SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
น.ส. นันทวัน สิงหาคุณ ม.4/5 เลขที่ 16

                                          ใบงานที่ 3.1
                                 ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์

จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้
1. ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง อุปกรณ์ควบคุม
ขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้
รวมเอาซีพียู, หน่วยความจา และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้
ด้วยกัน โดยทาการบรรจุเข้าไว้ในตัวถังเดียวกัน

2. ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ
    1.หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit)
   2.หน่วยความจา (Memory) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ หน่วยความจาเก็บโปรแกรม (program
memory) ทาหน้าที่คล้าย ๆ กับฮาร์ดดิสก์ในคอมพิวเตอร์ ข้อมูลไม่สูญหายแม้ไม่มีไฟเลี้ยง และ
หน่วยความจาข้อมูล (data memory) ใช้เป็นเหมือนกระดาษทดในการคานวณของซีพียู และเป็นที่พัก
ข้อมูลในการทางานชั่วคราว ข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยงคล้ายกับหน่วยความจาแรม (Ram) ใน
คอมพิวเตอร์ทั่วไปแต่สาหรับไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาจะมีทั้งที่เป็น
หน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็นแบบ อีอีพรอม (EEPROM : Erasable
Electrically Programmable Read-Only Memory) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
 3.ส่วนติดต่ออุปกรณ์ภายนอกหรือเรียกว่าพอร์ต (port) มีด้วยกัน 2 ลักษณะคือ พอร์ตรับสัญญาณ
หรือพอร์ตอินพุต (input port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ตเอาต์พุต (output port) ส่วนนี้มี
ความสาคัญมาก เนื่องจากใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก และอุปกรณ์ภายนอกเหล่านั้นนั่นเอง
ที่เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับมนุษย์ ยกตัวอย่าง พอร์ตอินพุตใช้ต่อกับสวิตซ์เพื่อรับข้อมูลที่ผู้ใช้งาน
กดป้อนเข้ามา ซึ่งเหมือนกับการใช้คีย์บอร์ดในการป้อนข้อความเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ พอร์ตเอาต์พุต
ใช้ต่อกับลาโพงเพื่อขับเสียง ต่อกับหลอดไฟเพื่อแสดงผล ต่อกับมอเตอรฺ์เพื่อควบคุมการหมุน ต่อกับ
หน่วยความจาเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการเก็บข้อมูล หากเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ พอร์ตเอาต์พุตก็คือ
ส่วนที่ต่อกับเครื่องพิมพ์สาหรับพิมพ์ข้อมูลออกมาและส่วนที่ต่อกับจอมอนิเตอร์เพื่อแสดงภาพ เป็น
ต้น
4.เส้นทางสัญญาณหรือบัส (bus) การติดต่อแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่างซีพียู หน่วยความจา
และพอร์ต จะกระทาบนสายสัญญาณจานวนมาก เรียกว่า เส้นทางสัญญาณหรือบัส โดยแบ่งเป็น
บัสข้อมูล (data bus),บัสแอดเดรส(address bus) และบัสควบคุม (control bus)
บัสข้อมูลเป็นสายสัญญานที่บรรจุข้อมูลสาหรับการประมวลผลทั้งหมดขนาดของบัสจะขึ้นอยู่กับ
ความสามารถในการประมวลผลของซีพียูและเทคโนโลยีของไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนั้นๆ สาหรับ
ในงานทั่วไป ขนาดของบัสข้อมูลคือ 8 บิต และในปัจจุบันมีการพัฒนาไปถึง 16,32 และ 64 บิตแล้ว
บัสแอดเดรสเป็นสายสัญญาณที่บรรจุค่าตาแหน่งของหน่วยความจา โดยการติดต่อกับหน่วยความจา
นั้น ซีพียูต้องกาหนดตาแหน่งที่ต้องการอ่านหรือเขียนก่อน ซึ่งก็คือการกาหนดค่าแอสเดรส จานวน
สายสัญญาณของบัสแอดเดรส จึงต้องมีจานวนมาก และถ้ายิ่งมีมากเท่าใด จะเป็นการแสดงถึงความจุ
ของหน่วยความจา ที่ไมโครคอลโทรลเลอร์ตัวนั้นสามารถติดต่อได้ สามารถคานวณได้จาก
จานวนแอสเดรสของหน่วยความจา = 2 ยกกาลัง n
โดยที่ n คือจานวนสายสัญญาณ
ตัวอย่าง ไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวหนึ่งมีสายแอดเดรส 10 เส้น
ดังนั้นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนี้สามารถติดต่อกับหน่วยความจาได้ 2 ยกกาลัง 10 = 1,024 ตาแหน่ง
หากต้องการทราบความจุของหน่วยความจาจริง ๆ จะต้องทราบถึงขนาดของบัสข้อมูลก่อนว่าเป็น
เท่าไรหากเป็น 8 บิต ความจุดของหน่วยความจาที่มีสายแอดเดรส 10 เส้น จะเท่ากับ 8X1024 = 8,192
บิต โดยปกตินิยมเรียกความจุของหน่วยความจาในหน่วยเป็นไบต์ (byte) หรือกิโลไบต์ (kilo byte :
KB) มากกว่า โดย 1 ไบต์เก่ากับ 8 บิต และ 1 กิโลไบต์เท่ากับ 1,024 ไบต์ (ไม่ใช่ 1,000 เหมือนกับ
หน่วยวัดทั่วไป) ดังนั้นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่นามาเป็นตัวอย่างจุมีความจุของหน่วยความจาเท่ากับ
8,192 บิต หรือ 1,024 ไบต์ หรือ 1 กิโลไบต์
บัสควบคุมเป็นกลุ่มของสายสัญญาณควบคุมการติดต่อทั้งหมดของซีพียูกับหน่วยความจาและพอร์ต
สาหรับสายสัญญาณควบคุมหลักได้แก่ สายสัญญาณเลือก-อ่าน-เขียนหน่วยความจา สายสัญญาณ
เลือก - อ่าน - เขียนข้อมูลกับพอร์ต
 5.วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่งเนื่องจากการทางาน
ทั้งหมดในไมโครคอนโทรลเลอร์จะขึ้นอยู่กับการกาหนดจังหวะโดยใช้สัญญาณนาฬิกาหากสัญญาณ
นาฬิกามีความถี่สูงจังหวะในการทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ก็จะถี่และมีมากตามส่งผลให้
ไมโครคอนโทรลเลอร์นั้นมีความเร็วในการประมวลผลสูงตามไปด้วย
3. บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ อินเทล
มีชื่อเรียกว่า MPU 4004 (MCS-4)

4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะ
การทางานเช่นใด
ประมวณคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณดิจิตอลมาเทียบกับตารางชุดคาสั่ง เพื่อกาหนดการทางานใน
แบบต่าๆ ส่วนอัตราการประมวลผลนั้นขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้
5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ในการผลิต
   ตอบ นาฬิกา หุ่นยนต์ แอร์ ทีวี ตู้เย็น
6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือภาษาแอสเซมบลี้
7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษา BASIC และภาษา C หรือ PASCAL
8. ATMEGA-16 คือ หัวใจของ IPST-MicroBOX หน่วยประมวลผลกลาง จาก ATMEL
9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง
- หน่วยความจาโปรแกรมภายใน 16 kByte
- หน่วยความจา RAM 1 kByte
- ทางานด้วยความเร็ว 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ที่คริสตอล 16 MHz
- พอร์ตอินพุตเอาต์พุต 16 ตาแหน่ง
- วงจรพัลส์วิดธ์มอดูเลเตอร์ 4 ช่อง
- ไทเมอร์เคาน์เตอร์ 3 ตัว
- การสื่อสารอนุกรม SP1/12C/USART
- วงจรแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง
- สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง

More Related Content

What's hot

77777777777777777777777777777777777777
7777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777
77777777777777777777777777777777777777Supawat Simswat
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Looknam Kamonchanok
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Chaiwattana Tongpramoon
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Champswagen
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
งานไมโครคอนโทรลเลอร์
งานไมโครคอนโทรลเลอร์งานไมโครคอนโทรลเลอร์
งานไมโครคอนโทรลเลอร์Supawat Simswat
 
งานไมโครคอน2
งานไมโครคอน2งานไมโครคอน2
งานไมโครคอน2Supawat Simswat
 
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์Krusine soyo
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Nuntawan Singhakun
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์micwatcharapong
 

What's hot (16)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Vasitee
VasiteeVasitee
Vasitee
 
77777777777777777777777777777777777777
7777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777
77777777777777777777777777777777777777
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
งานไมโครคอนโทรลเลอร์
งานไมโครคอนโทรลเลอร์งานไมโครคอนโทรลเลอร์
งานไมโครคอนโทรลเลอร์
 
งานไมโครคอน2
งานไมโครคอน2งานไมโครคอน2
งานไมโครคอน2
 
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Viewers also liked (17)

Plagiarism jea15
Plagiarism jea15Plagiarism jea15
Plagiarism jea15
 
【用語】ナンでも
【用語】ナンでも【用語】ナンでも
【用語】ナンでも
 
Resume (3)
Resume (3)Resume (3)
Resume (3)
 
Behaviorism
BehaviorismBehaviorism
Behaviorism
 
Prepositions power
Prepositions powerPrepositions power
Prepositions power
 
กลุ่ม5.
กลุ่ม5.กลุ่ม5.
กลุ่ม5.
 
