SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สื่อการเรียนการสอนเรื่องโครงสร้างโลก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The Structure of the Earth for learning
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวรรินรดา เดชคุณมาก
2.นางสาวกาญจนา มาวัน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
เทคโนโลยีในปัจจุบันนับว่ามีความก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด มีการนามาประยุกต์ใช้ใน
ด้านต่างๆอย่างมากมาย ไม่ว่าจะด้านการเรียนการสอน การสื่อสาร การคมนาคม เป็น
ต้น เพื่อความสะดวก ความสบายและย่นระยะเวลาในการทางาน การใช้งาน
อินเทอร์เน็ตก็นับเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทและความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของผู้คน
ในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เนื่องจากสื่อสารสนเทศทั้งหลายมีการนาเสนอในรูปแบบ
ของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อไร้พรมแดน ทาให้ผู้คนสามารถติดตาม
ข่าวสารจากทุกมุมโลกได้อย่างทันต่อเหตุการณ์ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะด้านธุรกิจการค้า
ธุรกรรมผ่านระบบออนไลน์ ด้านความบันเทิงข่าวสารที่ช่วยจรรโลงใจ เช่น ภาพยนตร์
ละคร เพลง สารคดี ก็นามาลงไว้ในอินเทอร์เน็ต และด้านการศึกษาเพื่อนใช้เป็นแหล่ง
ค้นคว้าความรู้ทั้งที่สนใจและต้องใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียน รวมถึงช่วยให้
นักเรียนที่ไม่มีโอกาสได้เข้าถึงคุณครูสามารถเข้าถึงครูได้ง่ายขึ้น
การนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับสื่อการเรียนการสอนจะทาให้เนื้อหามีความ
น่าสนใจและช่วยให้นักเรียนเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น และเนื่องจากเรื่องโครงสร้างโลก
เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เป็นหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งนักเรียนทุกคนจะต้องได้รับการศึกษา เพื่อความรู้ในการ
สอบและการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ทางผู้จัดทาจึงคิดว่าการนาเนื้อหาที่
เรียนอยู่มาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีที่มี จะช่วยให้โลกแห่งการศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้กว้างขึ้น
1. เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอนสาหรับผู้ที่สนใจและต้องการ
ทบทวนบนอินเทอร์เน็ต
2. เพื่อเป็นการเพิ่มความรู้เรื่องโครงสร้างของโลก
3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนบนโครงข่ายอินเทอร์เน็ต
• นางสาวรรินรดา เดชคุณมาก
ชั้น ม.6/8 เลขที่ 13
ชื่อเล่น ฟ้า
• นางสาวกาญจนา มาวัน
ชั้น ม.6/8 เลขที่ 14
ชื่อเล่น อีฟ
เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซในเอกภพบริเวณนี้
ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชื่อว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar แปลว่า
สุริยะ, Nebula แปลว่า หมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มก๊าซยุบตัว
และหมุนตัวเป็นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบ
ฟิวชั่น กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ชื่อว่าดวงอาทิตย์ ส่วนวัสดุที่อยู่รอบๆ มี
อุณหภูมิต่ากว่า รวมตัวเป็นกลุ่มๆ มีมวลสารและความหนาแน่นมากขึ้น
เป็นชั้นๆ และกลายเป็นดาวเคราะห์ในที่สุด
โลกในยุคแรกเป็นของเหลวหนืดร้อน ถูกกระหน่าชนด้วยอุกกาบาต
ตลอดเวลา องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น เหล็ก และนิเกิล จมตัวลงสู่แก่น
กลางของโลก ขณะที่องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุเบา เช่น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือก
นอก ก๊าซต่างๆ เช่น ไฮโดรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ พยายามแทรกตัวออกจาก
พื้นผิว ก๊าซไฮโดรเจนถูกลมสุริยะจากดวงอาทิตย์ทาลายให้แตกเป็นประจุ ส่วน
หนึ่งหลุดหนีออกสู่อวกาศ อีกส่วนหนึ่งรวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นไอน้า เมื่อ
โลกเย็นลง เปลือกนอกตกผลึกเป็นของแข็ง ไอน้าในอากาศควบแน่นเกิดฝน
น้าฝนได้ละลายคาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพื้นผิว เกิดทะเลและมหาสมุทร
สองพันล้านปีต่อมาการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ได้นาคาร์บอนไดออกไซด์มาผ่าน
การสังเคราะห์แสง เพื่อสร้างพลังงาน และให้ผลผลิตเป็นก๊าซออกซิเจน ก๊าซ
ออกซิเจนที่ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศชั้นบน แตกตัวและรวมตัวเป็นก๊าซโอโซน
นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามหาวิธีการต่างๆ ที่จะ
ศึกษาโครงสร้างโลกทั้งทางตรงและทางอ้อม โดย
พยายามใช้หลักฐานต่างๆ ที่สามารถค้นพบได้ รวมทั้ง
ใช้ทฤษฎี หลักการทางวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ และ
เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อจะตอบข้อสงสัยดังกล่าว
ในปัจจุบันมนุษย์มีข้อจากัดด้านเทคโนโลยีสาหรับ
การศึกษาโครงสร้างของโลกโดยทางตรง และในขณะนี้ได้ศึกษา
จากหลุมเจาะสารวจเพื่อเก็บตัวอย่างหิน ซึ่งหลุมที่เจาะสารวจที่
ลึกที่สุดในปัจจุบันเจาะได้เพียงในระดับความลึก 12.3 กิโลเมตร
เท่านั้น
สาหรับการศึกษาโครงสร้างภายในของโลกโดยทางอ้อม ได้
จากการศึกษาคลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหวและจากการ
ทดลองของมนุษย์
โดยศึกษาการเดินทางของ “คลื่นซิสมิค” (Seismic waves) ซึ่งมี 2
ลักษณะ คือ
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหว
สะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบ
อัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่าน
ตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นคลื่นที่สถานีวัด
แรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8
กิโลเมตร/วินาที คลื่นปฐมภูมิทาให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความ
ไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้ง
ฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้
ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดิน
ทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4
กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทาให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
ขณะที่เกิดแผ่นดินไหว (Earthquake) จะเกิดแรงสั่นสะเทือนหรือ
คลื่นซิสมิคขยายแผ่จากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทุก
ทาง เนื่องจากวัสดุภายในของโลกมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน และมี
สถานะต่างกัน คลื่นทั้งสองจึงมีความเร็วและทิศทางที่เปลี่ยนแปลงไปดัง
ภาพที่ 4 คลื่นปฐมภูมิหรือ P wave สามารถเดินทางผ่านศูนย์กลาง
ของโลกไปยังซีกโลกตรงข้ามโดยมีเขตอับ (Shadow zone) อยู่ระหว่างมุม
100 – 140 องศา แต่คลื่นทุติยภูมิ หรือ S wave ไม่สามารถเดินทางผ่าน
ชั้นของเหลวได้ จึงปรากฏแต่บนซีกโลกเดียวกับจุดเกิดแผ่นดินไหว โดย
มีเขตอับอยู่ที่มุม 120 องศาเป็นต้นไป
นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น 3 ส่วน
โดยพิจารณาจากองค์ประกอบทางเคมี ดังนี้
เปลือกโลก (Crust) เป็นผิวโลกชั้นนอก มีองค์ประกอบ
ส่วนใหญ่เป็นซิลิกอนไดออกไซด์ และอะลูมิเนียมออกไซด์
แมนเทิล (Mantle) คือส่วนซึ่งอยู่อยู่ใต้
เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900
กิโลเมตร มีองค์ประกอบหลักเป็นซิลิคอน
ออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และเหล็ก
ออกไซด์
ชั้นแก่นโลก (Core) อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลก
ประมาณ 2,900 กิโลเมตร ลงไป แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
คือ แก่นโลกชั้นนอกมีความหนาตั้งแต่ 2,900 – 5,100
กิโลเมตร เชื่อกันว่าชั้นนี้ประกอบด้วยสารเหลวของโลหะ
เหล็กและนิเกิลเป็นส่วนใหญ่และมีความร้อนสูง
มาก ต่อเนื่องจากแก่นโลกชั้นนอกลงไปเป็นแก่นโลก
ชั้นนอกแต่อยู่ในสภาพของแข็งเนื่องจาก มีความดันและ
อุณหภูมิสูงมาก อาจสูงถึง 6,000 ๐C
นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น 5 ส่วน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทาง
กายภาพ ดังนี้
ลิโทสเฟียร์ (Lithosphere) คือ ส่วนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบด้วย เปลือกโลกและ
แมนเทิลชั้นบนสุด ดังนี้
o เปลือกทวีป (Continental crust) ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิตมีความหนาเฉลี่ย 35
กิโลเมตร ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
o เปลือกสมุทร (Oceanic crust) เป็นหินบะซอลต์ความหนาเฉลี่ย 5 กิโลเมตร ความ
หนาแน่น 3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร (มากกว่าเปลือกทวีป)
o แมนเทิลชั้นบนสุด (Uppermost mantle) เป็นวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและ
เปลือกสมุทรอยู่ลึกลงมาถึงระดับลึก 100 กิโลเมตร
แอสทีโนสเฟียร์ (Asthenosphere) เป็นแมนเทิล
ชั้นบนซึ่งอยู่ใต้ลิโทสเฟียร์ลงมาจนถึงระดับ 700
กิโลเมตร เป็นวัสดุเนื้ออ่อนอุณหภูมิประมาณ 600 –
1,000ฐC เคลื่อนที่ด้วยกลไกการพาความร้อน
(Convection) มีความหนาแน่นประมาณ 3.3 กรัม/
เซนติเมตร
เมโซสเฟียร์ (Mesosphere) เป็นแมนเทิลชั้นล่าง
ซึ่งอยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มีสถานะ
เป็นของแข็งอุณหภูมิประมาณ 1,000 – 3,500ฐC มี
ความหนาแน่นประมาณ 5.5 กรัม/เซนติเมตร
แก่นชั้นนอก (Outer core) อยู่ลึกลงไปถึงระดับ
5,150 กิโลเมตร เป็นเหล็กหลอมละลายมีอุณหภูมิสูง
1,000 – 3,500ฐC เคลื่อนตัวด้วยกลไกการพาความ
ร้อนทาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก มีความหนาแน่น 10
กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
แก่นชั้นใน (Inner core) เป็นเหล็กและนิเกิล
ในสถานะของแข็งซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 5,000
?C ความหนาแน่น 12 กรัมต่อลูกบาศก์
เซนติเมตร จุดศูนย์กลางของโลกอยู่ที่ระดับลึก
6,370 กิโลเมตร
แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แก่นโลกชั้นใน (Inner
core) มีความกดดันสูงจึงมีสถานะเป็นของแข็ง ส่วนแก่นชั้นนอก (Outer
core) มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็นของเหลวหนืด แก่นชั้นในมี
อุณหภูมิสูงกว่าแก่นชั้นนอก พลังงานความร้อนจากแก่นชั้นใน จึง
ถ่ายเทขึ้นสู่แก่นชั้นนอกด้วยการพาความร้อน (Convection) เหล็กหลอม
ละลายเคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า
และเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก (The Earth’s magnetic field)
อย่างไรก็ตามแกนแม่เหล็กโลกและแกน
หมุนของโลกมิใช่แกนเดียวกัน แกนแม่เหล็กโลก
มีขั้วเหนืออยู่ทางด้านใต้ และมีแกนใต้อยู่
ทางด้านเหนือ แกนแม่เหล็กโลกเอียงทามุมกับ
แกนเหนือ-ใต้ทางภูมิศาสตร์ (แกนหมุนของ
โลก) 12 องศา
สนามแม่เหล็กโลกก็มิใช่เป็นรูปทรงกลม (ภาพที่ 8) อิทธิพล
ของลมสุริยะทาให้ด้านที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มีความกว้างน้อยกว่า
ด้านตรงข้ามดวงอาทิตย์ สนามแม่เหล็กโลกไม่ใช่สิ่งคงที่ แต่มีการ
เปลี่ยนแปลงความเข้มและสลับขั้วเหนือ-ใต้ ทุกๆ หนึ่งหมื่นปี ใน
ปัจจุบันสนามแม่เหล็กโลกอยู่ในช่วงที่มีกาลังอ่อน สนามแม่เหล็ก
โลกเป็นสิ่งที่จาเป็นที่เอื้ออานวยในการดารงชีวิต หากปราศจาก
สนามแม่เหล็กโลกแล้ว อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์และ
อวกาศ จะพุ่งชนพื้นผิวโลก ทาให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดารงอยู่ได้ (ดู
รายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 3 พลังงานจากดวงอาทิตย์)
สภาพอากาศของโลก คือ การถูกห่อหุ้มด้วยชั้นบรรยากาศ
ซึ่งมีทั้งหมด 5 ชั้น ได้แก่
โทรโพสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่ 0-10 กิโลเมตรจากผิวโลก
บรรยกาศมีไอน้า เมฆ หมอกซึ่งมีความหนาแน่นมาก และ
มีการแปรปรวนของอากาศอยู่ตลอดเวลา
สตราโตสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่ 10-35 กิโลเมตร
จากผิวโลก บรรยากาศชั้นนี้แถบจะไม่เปลื่ยน
แปลงจากโทรโพสเฟียร์ยกเว้นมีผงฟุ่นเพิ่มมา
เล็กน้อย
เมโสสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่35-80 กิโลเมตร
จากผิวโลก บรรยากาศมีก๊าซโอโซนอยู่มากซึ่งจะ
ช่วยสกัดแสงอัลตร้า ไวโอเรต (UV) จาก ดวง
อาทิตย์ไม่ให้มาถึงพื้นโลกมากเกินไป
ไอโอโนสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่ 80-600
กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศมีออกซิเจน
จางมากไม่เหมาะกับมนุษย์
เอก โซสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่ 600กิโลเมตรขึ้น
ไปจากผิวโลก บรรยากาศมีออกซิเจนจางมากๆ
และมีก๊าซฮีเลียมและไฮโดรเจนอยู่เป็นส่วนมาก
โดยมีชั้นติดต่อกับอวกาศ
โลกมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส โดยเฉลี่ย
โลก มีรูปทรงกระบอกแบนขั้ว หมายความว่ามีรูปทรงกระบอกแต่
บริเวณขั้วโลกทั้งสองแบนเล็กน้อย และโป่งออกทางเส้นศูนย์สูตร ความ
ยาวรอบโลกประมาณ 40,000 กิโลเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
12,700 กิโลเมตร จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกคือ ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ ซึ่งมี
ความสูง 8,848 เมตรจากระดับน้าทะเล ส่วนจุดที่ลึกที่สุดในโลกคือ ร่อง
ลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ่งมีความลึก 10,911 เมตรจากระดับน้าทะเล
เนื่องจากโลกมีลักษณะโป่งออกทางตอนกลางคือเส้นศูนย์สูตร ทาให้จุดที่
ห่างไกลจากจุดศูนย์กลางโลกคือยอดเขาชิมโบราโซ ในประเทศเอกวาดอร์
แรงกระทาโดยแรงโน้มถ่วงของโลกสามารถนามาใช้ใน
การคานวณหามวลของโลกและการประมาณค่าปริมาตรของ
โลกได้, ดังนั้นความหนาแน่น (density) เฉลี่ยของโลกก็จะ
สามารถคานวณได้ นักดาราศาสตร์ยังสามารถคานวณหา
มวลของโลกได้จากวงโคจรและผลกระทบต่อวัตถุที่วางอยู่บน
ดาวเคราะห์ในระยะใกล้เคียงได้
ทิศเหนือที่อ่านได้จากเข็มทิศแม่เหล็ก อาจจะไม่ตรงกับทิศเหนือจริง
ด้วยเหตุผล 2 ประการคือ
1 ขั้วแม่เหล็กโลก และขั้วโลก มิใช่จุดเดียวกัน
2 ในบางพื้นที่ของโลก เส้นแรงแม่เหล็กมีความเบี่ยงเบน
(Magnetic deviation) มิได้ขนานกับเส้นลองจิจูด (เส้นแวง) ทาง
ภูมิศาสตร์ แต่โชคดีที่บริเวณประเทศไทยมีค่าความเบี่ยงเบน = 0
ดังนั้นจึงถือว่า ทิศเหนือแม่เหล็กเป็นทิศเหนือจริงได้
• https://kodsang.wordpress.com
• http://portal.edu.chula.ac.th
• http://th.wikipedia.org

More Related Content

What's hot

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชัญญานุช เนริกูล
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434krupornpana55
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59Attapon Siriwanit
 

What's hot (20)

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก

ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8Boy Phakinai
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานMu PPu
 
งานคอมใบ 2-8
งานคอมใบ 2-8 งานคอมใบ 2-8
งานคอมใบ 2-8 Ponpimuk muk
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก (19)

ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
Project
ProjectProject
Project
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
งานคอมใบ 2-8
งานคอมใบ 2-8 งานคอมใบ 2-8
งานคอมใบ 2-8
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 

โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้โครงสร้างโลก