SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๓๘ เวลามพราหมณ์
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
คหบดี บุคคลให้ทานเศร้าหมอง หรือประณีตก็ตาม ถ้าให้ทานนั้นโดยเคารพ ทาความนอบน้อม
ให้ทาน ให้ทานด้วยมือของตนเอง ให้ทานไม่เหมือนจะทิ้ง เป็นผู้เห็นผลที่จะตามมาให้ทานในตระกูลที่ทาน
นั้นๆ บังเกิดผล เขาน้อมจิตไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อนุ่งห่มผ้าอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อใช้
ยานอย่างดี และน้อมจิตไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ อย่างดี แม้แต่บริวารของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา
ทาส คนใช้ หรือกรรมกรก็ตั้งใจฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งใจใฝ่รู้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะผลกรรมที่ตนได้
กระทาไว้โดยเคารพ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
๑๐. เวลามสูตร
ว่าด้วยเวลามพราหมณ์
[๒๐] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุง
สาวัตถี ครั้งนั้นแล อนาถบิณฑิกเศรษฐีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่
สมควร พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกับท่านดังนี้ ว่า “ท่านคหบดี ในตระกูลของท่านยังให้ทานอยู่หรือ”
อนาถบิณฑิกคหบดีกราบทูลว่า “ในตระกูลของข้าพระองค์ยังให้ทานอยู่พระพุทธเจ้าข้า แต่ทาน
นั้นแลเป็นของเศร้าหมอง เป็นปลายข้าวกับน้าผักดอง”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “คหบดี บุคคลให้ทานเศร้าหมอง หรือประณีตก็ตามถ้าให้ทานนั้นโดยไม่
เคารพ ไม่ทาความนอบน้อมให้ทาน ไม่ให้ด้วยมือของตนเอง ให้ทานเหมือนจะทิ้ง (ให้ทานเหมือนจะทิ้ง ใน
ที่นี้ หมายถึงไม่ให้ทานอย่างต่อเนื่อง ให้ทานเหมือนต้องการจะทิ้ง) เป็นผู้ไม่เห็นผลที่จะตามมาให้ทาน (ไม่
เห็นผลที่จะตามมาให้ทานในที่นี้ หมายถึงไม่เชื่อกรรมและผลกรรมแต่ก็ให้ทาน) ในตระกูลที่ทานนั้นๆ
บังเกิดผล เขาไม่น้อมจิตไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี ไม่น้อมจิตไปเพื่อนุ่งห่มผ้าอย่างดี ไม่น้อมจิตไปเพื่อใช้
ยานอย่างดี และไม่น้อมจิตไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ (กามคุณ แยกอธิบายว่า ที่ชื่อว่า กาม เพราะมี
ความหมายว่าเป็นสิ่งที่บุคคลพึงใคร่ ที่ชื่อว่า คุณ เพราะมีความหมายว่าผูกพันไว้ ร้อยรัดไว้) อย่างดี แม้แต่
บริวารของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ หรือกรรมกร ก็ไม่ตั้งใจฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่
ตั้งใจใฝ่รู้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะผลกรรมที่ตนได้กระทาโดยไม่เคารพ
2
คหบดี บุคคลให้ทานเศร้าหมอง หรือประณีตก็ตาม ถ้าให้ทานนั้นโดยเคารพ ทาความนอบน้อม
ให้ทาน ให้ทานด้วยมือของตนเอง ให้ทานไม่เหมือนจะทิ้ง เป็นผู้เห็นผลที่จะตามมาให้ทานในตระกูลที่ทาน
นั้นๆ บังเกิดผล เขาน้อมจิตไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อนุ่งห่มผ้าอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อใช้
ยานอย่างดี และน้อมจิตไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ อย่างดี แม้แต่บริวารของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา
ทาส คนใช้ หรือกรรมกรก็ตั้งใจฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งใจใฝ่รู้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะผลกรรมที่ตนได้
กระทาไว้โดยเคารพ
คหบดี เรื่องเคยมีมาแล้ว มีพราหมณ์ชื่อเวลามะ (ที่มีชื่อว่า เวลามะ เพราะมีคุณสมบัติมากมาย
ไร้ขอบเขต เช่น เพียบพร้อมด้วยชาติ โคตร รูปร่างลักษณะ โภคสมบัติ ศรัทธา และปัญญา) เขาให้ทานเป็น
มหาทานอย่างนี้ คือ ได้ให้ถาดทองคาเต็มด้วยรูปิยะ ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดรูปิยะเต็มด้วยทองคา ๘๔,๐๐๐
ถาด ถาดสาริดเต็มด้วยเงิน ๘๔,๐๐๐ ถาด ให้ช้าง ๘๔,๐๐๐ เชือก มีเครื่องประดับทองคา มีธงทองคา คลุม
ด้วยข่ายทองคา ให้รถ ๘๔,๐๐๐ คัน หุ้มด้วยหนังราชสีห์ หุ้มด้วยหนังเสือโคร่ง หุ้มด้วยหนังเสือเหลือง หุ้ม
ด้วยผ้ากัมพลเหลือง มีเครื่องประดับทองคา มีธงทองคา คลุมด้วยข่ายทองคา ให้แม่โคนม ๘๔,๐๐๐ ตัว มี
น้านมที่รีดและไหลสะดวก มีภาชนะสาริดสาหรับรองรับ ให้หญิงสาว ๘๔,๐๐๐ คนสวมแก้วมณีและแก้ว
กุณฑล ให้บัลลังก์ (บัลลังก์ ในที่นี้ หมายถึงเตียงที่มีเท้าแกะสลักเป็นรูปสัตว์ร้าย) ๘๔,๐๐๐ ที่ลาดด้วยผ้า
โกเชาว์ (ผ้าโกเชาว์ หมายถึงผ้าที่ทาด้วยขนแพะหรือขนแกะผืนใหญ่ มีขนยาวเกิน ๔ นิ้ ว) ลาดด้วยเครื่อง
ลาดทาด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยเครื่องลาด ทาด้วยขนแกะลายดอกไม้ ลาดด้วยเครื่องลาดอย่างดีทาด้วย
หนังชมด ข้างบนมีเพดาน มีหมอนสีแดงวางไว้ทั้ง ๒ ข้าง (หมอนสีแดงวางไว้ทั้ง ๒ ข้าง หมายถึงหมอนที่ใช้
สาหรับหนุนศีรษะ ๑ ใบ และใช้หนุนเท้า ๑ ใบ วางไว้ส่วนศีรษะและส่วนเท้า) ให้ผ้า ๘๔,๐๐๐ พับ เป็นผ้า
เปลือกไม้เนื้ อละเอียด ผ้าไหมเนื้ อละเอียด ผ้ากัมพลเนื้ อละเอียด ผ้าฝ้ายเนื้ อละเอียด ไม่จาต้องกล่าวถึงข้าว
น้า ของเคี้ยว ของบริโภค ของลิ้ม ของดื่ม ไหลออกไปเหมือนแม่น้า
คหบดี ท่านอาจจะมีความคิดอย่างนี้ ว่า ‘สมัยนั้น เวลามพราหมณ์ผู้ให้ทานเป็นมหาทาน เป็นคน
อื่นแน่แท้ แต่ท่านไม่พึงเห็นอย่างนั้น เพราะเวลามพราหมณ์ผู้ให้ทานเป็นมหาทาน ในสมัยนั้น ก็คือเรา
นั่นเอง แต่ในทานนั้น ไม่มีใครเป็นพระทักขิไณยบุคคล ใครๆ ก็ชาระทักษิณานั้นให้หมดจดไม่ได้ (ข้อความ
พระดารัสนี้ หมายความว่า ในมหาทานนั้น ไม่มีสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร หรือเมื่อว่าโดยบุคคลชั้นยอด
ไม่มีพระพุทธเจ้า ไม่มีสาวกเช่นพระสารีบุตรนั้นเลยที่จะเป็นปฏิคาหกสามารถทาให้ทักษิณามีผลเลิศได้)
คหบดี การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่เวลาม
พราหมณ์ได้ให้ทานเป็นมหาทาน
การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นสกทาคามีผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ
บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิตั้งร้อยให้บริโภค
การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอนาคามีผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ
บุคคลผู้เป็นสกทาคามีตั้งร้อยให้บริโภค
การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอรหันต์ผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคล
ผู้เป็นอนาคามีตั้งร้อยให้บริโภค
3
การที่บุคคลเชื้อเชิญพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ
บุคคลผู้เป็นอรหันต์ตั้งร้อยให้บริโภค
การที่บุคคลเชื้อเชิญตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ
พระปัจเจกพุทธเจ้าตั้งร้อยให้บริโภค
การที่บุคคลเชื้อเชิญภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อ
เชิญตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าให้บริโภค
การที่บุคคลสร้างวิหารอุทิศถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญภิกษุ
สงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานให้บริโภค
การที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะมีผลมากกว่าการที่
บุคคลสร้างวิหารอุทิศถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔
การที่บุคคลมีจิตเลื่อมใส สมาทานสิกขาบท คือ การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ การงดเว้นจากการลัก
ทรัพย์ การงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม การงดเว้นจากการพูดเท็จ การงดเว้นจากการเสพของมึนเมา
คือสุราและเมรัยอันเป็นเหตุแห่งความประมาท มีผลมากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึงพระพุทธเจ้า พระ
ธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ
การที่บุคคลเจริญเมตตาจิตอย่างน้อยชั่วสูดดมกลิ่นหอม มีผลมากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใส
สมาทานสิกขาบท คือ การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เป็นต้นนั้น
คหบดี การที่บุคคลเจริญอนิจจสัญญาชั่วลัดนิ้ วมือเดียว มีผลมากกว่าการที่เวลามพราหมณ์ได้ให้
ทานเป็นมหาทาน มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคล
เชื้อเชิญบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิตั้งร้อยให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นสกทาคามีผู้
เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นสกทาคามีตั้งร้อยให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคล
เชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอนาคามีผู้เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอนาคามีตั้งร้อยให้
บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอรหันต์ผู้เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ
บุคคลผู้เป็นอรหันต์ตั้งร้อยให้บริโภคมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์เดียวให้บริโภค
มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญพระปัจเจกพุทธเจ้าตั้งร้อยให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญตถาคต
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานให้
บริโภค มากกว่าการที่บุคคลสร้างวิหารอุทิศถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ มากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึง
พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ มากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสสมาทานสิกขาบท คือ
การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ การงดเว้นจากการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นเหตุแห่งความ
ประมาท และมากกว่าการที่บุคคลเจริญเมตตาจิตอย่างน้อยชั่วสูดดมกลิ่นหอมนั้น”
เวลามสูตรที่ ๑๐ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
อังคุตตรนิกาย นวกนิบาต ปัณณาสก์ สีหนาทวรรคที่ ๒
4
๑๐. เวลามสูตร
อรรถกถาเวลามสูตรที่ ๑๐
แท้จริง ในเรือนของเศรษฐียังให้ทานอันประณีตเป็นประจาแก่ภิกษุสงฆ์ พระศาสดาจะไม่ทรงรู้
ถึงข้อนั้น ก็หามิได้ ส่วนทานที่ให้แก่โลกิยมหาชน ทานนั้นเศร้าหมอง เศรษฐีไม่เอิบอิ่มใจ จึงตรัสถามทาน
นั้น.
ได้ยินว่า ในอดีต เวลามพราหมณ์นั้นได้ถือปฏิสนธิแล้วในเรือนของปุโรหิต (พราหมณ์ที่ปรึกษา
ในทางขนบธรรมเนียมประเพณี) กรุงพาราณสี. พวกญาติได้ตั้งชื่อให้เขาว่า เวลามกุมาร.
เวลามกุมารนั้นได้ไปแล้วยังตักกสิลา เพื่อเรียนศิลปะกับราชกุมารกรุงพาราณสี ในเวลาอายุ ๑๖
ปี. คนแม้ทั้งสองนั้นปรารถนาแล้วซึ่งศิลปะในสานักของอาจารย์ทิสาปาโมกข์. พวกเขาปรารถนาแล้วฉันใด
ส่วนราชกุมารแปดหมื่นสี่พันคนแม้เหล่าอื่นในชมพูทวีป ก็ปรารถนาแล้วฉันนั้น.
พระโพธิสัตว์ ว่าที่ตาแหน่งที่ตนได้รับก็เป็นอาจารย์คนหลัง จึงให้กุมารแปดหมื่นสี่พันศึกษาอยู่
ตนเองเรียนศิลปะ ๓ ปีจบ ซึ่งเขาเรียนกัน ๑๖ ปี. อาจารย์รู้ว่าศิลปะของเวลามกุมารคล่องแคล่วแล้ว จึง
กล่าวว่า ดูก่อนลูกทั้งหลาย เวลามะย่อมรู้ศิลปะทั้งหมดที่เราได้รู้แล้ว พวกเจ้าทุกคนพร้อมใจกันไป เรียน
ศิลปะในสานักของเวลามะ ดังนี้ จึงมอบกุมารแปดหมื่นสี่พันคนให้แก่พระโพธิสัตว์.
พระโพธิสัตว์ไหว้อาจารย์แล้ว เป็นผู้มีกุมารแปดหมื่นสี่พันแวดล้อมออกไปแล้ว ถึงเมืองซึ่งอยู่
ใกล้แห่งหนึ่ง จึงให้ราชกุมารผู้เป็นเจ้าของเมืองนั้นเรียน เมื่อเขาชานาญในศิลปะแล้ว จึงให้เขากลับไปอยู่ใน
เมืองนั้นแหละ. พระโพธิสัตว์ไปยังเมืองแปดหมื่นสี่พันเมืองโดยอุบายนั้นแล้ว ให้ฝึกศิลปะของราชกุมารแปด
หมื่นสี่พันคนชานาญแล้ว จึงให้ราชกุมารนั้นๆ กลับไปอยู่ในเมืองนั้นๆ แล้วก็พาเอาราชกุมารกรุงพาราณสี
กลับมายังกรุงพาราณสี.
คนทั้งหลายในกรุงพาราณสีนั้น จึงได้อภิเษกราชกุมารกรุงพาราณสีผู้เรียนจบศิลปะแล้วไว้ใน
ราชสมบัติ ได้ให้ตาแหน่งปุโรหิตแก่เวลามะ. ราชกุมารแปดหมื่นสี่พันแม้เหล่านั้น ได้อภิเษกแล้วในราช
สมบัติทั้งหลายของตน ก็ยังพากันมาบารุงพระเจ้ากรุงพาราณสีทุกปี. พระราชกุมารเหล่านั้นเฝ้าพระราชา
แล้ว ได้ไปยังสานักของเวลามะ กล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ เมื่อข้าพเจ้าทั้งหลายดารงอยู่แล้วในราชสมบัติ
ท่านประสงค์ด้วยสิ่งใด พึงบอกแล้วก็พากันไป.
เมื่อราชกุมารเหล่านั้นพาเอาเกวียน รถ แม่โค โคผู้ ไก่และสุกรเป็นต้น ในเวลาไปและเวลามา
ชนบทก็ถูกเบียดเบียนอย่างหนัก. มหาชนประชุมพร้อมกันแล้ว เรียกร้องอยู่ที่พระลานหลวง.
พระราชารับสั่งให้เรียกเวลามะมาแล้ว ตรัสว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ชนบทถูกเบียดเบียน
พระราชาทั้งหลายย่อมกระทาการปล้นใหญ่ ในเวลาไปและเวลามา คนทั้งหลายย่อมไม่สามารถเพื่อจะดารง
อยู่สงบได้ ท่านทาอุบายอย่างหนึ่งเพื่อให้ชนบทสงบจากความเบียดเบียนดังนี้ .
เวลามะกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชศิละ ข้าพระองค์จักทาอุบาย พระองค์มีความต้องการด้วย
ชนบทมีประมาณเท่าใด พระองค์ทรงกาหนดซึ่งชนบทนั้นแล้วถือเอา. พระราชาได้ทรงกระทาอย่างนั้นแล้ว.
เวลามะเที่ยวตรวจดูในชนบทของพระราชาแปดหมื่นสี่พันแล้ว จึงให้รวมเข้ามาอยู่ในชนบทของพระราชา
5
เหมือนรวบรวมซี่ล้อไว้ที่ดุมล้อฉะนั้น.
จาเดิมแต่นั้น พระราชาทั้งหลายเหล่านั้นเสด็จมาก็ดี เสด็จไปก็ดี ย่อมท่องเที่ยวไปตามชนบท
ของพระองค์ๆ เท่านั้น ไม่ทรงทาการปล้นด้วยทรงดาริว่าชนบทของเราทั้งหลายดังนี้ ไม่ทรงเบียดเบียนแม้
ชนบทของพระราชาด้วยความเคารพต่อพระราชา. ชนบททั้งหลายก็สงบเงียบไม่มีเสียงขอร้อง.
พระราชาทั้งปวงทรงร่าเริงยินดี ทรงปวารณาว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ท่านต้องการด้วยสิ่งใด ท่าน
จงบอกสิ่งนั้นแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายดังนี้ .
เวลามะสนานศีรษะแล้ว ให้เปิดประตูห้องเต็มด้วยรัตนะ ๗ ในนิเวศน์ของตน ตรวจดูทรัพย์ที่
เก็บไว้ถึง ๗ ชั่วแห่งตระกูล พิจารณาแล้วซึ่งความเจริญและความเสื่อม คิดว่าเราควรให้ทานให้กระฉ่อนไป
ทั่วทั้งชมพูทวีปดังนี้ แล้ว ได้กราบทูลแด่พระราชา ให้สร้างเตาแถวไว้ประมาณ ๑๒ โยชน์ใกล้ฝั่งแม่น้าคงคา
ให้สร้างเรือนคลังใหญ่ไว้แล้วเพื่อต้องการเก็บเนยใส น้าผึ้ง น้าอ้อย น้ามัน งาและข้าวสารเป็นต้นในที่นั้นๆ
ได้จัดคนทั้งหลายไว้ว่า ในที่นั้นๆ ใช้คนประมาณเท่านี้ ๆ ช่วยจัดแจงของอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ชื่อว่าพวก
มนุษย์จะพึงได้มีอยู่ แม้เมื่อของอย่างหนึ่งไม่มีจากของนั้น ท่านทั้งหลายพึงบอกแก่เราดังนี้ จึงให้คนตีกลอง
เดินไปในเมืองว่า ขอชนทั้งหลายจงบริโภคทานของเวลามพราหมณ์ เริ่มแต่วันโน้นดังนี้ .
เมื่อบุคคลผู้จัดการท่านบอกว่า โรงทานสาเร็จแล้ว นุ่งผ้าราคาหนึ่งพัน ผ้าเฉวียงบ่ามีราคาห้า
ร้อยแต่งแล้วด้วยเครื่องประดับทุกอย่าง ใส่น้าซึ่งมีสีแก้วผลึกให้เต็มสุวรรณภิงคาร (เต้าน้าทอง) แล้วเพื่อ
ทดลองทานทาสัจจกิริยาว่า ถ้าในโลกนี้ ยังมีทักขิเณยยบุคคลผู้สมควรรับทานนี้ ขอน้านี้ ไหลออกแล้วจงซึม
แผ่นดิน ถ้าไม่มีจงตั้งอยู่อย่างนี้ ได้เอียงปากสุวรรณภิงคารลงแล้ว. น้าได้เป็นแล้วเหมือนกับธมกรกถูกอุดไว้
แล้ว.
พระโพธิสัตว์มิได้เดือดร้อนว่า โอท่านผู้เจริญ ชมพูทวีปว่างเปล่า ย่อมไม่มีแม้บุคคลคนเดียวที่
ควรรับทักณิณาดังนี้ คิดแล้วว่า ถ้าทักขิณาจักบริสุทธิ์ฝ่ายทายก ขอน้าไหลออกแล้วจงซึมแผ่นดินไปดังนี้ . น้า
คล้ายสีแก้วผลึกไหลออกแล้ว ซึมแผ่นดินไปแล้ว.
คราวนี้ เขาไปแล้วยังโรงทานด้วยคิดว่าจักให้ทาน ตรวจดูทานแล้ว ใช้ให้คนให้ข้าวต้มในเวลา
ข้าวต้ม ให้ของเคี้ยวในเวลาของเคี้ยว ให้อาหารในเวลาอาหารแล้ว. พระโพธิสัตว์ได้ให้ทานทุกๆ วันโดย
ทานองนี้ นั่นแล.
ก็แลในโรงทานนี้ ไม่มีคาที่จะพึงพูดว่า ชื่อสิ่งนี้ มี ชื่อสิ่งนี้ ไม่มี. ทานนี้ จักไม่จบด้วยเหตุเพียงเท่านี้
ดังนั้นจึงให้นาทองแดงออกไปทาถาดทองแล้ว ส่งข่าวสาส์นไปแก่พระราชา ๘๔,๐๐๐ ถาดเป็นต้น. พระราชา
ทั้งหลายทรงดาริว่า เราทั้งหลายอันอาจารย์ได้อนุเคราะห์มานานแล้วดังนี้ จึงเมื่อให้ทานอยู่นั่นล่วงไปแล้ว
๗ ปี ๗ เดือน.
ต่อมา พราหมณ์คิดว่าเราจักแบ่งเงินออกให้ทานดังนี้ แล้ว จึงให้จัดทานเตรียมไว้ในโอกาสอัน
สาคัญ ครั้นเตรียมเสร็จแล้วได้ให้แล้วจากปลายถึงถาดทอง ๘๔,๐๐๐ ถาดเป็นเบื้องต้น. เวลามะนี้ ได้ให้ทาน
แม้เหล่านั้น เพื่อเป็นบริวารเพื่อตัดคาพูดว่า ชื่อว่าสิ่งนี้ ในเหตุแห่งทานของเวลามะย่อมไม่มี.
พระศาสดาตรัสทานของเวลามะด้วยเหตุประมาณเท่านี้ แล้ว ตรัสว่า ดูก่อนคฤหบดี คนอื่นมิได้
ให้แล้วซึ่งมหาทานนั้น เราได้ให้แล้ว ก็เราแม้เมื่อให้ทานเห็นปานนั้น หาได้บุคคลผู้สมควรเพื่อจะรับไม่ ท่าน
6
ได้ให้ทานเมื่อพระพุทธเจ้าผู้เช่นเราปรากฏอยู่ในโลก เพราะเหตุไรจึงคิดเล่าดังนี้ เมื่อทรงเทศนาออกให้
กว้างแก่เศรษฐี
ก็แม้ถ้าว่า เขาทาชมพูทวีปให้เป็นพื้นเสมอกัน เช่นกับหน้ากลองปูลาดบัลลังก์ตั้งแต่ต้นแล้ว พึง
ให้พระอริยบุคคลนั่ง ณ ที่นั้นมีโสดาบันบุคคล ๑๐ แถว, สกทาคามีบุคคล ๕ แถว, อนาคามีบุคคลสองแถว
ครึ่ง, พระขีณาสพหนึ่งแถวครึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าพึงมีหนึ่งแถว.
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เดียวเท่านั้น ทานที่บุคคลถวายจาเพาะแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มีผลมากกว่าทานที่ถวายแล้วแก่ชนประมาณเท่านี้ .
ส่วนทานนอกนี้ คือ วิหารทาน บิณฑบาต สิกขา การเจริญเมตตา ย่อมไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ ของ
ท่านผู้พิจารณาโดยความสิ้นไป.
ด้วยเหตุนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสไว้ในสมัยจะปรินิพพานว่า การปฏิบัติธรรมสมควร
แก่ธรรมเป็นการบูชาสูงสุด.
จบอรรถกถาเวลามสูตรที่ ๑๐
-----------------------------------

More Related Content

Similar to 38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมniralai
 
บทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารบทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารniralai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์อิ่' เฉิ่ม
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 

Similar to 38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf (20)

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
บทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารบทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหาร
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
ผญา
ผญาผญา
ผญา
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๓๘ เวลามพราหมณ์ พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา คหบดี บุคคลให้ทานเศร้าหมอง หรือประณีตก็ตาม ถ้าให้ทานนั้นโดยเคารพ ทาความนอบน้อม ให้ทาน ให้ทานด้วยมือของตนเอง ให้ทานไม่เหมือนจะทิ้ง เป็นผู้เห็นผลที่จะตามมาให้ทานในตระกูลที่ทาน นั้นๆ บังเกิดผล เขาน้อมจิตไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อนุ่งห่มผ้าอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อใช้ ยานอย่างดี และน้อมจิตไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ อย่างดี แม้แต่บริวารของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ หรือกรรมกรก็ตั้งใจฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งใจใฝ่รู้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะผลกรรมที่ตนได้ กระทาไว้โดยเคารพ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต ๑๐. เวลามสูตร ว่าด้วยเวลามพราหมณ์ [๒๐] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุง สาวัตถี ครั้งนั้นแล อนาถบิณฑิกเศรษฐีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่ สมควร พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกับท่านดังนี้ ว่า “ท่านคหบดี ในตระกูลของท่านยังให้ทานอยู่หรือ” อนาถบิณฑิกคหบดีกราบทูลว่า “ในตระกูลของข้าพระองค์ยังให้ทานอยู่พระพุทธเจ้าข้า แต่ทาน นั้นแลเป็นของเศร้าหมอง เป็นปลายข้าวกับน้าผักดอง” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “คหบดี บุคคลให้ทานเศร้าหมอง หรือประณีตก็ตามถ้าให้ทานนั้นโดยไม่ เคารพ ไม่ทาความนอบน้อมให้ทาน ไม่ให้ด้วยมือของตนเอง ให้ทานเหมือนจะทิ้ง (ให้ทานเหมือนจะทิ้ง ใน ที่นี้ หมายถึงไม่ให้ทานอย่างต่อเนื่อง ให้ทานเหมือนต้องการจะทิ้ง) เป็นผู้ไม่เห็นผลที่จะตามมาให้ทาน (ไม่ เห็นผลที่จะตามมาให้ทานในที่นี้ หมายถึงไม่เชื่อกรรมและผลกรรมแต่ก็ให้ทาน) ในตระกูลที่ทานนั้นๆ บังเกิดผล เขาไม่น้อมจิตไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี ไม่น้อมจิตไปเพื่อนุ่งห่มผ้าอย่างดี ไม่น้อมจิตไปเพื่อใช้ ยานอย่างดี และไม่น้อมจิตไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ (กามคุณ แยกอธิบายว่า ที่ชื่อว่า กาม เพราะมี ความหมายว่าเป็นสิ่งที่บุคคลพึงใคร่ ที่ชื่อว่า คุณ เพราะมีความหมายว่าผูกพันไว้ ร้อยรัดไว้) อย่างดี แม้แต่ บริวารของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ หรือกรรมกร ก็ไม่ตั้งใจฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ ตั้งใจใฝ่รู้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะผลกรรมที่ตนได้กระทาโดยไม่เคารพ
  • 2. 2 คหบดี บุคคลให้ทานเศร้าหมอง หรือประณีตก็ตาม ถ้าให้ทานนั้นโดยเคารพ ทาความนอบน้อม ให้ทาน ให้ทานด้วยมือของตนเอง ให้ทานไม่เหมือนจะทิ้ง เป็นผู้เห็นผลที่จะตามมาให้ทานในตระกูลที่ทาน นั้นๆ บังเกิดผล เขาน้อมจิตไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อนุ่งห่มผ้าอย่างดี น้อมจิตไปเพื่อใช้ ยานอย่างดี และน้อมจิตไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ อย่างดี แม้แต่บริวารของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ หรือกรรมกรก็ตั้งใจฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งใจใฝ่รู้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะผลกรรมที่ตนได้ กระทาไว้โดยเคารพ คหบดี เรื่องเคยมีมาแล้ว มีพราหมณ์ชื่อเวลามะ (ที่มีชื่อว่า เวลามะ เพราะมีคุณสมบัติมากมาย ไร้ขอบเขต เช่น เพียบพร้อมด้วยชาติ โคตร รูปร่างลักษณะ โภคสมบัติ ศรัทธา และปัญญา) เขาให้ทานเป็น มหาทานอย่างนี้ คือ ได้ให้ถาดทองคาเต็มด้วยรูปิยะ ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดรูปิยะเต็มด้วยทองคา ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดสาริดเต็มด้วยเงิน ๘๔,๐๐๐ ถาด ให้ช้าง ๘๔,๐๐๐ เชือก มีเครื่องประดับทองคา มีธงทองคา คลุม ด้วยข่ายทองคา ให้รถ ๘๔,๐๐๐ คัน หุ้มด้วยหนังราชสีห์ หุ้มด้วยหนังเสือโคร่ง หุ้มด้วยหนังเสือเหลือง หุ้ม ด้วยผ้ากัมพลเหลือง มีเครื่องประดับทองคา มีธงทองคา คลุมด้วยข่ายทองคา ให้แม่โคนม ๘๔,๐๐๐ ตัว มี น้านมที่รีดและไหลสะดวก มีภาชนะสาริดสาหรับรองรับ ให้หญิงสาว ๘๔,๐๐๐ คนสวมแก้วมณีและแก้ว กุณฑล ให้บัลลังก์ (บัลลังก์ ในที่นี้ หมายถึงเตียงที่มีเท้าแกะสลักเป็นรูปสัตว์ร้าย) ๘๔,๐๐๐ ที่ลาดด้วยผ้า โกเชาว์ (ผ้าโกเชาว์ หมายถึงผ้าที่ทาด้วยขนแพะหรือขนแกะผืนใหญ่ มีขนยาวเกิน ๔ นิ้ ว) ลาดด้วยเครื่อง ลาดทาด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยเครื่องลาด ทาด้วยขนแกะลายดอกไม้ ลาดด้วยเครื่องลาดอย่างดีทาด้วย หนังชมด ข้างบนมีเพดาน มีหมอนสีแดงวางไว้ทั้ง ๒ ข้าง (หมอนสีแดงวางไว้ทั้ง ๒ ข้าง หมายถึงหมอนที่ใช้ สาหรับหนุนศีรษะ ๑ ใบ และใช้หนุนเท้า ๑ ใบ วางไว้ส่วนศีรษะและส่วนเท้า) ให้ผ้า ๘๔,๐๐๐ พับ เป็นผ้า เปลือกไม้เนื้ อละเอียด ผ้าไหมเนื้ อละเอียด ผ้ากัมพลเนื้ อละเอียด ผ้าฝ้ายเนื้ อละเอียด ไม่จาต้องกล่าวถึงข้าว น้า ของเคี้ยว ของบริโภค ของลิ้ม ของดื่ม ไหลออกไปเหมือนแม่น้า คหบดี ท่านอาจจะมีความคิดอย่างนี้ ว่า ‘สมัยนั้น เวลามพราหมณ์ผู้ให้ทานเป็นมหาทาน เป็นคน อื่นแน่แท้ แต่ท่านไม่พึงเห็นอย่างนั้น เพราะเวลามพราหมณ์ผู้ให้ทานเป็นมหาทาน ในสมัยนั้น ก็คือเรา นั่นเอง แต่ในทานนั้น ไม่มีใครเป็นพระทักขิไณยบุคคล ใครๆ ก็ชาระทักษิณานั้นให้หมดจดไม่ได้ (ข้อความ พระดารัสนี้ หมายความว่า ในมหาทานนั้น ไม่มีสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร หรือเมื่อว่าโดยบุคคลชั้นยอด ไม่มีพระพุทธเจ้า ไม่มีสาวกเช่นพระสารีบุตรนั้นเลยที่จะเป็นปฏิคาหกสามารถทาให้ทักษิณามีผลเลิศได้) คหบดี การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่เวลาม พราหมณ์ได้ให้ทานเป็นมหาทาน การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นสกทาคามีผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิตั้งร้อยให้บริโภค การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอนาคามีผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ บุคคลผู้เป็นสกทาคามีตั้งร้อยให้บริโภค การที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอรหันต์ผู้เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคล ผู้เป็นอนาคามีตั้งร้อยให้บริโภค
  • 3. 3 การที่บุคคลเชื้อเชิญพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์เดียวให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ บุคคลผู้เป็นอรหันต์ตั้งร้อยให้บริโภค การที่บุคคลเชื้อเชิญตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ พระปัจเจกพุทธเจ้าตั้งร้อยให้บริโภค การที่บุคคลเชื้อเชิญภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานให้บริโภค มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อ เชิญตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าให้บริโภค การที่บุคคลสร้างวิหารอุทิศถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ มีผลมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญภิกษุ สงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานให้บริโภค การที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะมีผลมากกว่าการที่ บุคคลสร้างวิหารอุทิศถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ การที่บุคคลมีจิตเลื่อมใส สมาทานสิกขาบท คือ การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ การงดเว้นจากการลัก ทรัพย์ การงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม การงดเว้นจากการพูดเท็จ การงดเว้นจากการเสพของมึนเมา คือสุราและเมรัยอันเป็นเหตุแห่งความประมาท มีผลมากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึงพระพุทธเจ้า พระ ธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ การที่บุคคลเจริญเมตตาจิตอย่างน้อยชั่วสูดดมกลิ่นหอม มีผลมากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใส สมาทานสิกขาบท คือ การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เป็นต้นนั้น คหบดี การที่บุคคลเจริญอนิจจสัญญาชั่วลัดนิ้ วมือเดียว มีผลมากกว่าการที่เวลามพราหมณ์ได้ให้ ทานเป็นมหาทาน มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคล เชื้อเชิญบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิตั้งร้อยให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นสกทาคามีผู้ เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นสกทาคามีตั้งร้อยให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคล เชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอนาคามีผู้เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอนาคามีตั้งร้อยให้ บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญบุคคลผู้เป็นอรหันต์ผู้เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญ บุคคลผู้เป็นอรหันต์ตั้งร้อยให้บริโภคมากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์เดียวให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญพระปัจเจกพุทธเจ้าตั้งร้อยให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าให้บริโภค มากกว่าการที่บุคคลเชื้อเชิญภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานให้ บริโภค มากกว่าการที่บุคคลสร้างวิหารอุทิศถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ มากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ มากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสสมาทานสิกขาบท คือ การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ การงดเว้นจากการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นเหตุแห่งความ ประมาท และมากกว่าการที่บุคคลเจริญเมตตาจิตอย่างน้อยชั่วสูดดมกลิ่นหอมนั้น” เวลามสูตรที่ ๑๐ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา อังคุตตรนิกาย นวกนิบาต ปัณณาสก์ สีหนาทวรรคที่ ๒
  • 4. 4 ๑๐. เวลามสูตร อรรถกถาเวลามสูตรที่ ๑๐ แท้จริง ในเรือนของเศรษฐียังให้ทานอันประณีตเป็นประจาแก่ภิกษุสงฆ์ พระศาสดาจะไม่ทรงรู้ ถึงข้อนั้น ก็หามิได้ ส่วนทานที่ให้แก่โลกิยมหาชน ทานนั้นเศร้าหมอง เศรษฐีไม่เอิบอิ่มใจ จึงตรัสถามทาน นั้น. ได้ยินว่า ในอดีต เวลามพราหมณ์นั้นได้ถือปฏิสนธิแล้วในเรือนของปุโรหิต (พราหมณ์ที่ปรึกษา ในทางขนบธรรมเนียมประเพณี) กรุงพาราณสี. พวกญาติได้ตั้งชื่อให้เขาว่า เวลามกุมาร. เวลามกุมารนั้นได้ไปแล้วยังตักกสิลา เพื่อเรียนศิลปะกับราชกุมารกรุงพาราณสี ในเวลาอายุ ๑๖ ปี. คนแม้ทั้งสองนั้นปรารถนาแล้วซึ่งศิลปะในสานักของอาจารย์ทิสาปาโมกข์. พวกเขาปรารถนาแล้วฉันใด ส่วนราชกุมารแปดหมื่นสี่พันคนแม้เหล่าอื่นในชมพูทวีป ก็ปรารถนาแล้วฉันนั้น. พระโพธิสัตว์ ว่าที่ตาแหน่งที่ตนได้รับก็เป็นอาจารย์คนหลัง จึงให้กุมารแปดหมื่นสี่พันศึกษาอยู่ ตนเองเรียนศิลปะ ๓ ปีจบ ซึ่งเขาเรียนกัน ๑๖ ปี. อาจารย์รู้ว่าศิลปะของเวลามกุมารคล่องแคล่วแล้ว จึง กล่าวว่า ดูก่อนลูกทั้งหลาย เวลามะย่อมรู้ศิลปะทั้งหมดที่เราได้รู้แล้ว พวกเจ้าทุกคนพร้อมใจกันไป เรียน ศิลปะในสานักของเวลามะ ดังนี้ จึงมอบกุมารแปดหมื่นสี่พันคนให้แก่พระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์ไหว้อาจารย์แล้ว เป็นผู้มีกุมารแปดหมื่นสี่พันแวดล้อมออกไปแล้ว ถึงเมืองซึ่งอยู่ ใกล้แห่งหนึ่ง จึงให้ราชกุมารผู้เป็นเจ้าของเมืองนั้นเรียน เมื่อเขาชานาญในศิลปะแล้ว จึงให้เขากลับไปอยู่ใน เมืองนั้นแหละ. พระโพธิสัตว์ไปยังเมืองแปดหมื่นสี่พันเมืองโดยอุบายนั้นแล้ว ให้ฝึกศิลปะของราชกุมารแปด หมื่นสี่พันคนชานาญแล้ว จึงให้ราชกุมารนั้นๆ กลับไปอยู่ในเมืองนั้นๆ แล้วก็พาเอาราชกุมารกรุงพาราณสี กลับมายังกรุงพาราณสี. คนทั้งหลายในกรุงพาราณสีนั้น จึงได้อภิเษกราชกุมารกรุงพาราณสีผู้เรียนจบศิลปะแล้วไว้ใน ราชสมบัติ ได้ให้ตาแหน่งปุโรหิตแก่เวลามะ. ราชกุมารแปดหมื่นสี่พันแม้เหล่านั้น ได้อภิเษกแล้วในราช สมบัติทั้งหลายของตน ก็ยังพากันมาบารุงพระเจ้ากรุงพาราณสีทุกปี. พระราชกุมารเหล่านั้นเฝ้าพระราชา แล้ว ได้ไปยังสานักของเวลามะ กล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ เมื่อข้าพเจ้าทั้งหลายดารงอยู่แล้วในราชสมบัติ ท่านประสงค์ด้วยสิ่งใด พึงบอกแล้วก็พากันไป. เมื่อราชกุมารเหล่านั้นพาเอาเกวียน รถ แม่โค โคผู้ ไก่และสุกรเป็นต้น ในเวลาไปและเวลามา ชนบทก็ถูกเบียดเบียนอย่างหนัก. มหาชนประชุมพร้อมกันแล้ว เรียกร้องอยู่ที่พระลานหลวง. พระราชารับสั่งให้เรียกเวลามะมาแล้ว ตรัสว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ชนบทถูกเบียดเบียน พระราชาทั้งหลายย่อมกระทาการปล้นใหญ่ ในเวลาไปและเวลามา คนทั้งหลายย่อมไม่สามารถเพื่อจะดารง อยู่สงบได้ ท่านทาอุบายอย่างหนึ่งเพื่อให้ชนบทสงบจากความเบียดเบียนดังนี้ . เวลามะกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชศิละ ข้าพระองค์จักทาอุบาย พระองค์มีความต้องการด้วย ชนบทมีประมาณเท่าใด พระองค์ทรงกาหนดซึ่งชนบทนั้นแล้วถือเอา. พระราชาได้ทรงกระทาอย่างนั้นแล้ว. เวลามะเที่ยวตรวจดูในชนบทของพระราชาแปดหมื่นสี่พันแล้ว จึงให้รวมเข้ามาอยู่ในชนบทของพระราชา
  • 5. 5 เหมือนรวบรวมซี่ล้อไว้ที่ดุมล้อฉะนั้น. จาเดิมแต่นั้น พระราชาทั้งหลายเหล่านั้นเสด็จมาก็ดี เสด็จไปก็ดี ย่อมท่องเที่ยวไปตามชนบท ของพระองค์ๆ เท่านั้น ไม่ทรงทาการปล้นด้วยทรงดาริว่าชนบทของเราทั้งหลายดังนี้ ไม่ทรงเบียดเบียนแม้ ชนบทของพระราชาด้วยความเคารพต่อพระราชา. ชนบททั้งหลายก็สงบเงียบไม่มีเสียงขอร้อง. พระราชาทั้งปวงทรงร่าเริงยินดี ทรงปวารณาว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ท่านต้องการด้วยสิ่งใด ท่าน จงบอกสิ่งนั้นแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายดังนี้ . เวลามะสนานศีรษะแล้ว ให้เปิดประตูห้องเต็มด้วยรัตนะ ๗ ในนิเวศน์ของตน ตรวจดูทรัพย์ที่ เก็บไว้ถึง ๗ ชั่วแห่งตระกูล พิจารณาแล้วซึ่งความเจริญและความเสื่อม คิดว่าเราควรให้ทานให้กระฉ่อนไป ทั่วทั้งชมพูทวีปดังนี้ แล้ว ได้กราบทูลแด่พระราชา ให้สร้างเตาแถวไว้ประมาณ ๑๒ โยชน์ใกล้ฝั่งแม่น้าคงคา ให้สร้างเรือนคลังใหญ่ไว้แล้วเพื่อต้องการเก็บเนยใส น้าผึ้ง น้าอ้อย น้ามัน งาและข้าวสารเป็นต้นในที่นั้นๆ ได้จัดคนทั้งหลายไว้ว่า ในที่นั้นๆ ใช้คนประมาณเท่านี้ ๆ ช่วยจัดแจงของอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ชื่อว่าพวก มนุษย์จะพึงได้มีอยู่ แม้เมื่อของอย่างหนึ่งไม่มีจากของนั้น ท่านทั้งหลายพึงบอกแก่เราดังนี้ จึงให้คนตีกลอง เดินไปในเมืองว่า ขอชนทั้งหลายจงบริโภคทานของเวลามพราหมณ์ เริ่มแต่วันโน้นดังนี้ . เมื่อบุคคลผู้จัดการท่านบอกว่า โรงทานสาเร็จแล้ว นุ่งผ้าราคาหนึ่งพัน ผ้าเฉวียงบ่ามีราคาห้า ร้อยแต่งแล้วด้วยเครื่องประดับทุกอย่าง ใส่น้าซึ่งมีสีแก้วผลึกให้เต็มสุวรรณภิงคาร (เต้าน้าทอง) แล้วเพื่อ ทดลองทานทาสัจจกิริยาว่า ถ้าในโลกนี้ ยังมีทักขิเณยยบุคคลผู้สมควรรับทานนี้ ขอน้านี้ ไหลออกแล้วจงซึม แผ่นดิน ถ้าไม่มีจงตั้งอยู่อย่างนี้ ได้เอียงปากสุวรรณภิงคารลงแล้ว. น้าได้เป็นแล้วเหมือนกับธมกรกถูกอุดไว้ แล้ว. พระโพธิสัตว์มิได้เดือดร้อนว่า โอท่านผู้เจริญ ชมพูทวีปว่างเปล่า ย่อมไม่มีแม้บุคคลคนเดียวที่ ควรรับทักณิณาดังนี้ คิดแล้วว่า ถ้าทักขิณาจักบริสุทธิ์ฝ่ายทายก ขอน้าไหลออกแล้วจงซึมแผ่นดินไปดังนี้ . น้า คล้ายสีแก้วผลึกไหลออกแล้ว ซึมแผ่นดินไปแล้ว. คราวนี้ เขาไปแล้วยังโรงทานด้วยคิดว่าจักให้ทาน ตรวจดูทานแล้ว ใช้ให้คนให้ข้าวต้มในเวลา ข้าวต้ม ให้ของเคี้ยวในเวลาของเคี้ยว ให้อาหารในเวลาอาหารแล้ว. พระโพธิสัตว์ได้ให้ทานทุกๆ วันโดย ทานองนี้ นั่นแล. ก็แลในโรงทานนี้ ไม่มีคาที่จะพึงพูดว่า ชื่อสิ่งนี้ มี ชื่อสิ่งนี้ ไม่มี. ทานนี้ จักไม่จบด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ดังนั้นจึงให้นาทองแดงออกไปทาถาดทองแล้ว ส่งข่าวสาส์นไปแก่พระราชา ๘๔,๐๐๐ ถาดเป็นต้น. พระราชา ทั้งหลายทรงดาริว่า เราทั้งหลายอันอาจารย์ได้อนุเคราะห์มานานแล้วดังนี้ จึงเมื่อให้ทานอยู่นั่นล่วงไปแล้ว ๗ ปี ๗ เดือน. ต่อมา พราหมณ์คิดว่าเราจักแบ่งเงินออกให้ทานดังนี้ แล้ว จึงให้จัดทานเตรียมไว้ในโอกาสอัน สาคัญ ครั้นเตรียมเสร็จแล้วได้ให้แล้วจากปลายถึงถาดทอง ๘๔,๐๐๐ ถาดเป็นเบื้องต้น. เวลามะนี้ ได้ให้ทาน แม้เหล่านั้น เพื่อเป็นบริวารเพื่อตัดคาพูดว่า ชื่อว่าสิ่งนี้ ในเหตุแห่งทานของเวลามะย่อมไม่มี. พระศาสดาตรัสทานของเวลามะด้วยเหตุประมาณเท่านี้ แล้ว ตรัสว่า ดูก่อนคฤหบดี คนอื่นมิได้ ให้แล้วซึ่งมหาทานนั้น เราได้ให้แล้ว ก็เราแม้เมื่อให้ทานเห็นปานนั้น หาได้บุคคลผู้สมควรเพื่อจะรับไม่ ท่าน
  • 6. 6 ได้ให้ทานเมื่อพระพุทธเจ้าผู้เช่นเราปรากฏอยู่ในโลก เพราะเหตุไรจึงคิดเล่าดังนี้ เมื่อทรงเทศนาออกให้ กว้างแก่เศรษฐี ก็แม้ถ้าว่า เขาทาชมพูทวีปให้เป็นพื้นเสมอกัน เช่นกับหน้ากลองปูลาดบัลลังก์ตั้งแต่ต้นแล้ว พึง ให้พระอริยบุคคลนั่ง ณ ที่นั้นมีโสดาบันบุคคล ๑๐ แถว, สกทาคามีบุคคล ๕ แถว, อนาคามีบุคคลสองแถว ครึ่ง, พระขีณาสพหนึ่งแถวครึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าพึงมีหนึ่งแถว. พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เดียวเท่านั้น ทานที่บุคคลถวายจาเพาะแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีผลมากกว่าทานที่ถวายแล้วแก่ชนประมาณเท่านี้ . ส่วนทานนอกนี้ คือ วิหารทาน บิณฑบาต สิกขา การเจริญเมตตา ย่อมไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ ของ ท่านผู้พิจารณาโดยความสิ้นไป. ด้วยเหตุนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสไว้ในสมัยจะปรินิพพานว่า การปฏิบัติธรรมสมควร แก่ธรรมเป็นการบูชาสูงสุด. จบอรรถกถาเวลามสูตรที่ ๑๐ -----------------------------------