“More than marshmallow fluff”
“More than marshmallow fluff”“More than marshmallow fluff”
“More than marshmallow fluff”
 
Vozeal_Publishers
Vozeal_PublishersVozeal_Publishers
Vozeal_Publishers
 
Kristin schrader instructionalstrategy
Kristin schrader instructionalstrategyKristin schrader instructionalstrategy
Kristin schrader instructionalstrategy
 
Osma winners2015
Osma winners2015Osma winners2015
Osma winners2015
 
24:7 websites
24:7 websites24:7 websites
24:7 websites
 
Osma winners 2016_corrected
Osma winners 2016_correctedOsma winners 2016_corrected
Osma winners 2016_corrected
 
Painless grammar
Painless grammarPainless grammar
Painless grammar
 
Day-of winners 2016
Day-of winners 2016Day-of winners 2016
Day-of winners 2016
 
Наркомания
НаркоманияНаркомания
Наркомания
 
Story ideas:souces osmaf2016
Story ideas:souces osmaf2016Story ideas:souces osmaf2016
Story ideas:souces osmaf2016
 
2016 editorial policy
2016 editorial policy2016 editorial policy
2016 editorial policy
 

Similar to ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16

ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10Minny Doza
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSuriyawut Threecai
 
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์noo Carzy
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถNarunat Mahipan
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22Ya-Saranya Phanomai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 

Similar to ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16 (20)

ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทที่ 3 เทคโน ม.6 copy
บทที่ 3 เทคโน ม.6   copyบทที่ 3 เทคโน ม.6   copy
บทที่ 3 เทคโน ม.6 copy
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 

ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16

  • 1. น.ส. นันทวัน สิงหาคุณ ม.4/5 เลขที่ 16 ใบงานที่ 3.1 ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์ จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้ 1. ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง อุปกรณ์ควบคุม ขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ รวมเอาซีพียู, หน่วยความจา และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ ด้วยกัน โดยทาการบรรจุเข้าไว้ในตัวถังเดียวกัน 2. ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ 1.หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) 2.หน่วยความจา (Memory) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ หน่วยความจาเก็บโปรแกรม (program memory) ทาหน้าที่คล้าย ๆ กับฮาร์ดดิสก์ในคอมพิวเตอร์ ข้อมูลไม่สูญหายแม้ไม่มีไฟเลี้ยง และ หน่วยความจาข้อมูล (data memory) ใช้เป็นเหมือนกระดาษทดในการคานวณของซีพียู และเป็นที่พัก ข้อมูลในการทางานชั่วคราว ข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยงคล้ายกับหน่วยความจาแรม (Ram) ใน คอมพิวเตอร์ทั่วไปแต่สาหรับไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาจะมีทั้งที่เป็น หน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็นแบบ อีอีพรอม (EEPROM : Erasable Electrically Programmable Read-Only Memory) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง 3.ส่วนติดต่ออุปกรณ์ภายนอกหรือเรียกว่าพอร์ต (port) มีด้วยกัน 2 ลักษณะคือ พอร์ตรับสัญญาณ หรือพอร์ตอินพุต (input port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ตเอาต์พุต (output port) ส่วนนี้มี ความสาคัญมาก เนื่องจากใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก และอุปกรณ์ภายนอกเหล่านั้นนั่นเอง ที่เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับมนุษย์ ยกตัวอย่าง พอร์ตอินพุตใช้ต่อกับสวิตซ์เพื่อรับข้อมูลที่ผู้ใช้งาน กดป้อนเข้ามา ซึ่งเหมือนกับการใช้คีย์บอร์ดในการป้อนข้อความเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ พอร์ตเอาต์พุต ใช้ต่อกับลาโพงเพื่อขับเสียง ต่อกับหลอดไฟเพื่อแสดงผล ต่อกับมอเตอรฺ์เพื่อควบคุมการหมุน ต่อกับ หน่วยความจาเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการเก็บข้อมูล หากเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ พอร์ตเอาต์พุตก็คือ ส่วนที่ต่อกับเครื่องพิมพ์สาหรับพิมพ์ข้อมูลออกมาและส่วนที่ต่อกับจอมอนิเตอร์เพื่อแสดงภาพ เป็น ต้น
  • 2. 4.เส้นทางสัญญาณหรือบัส (bus) การติดต่อแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่างซีพียู หน่วยความจา และพอร์ต จะกระทาบนสายสัญญาณจานวนมาก เรียกว่า เส้นทางสัญญาณหรือบัส โดยแบ่งเป็น บัสข้อมูล (data bus),บัสแอดเดรส(address bus) และบัสควบคุม (control bus) บัสข้อมูลเป็นสายสัญญานที่บรรจุข้อมูลสาหรับการประมวลผลทั้งหมดขนาดของบัสจะขึ้นอยู่กับ ความสามารถในการประมวลผลของซีพียูและเทคโนโลยีของไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนั้นๆ สาหรับ ในงานทั่วไป ขนาดของบัสข้อมูลคือ 8 บิต และในปัจจุบันมีการพัฒนาไปถึง 16,32 และ 64 บิตแล้ว บัสแอดเดรสเป็นสายสัญญาณที่บรรจุค่าตาแหน่งของหน่วยความจา โดยการติดต่อกับหน่วยความจา นั้น ซีพียูต้องกาหนดตาแหน่งที่ต้องการอ่านหรือเขียนก่อน ซึ่งก็คือการกาหนดค่าแอสเดรส จานวน สายสัญญาณของบัสแอดเดรส จึงต้องมีจานวนมาก และถ้ายิ่งมีมากเท่าใด จะเป็นการแสดงถึงความจุ ของหน่วยความจา ที่ไมโครคอลโทรลเลอร์ตัวนั้นสามารถติดต่อได้ สามารถคานวณได้จาก จานวนแอสเดรสของหน่วยความจา = 2 ยกกาลัง n โดยที่ n คือจานวนสายสัญญาณ ตัวอย่าง ไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวหนึ่งมีสายแอดเดรส 10 เส้น ดังนั้นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนี้สามารถติดต่อกับหน่วยความจาได้ 2 ยกกาลัง 10 = 1,024 ตาแหน่ง หากต้องการทราบความจุของหน่วยความจาจริง ๆ จะต้องทราบถึงขนาดของบัสข้อมูลก่อนว่าเป็น เท่าไรหากเป็น 8 บิต ความจุดของหน่วยความจาที่มีสายแอดเดรส 10 เส้น จะเท่ากับ 8X1024 = 8,192 บิต โดยปกตินิยมเรียกความจุของหน่วยความจาในหน่วยเป็นไบต์ (byte) หรือกิโลไบต์ (kilo byte : KB) มากกว่า โดย 1 ไบต์เก่ากับ 8 บิต และ 1 กิโลไบต์เท่ากับ 1,024 ไบต์ (ไม่ใช่ 1,000 เหมือนกับ หน่วยวัดทั่วไป) ดังนั้นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่นามาเป็นตัวอย่างจุมีความจุของหน่วยความจาเท่ากับ 8,192 บิต หรือ 1,024 ไบต์ หรือ 1 กิโลไบต์ บัสควบคุมเป็นกลุ่มของสายสัญญาณควบคุมการติดต่อทั้งหมดของซีพียูกับหน่วยความจาและพอร์ต สาหรับสายสัญญาณควบคุมหลักได้แก่ สายสัญญาณเลือก-อ่าน-เขียนหน่วยความจา สายสัญญาณ เลือก - อ่าน - เขียนข้อมูลกับพอร์ต 5.วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่งเนื่องจากการทางาน ทั้งหมดในไมโครคอนโทรลเลอร์จะขึ้นอยู่กับการกาหนดจังหวะโดยใช้สัญญาณนาฬิกาหากสัญญาณ นาฬิกามีความถี่สูงจังหวะในการทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ก็จะถี่และมีมากตามส่งผลให้ ไมโครคอนโทรลเลอร์นั้นมีความเร็วในการประมวลผลสูงตามไปด้วย
  • 3. 3. บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ อินเทล มีชื่อเรียกว่า MPU 4004 (MCS-4) 4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะ การทางานเช่นใด ประมวณคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณดิจิตอลมาเทียบกับตารางชุดคาสั่ง เพื่อกาหนดการทางานใน แบบต่าๆ ส่วนอัตราการประมวลผลนั้นขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้ 5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ในการผลิต ตอบ นาฬิกา หุ่นยนต์ แอร์ ทีวี ตู้เย็น 6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือภาษาแอสเซมบลี้ 7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษา BASIC และภาษา C หรือ PASCAL 8. ATMEGA-16 คือ หัวใจของ IPST-MicroBOX หน่วยประมวลผลกลาง จาก ATMEL 9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง - หน่วยความจาโปรแกรมภายใน 16 kByte - หน่วยความจา RAM 1 kByte - ทางานด้วยความเร็ว 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ที่คริสตอล 16 MHz - พอร์ตอินพุตเอาต์พุต 16 ตาแหน่ง - วงจรพัลส์วิดธ์มอดูเลเตอร์ 4 ช่อง - ไทเมอร์เคาน์เตอร์ 3 ตัว - การสื่อสารอนุกรม SP1/12C/USART - วงจรแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง - สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง