก และ คลิกไปที่ เมนู แสดงตัวอย่าง ก็จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ
  • 46. 7.โครงงานที่เกี่ยวข้อง 1 โครงงานภายในประเทศ ณัฏฐณิชา คล้ายทอง โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยี โดยจัดทาเรื่อง ประเทศอาเซียน10 ประเทศ มีจุดมุ่งหมายใน การดาเนินการศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียง เรื่องประเทศอาเซียน10ประเทศมีขั้นตอน ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า อาเซียนนั้นเป็นเรื่องที่สาคัญมากและเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งจะเป็นการทาให้มี การแลกเปลี่ยนความรู้และสิ่งต่างๆให้เจริญมากขึ้นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และทางด้านการเมืองการ ปกครอง ได้อย่างดียิ่งขึ้น พรทิพา อาจกล้า การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคม อาเซียน โดยสร้างสื่อวีดีทัศน์นาเสนอ โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรม Motion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ในการบันทึกเสียง คณะผู้จัดทา ได้ดาเนินงานตามขั้นตอนที่ไดว้างแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานโดย การนาเสนอสื่อวีดีทัศน์ในระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลการจัดทาโครงงาน พบว่าการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เพื่อการศึกษาในเรื่องประชาคมอาเซียน ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้รับความสนใจและเป็นวีดีทัศน์ที่มี ประโยชน์ นาย ฐิติศักดิ์ พิทักษ์ นายรุ่งภพ หอยแก้ว ''สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน''นี้เป็นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อ การศึกษา (Education Media Development) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้ คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา ซึ่งผู้จัดทาจะใช้ Blogger ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง “สื่อเพื่อ การศึกษาอาเซียน” เป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลาย โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน