SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ทัศนวิสัยในโซอุปทาน
    Supply Chain Visibility




                   โดย



    ดร.ปรีชา พันธุมสินชัย, CPIM, CSCP
  กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด
ศาสตราภิชาน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี
    จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2003-2006

      email: pricha@m-focus.co.th
             HU                     UH




           บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด
         อาคารฐานเศรษฐกิจ ชั้น 6
   222 ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กทม 10900
            โทร. 02-513-9892




            15 กุมภาพันธ 2010
Supply Chain Visibility                                                                               www.m-focus.co.th




                                         ทัศนวิสัยในโซอุปทาน
                                          Supply Chain Visibility
                                                            โดย
                                          ดร.ปรีชา พันธุมสินชัย, CPIM, CSCP
                                        กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด
                                      ศาสตราภิชาน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี
                                          จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2003-2006
                                             email: HUpricha@m-focus.co.thUH

                                                      15 กุมภาพันธ 2010


         1.           ทัศนวิสยกับการลดตนทุน
                                 ั
                      ทัศนวิสยคือความสามารถในการมองเห็น เชน เวลาที่เราขับขี่รถยนต เราตองมีความสามารถในการ
                               ั
         มองเห็นทองถนนเพื่อการควบคุมใหไปถึงเปาหมาย เวลาที่เราขับเครื่องบิน เรามีอปกรณนาทางที่ทันสมัยที่สด
                                                                                               ุ       ํ              ุ
         เพื่อชวยใหเรามองเห็นทิศทางเนื่องจากเสนทางที่เรากําลังไปไมมีการตีเสนที่ชดเจนเหมือนทองถนนที่มีปายบอก
                                                                                          ั
         ทาง นอกจากนั้นนักบินยังตองสื่อสารและประสานงานกับทาอากาศยานหรือทาเรืออยางสม่ําเสมอ และการสื่อสาร
         จะเปนแบบวลาจริง (real-time) สําหรับภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ทัศนวิสยในโซอุปทานเปนความสามารถที่แตละ
                                                                                      ั
         บริษัทควรจะมีเพราะจะทําใหผูบริหารและผูปฏิบัติงานมีความสามารถในการควบคุม และสามารถนําพาองคกร
         ไปสูเปาหมายในการตอบสนองตอลูกคาและสรางกําไรและความยั่งยืนใหกับองคกรในที่สด อยางไรก็ดี การไดมา
                                                                                                  ุ
         ซี่งทัศนวิสยจําเปนตองมีการลงทุนในเทคโนโลยีและการสรางระบบการจัดการใหสามารถบูรณาการขอมูลตางๆ
                        ั
         เพื่อใหสามารถนําขอมูลไปใชในการควบคุมกิจกรรมตางๆ เชน การรับคําสั่งซื้อ การควบคุมการผลิต การควบคุม
         สินคาคงคลัง การจัดซื้อ การประสานงานกับซัพพลายเออรรวมทั้งผูใหบริการโลจิสติกส (3PL) ในการติดตาม
         (track and trace) ชิ้นสวน วัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูปจากตนทางจนถึงลูกคาปลายทาง อยางมีประสิทธิภาพ
         เปนตน เปาหมายของทัศนวิสยในโซอุปทานคือการชวยเพิ่มสมรรถนะของโซอปทานโดยชวยใหทุกภาคสวนใน
                                                  ั                                         ุ
         โซอปทานรวมทั้งลูกคาสามารถมองเห็นสิ่งที่กําลังเกิดขึ้น
              ุ                                                              และสามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณของการ
         เปลี่ยนแปลงที่จะมากระทบการปฏิบัติการไดอยางรวดเร็ว เชน การปรับกลยุทธเกี่ยวกับอุปสงคหรือการปรับใช
         วัตถุดบไปในทิศทางอื่นที่เปนประโยชนที่สดเมื่อมีเหตุที่ทาใหแผนเดิมถูกกระทบ เปนตน
                ิ                                            ุ          ํ
                      ในปจจุบนแรงกดดันจากการแขงขันและความเร็วในการทําธุรกิจ ทําใหภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมของ
                                   ั
         ไทยจําเปนตองปรับตัว และสรางความสามารถในการมองเห็นใหกวางไกลออกไปเพื่อประโยชนในการควบคุม
         กิจการตางๆ                   โดยเฉพาะอยางยิ่งเมือประเทศไทยมีนโยบายสงเสริมใหคนไทยไปลงทุนในตางประเทศมากขึ้น
                                                           ่
         ความสามารถทางดานการจัดการโซอปทานและการทํางานรวมประสาน (collaborate) กับคูคาในซัพพลายเชน
                                                        ุ
         เพื่อใหตนทุนสินคาและบริการของเราอยูในระดับทีต่ํา จึงมีผลตอความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก และ
                                                                 ่
         ทัศนวิสยในโซอปทานเปนความสามารถขั้นพื้นฐานในชวยใหเราสามารถลดตนทุนโลจิสติกสไดอยางแทจริง
                  ั          ุ
                      ทานใดที่มโอกาสอานรายงานโลจิสติกสของประเทศไทยประจําป 2552 ของสํานักงานคณะกรรมการ
                                     ี
         พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จะทราบวาในป 2551 ตนทุนโลจิสติกสของประเทศไทย มีมลคารวม           ู
         ประมาณ 1.7 ลานลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนเทากับรอยละ 18.6 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคา
         ประจําป (GDP at current prices) ซึ่งประกอบดวย ตนทุนคาขนสงสินคา 823 พันลานบาท (รอยละ 9.1 ของ
         GDP) ตนทุนการเก็บรักษาสินคาคงคลัง 705 พันลานบาท (รอยละ 7.8 ของ GDP) และตนทุนการบริหารจัดการ


         บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด                                                                         หนา 2 /6
Supply Chain Visibility                                                                                    www.m-focus.co.th




         ดานโลจิสติกส 153 พันลานบาท (รอยละ 1.7 ของ GDP) และปจจุบันกระทรวงอุตสาหกรรมกําลังทํา roadmap ที่
         มีเปาหมายหลักในการลดตนทุนสินคาคงคลังในภาคการผลิตอยางเรงดวน อยางไรก็ดีในรายงานมีขอสังเกตวาใน
                                                                                                       
         ชวงเวลาที่ผานมา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมหลักๆของไทย ไดตระหนักถึงความสําคัญและเขาใจหลักการ
         บริหารกระบวนการโลจิสติกสภายในสถานประกอบการมากขึ้น ทําใหสามารถปรับลดปริมาณการถือครองสินคา
         รวมทั้งบริหารจัดการสินคาคงคลังของตนเองดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยไดอยางรัดกุมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้
         ไดมการเปลี่ยนวิธีการผลิตสินคาตามคําสั่งซื้อมากขึน จนทําใหระยะเวลาการสงมอบสินคา (Lead Time) โดยรวม
                ี                                          ้
         ลดลง และระดับการสะสมสตอกของวัตถุดิบและสินคาลดลงดวย
                   ในความเห็นและประสบการณของผูเขียน หากเราสามารถวิเคราะหลึกลงไปในภาคอุตสาหกรรมตางๆ
         เราอาจจะพบวาผูประกอบการขนาดใหญในภาคการผลิตมีการใชแนวปฏิบัตแบบ JIT หรือการใชหลัก Lean
                                                                                  ิ
         Manufacturing มานานแลว ทําใหระดับสินคาคงคลังของบริษัทเหลานีอยูในระดับที่ต่ําและเทียบเคียงกับมาตรฐาน
                                                                            ้
         ในระดับโลกเนื่องจากมีความรูและระบบที่ชวยใหสามารถควบคุมปริมาณสินคาคงคลัง
                                                                                                แตภาระการแบกรับ
         ปริมาณสินคาคงคลังในอุตสาหกรรมกลับอยูทธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME) ที่อยูสูงขึ้นไปในโซอปทาน
                                                      ี่                                                     ุ
         เพราะ SME สวนใหญของบานเรายังไมมีเงินลงทุนในเทคโนโลยี และการสือสารในปจจุบันเปนทางเดียว คือรับคํา
                                                                                ่
         สั่งซื้อจากบริษัทใหญเทานั้นแตไมสามารถโตตอบและใหขอมูลกับบริษัทขนาดใหญอยางมีประสิทธิภาพ จึงทําให
                                                                
         บริษัทใหญมองไมเห็นปญหาของบริษทเล็กโดยเฉพาะเวลาที่บริษทเล็กไมสามารถสงมอบไดทัน ซึ่งก็จะกอใหเกิด
                                               ั                       ั
         ปญหาการผลิตกับบริษัทใหญไดเชนกัน หากเราสามารถสรางทัศนวิสยตลอดโซอปทานได การประสานงาน
                                                                              ั         ุ
         สําหรับคูคาในระดับตางๆในโซอปทานก็จะดีขึ้น
                                          ุ                  และจะนําไปสูการลดตนทุนสินคาคงคลังและตนทุนโลจิสติกส
         อื่นๆไดดวย
                   

         2.       เทคโนโลยีในการสรางทัศนวิสัย
                  ปจจุบันเทคโนโลยีไดกาวหนาไปมากทําใหการเชือมโยงไมวาจะภายในองคกรโดยใชระบบ ERP หรือการ
                                                                      ่
         เชื่อมขอมูลภายนอกองคกรโดยผานอินแทอรเน็ตทําไดไมยาก แมจะเปน SME ก็ตาม ในที่นี้เราจะพูดถึง
         เทคโนโลยีพิ้นฐานที่สาคัญในปจจุบนที่ชวยสรางทัศนวิสยในโซอปุทาน
                                  ํ            ั                    ั
                  • ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) เปนระบบสารสนเทศพื้นฐานที่ทําใหหนวยงานตางๆ
                       ในองคกรสามารถเชื่อมโยงกันไดอยางมีประสิทธิภาพ พนักงานของแตละแผนกสามารถมองเห็นขอ
                       ขอมูลขององคกรที่ชวยใหเกิดการประสานงานกันได เพราะการพัฒนาใหองคกรมีระบบ ERP
                       เปรียบเสมือนการสรางทอขอมูลที่บูรณาการเชื่อมตอกันทั้งองคกร ทําใหผูที่บริโภคขอมูลสามารถ
                       เขาใจขอมูลที่ตรงกันและทําหนาทีประสานงานกันได และเนื่องจากขอมูลเชน ระดับสินคาคงคลัง
                                                           ่
                       คําสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือคําสั่งขายของลูกคา รวมทั้งคําสั่งการผลิต ก็อยูในระบบนี้ การใหคูคามองเห็น
                       ขอมูลเพื่อประโยชนในการประสานงานก็จะสามารถทําไดไมยาก และสําหรับองคกรที่มปริมาณขอมูล
                                                                                                             ี
                       มาก การใชระบบ ERP จะทําใหลดการสือสารที่ไมจําเปน เพิ่มความแมนยําของการใชขอมูลในการ
                                                                  ่
                       ทําธุรกรรมและการตัดสินใจทั้งภายในและภายนอกองคกร
                  • ระบบการจัดการคลังสินคา (Warehouse Management System หรือ WMS) เปนระบบที่ตอยอด
                       ออกไปจากระบบ ERP และมักจะใชในกรณีที่องคกรมีความจําเปนในการตรวจติดตามสินคาอยาง
                       ละเอียด          โดยปกติระบบ ERP จะมีความสามารถในการควบคุมและติดตามสินคาคงคลังไดดี
                       พอสมควรเพราะมีฟงกชั่นในการควบคุมสินคาคงคลังที่เปนวัตถุดิบ งานระหวางการผลิต และสินคา


         บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด                                                                             หนา 3 /6
Supply Chain Visibility                                                                           www.m-focus.co.th




                    สําเร็จรูปทีอยูในหลายๆแหงได ดังนั้นในบางองคกรการใช WMS ก็อาจจะไมมีความจําเปนเนื่องจาก
                                  ่
                    ระบบ ERP สามารถตอบสนองในเรืองขอมูลและการควบคุมไดดอยูแลว แตในบางกรณี เชน กรณี
                                                         ่                            ี 
                    คลังสินคาขนาดใหญทอาจจะเปนของผูใหบริการขนสง (3PL) ที่เก็บสินคาของลูกคาหลายๆเจาใน
                                            ี่
                    คลังเดียวกัน การมองเห็นวาสินคาของลูกคาทุกคนอยูที่ไหน รวมทั้งการทําหนาทีรับเขาจายออก
                                                                                                     ่
                    แทนลูกคาที่มาฝากสินคาทําใหระบบ WMS มีความสามารถสูงกวาระบบ ERP ทั่วไปในการควบคุม
                    สินคาคงคลัง
                  • ระบบการจัดการการขนสง (Transportation Management System หรือ TMS) ซึ่งหมายรวมถึง
                    ระบบการติดตามการขนสง (Track and Trace) ผานอินเทอรเน็ตเพื่อใหทราบวาสินคาระหวางสงอยู
                    ณ ที่ใดโดยอาจจะใชควบคูกับใชเทคโนโลยี GPS (Global Positioning System) และระบบ POD
                    (Proof of Delivery) ที่สามารถสงสถานะการสงมอบแลวกลับมาบูรณาการกับระบบ WMS หรือ ERP
                    รวมทั้งการจองเวลาของรถที่จะเขามาเทียบทาของ Cross-dock และคลังสินคาเพื่อไมใหเกิดการรอ
                    คอยนานทั้งขาเขาและขาออก เปนตน
                  • การทํา B2B e-Commerce โดยใช EDI (Electronic Data Interchange) ในธุรกิจคาปลีก หรือการใช
                    มาตรฐาน RosettaNet ที่แพรหลายในอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ลวนแตเปนการสราง
                    ทัศนวิสยตลอดโซอปทานได เพราะสามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางคูคาที่อาจจะใชระบบ ERP ที่
                              ั         ุ
                    แตกตางกันได อาทิ คําสั่งซื้อ (PO) ใบแจงหนี้ (Invoice) ระดับสินคาคงคลัง (Inventory) การแจง
                    ลวงหนากอนสงมอบสินคา (Advance Shipment Notification - ASN) และการแจงบอกวาไดรับ
                    สินคาเรียบรอยแลว (Goods Receipt Notification - GRN) เปนตน ความสามารถในการรับรูและรับ
                                                                                                            
                    แจงระดับสินคาคงคลังผานอินเทอรเน็ตตามมาตรฐาน RosettaNet เปนศักยภาพทีสําคัญสําหรับ
                                                                                                       ่
                    SME ที่ตองดูแลสินคาคงคลังของตนเองในที่ตางๆเพราะถูกบังคับใหทํา VMI (Vendor Managed
                                                                
                    Inventory) ซึ่งเปนภาระสําคัญของ SME ในการตอบสนองลูกคาที่เรียกรองมา ประโยชนที่เกิดกับ
                    SME ในการมองเห็นระดับสินคาคงคลังในที่ตางๆ ทําใหผประกอบการสามารถใชขอมูลดังกลาวใน
                                                                                 ู
                    การวางแผนการเติมเต็มสินคา ณ จุดเหลานั้น การลดปริมาณสินคาคงคลังสามารถทําไดดวยการ
                    มองเห็นขอมูลดังกลาวตลอดเวลา อยางไรก็ดี การไดมาซึ่งขอมูลดังกลาวจากที่หางไกลโดยใช
                    อินเทอรเน็ตหมายความวาคูคาของ SME จะตองสงขอมูลระดับสินคาคงคลังมาให และสมมุติวาคูคา
                    ยินดีจะใหขอมูลดังกลาวทุกวัน ภาระทีตามมาของ SME ก็คือการเชื่อมโยงขอมูลกับระบบ ERP ของ
                                                          ่
                    คูคาซึ่งอาจจะมีสายพันธตางๆ กันกับ SME หากจะไมใหเกิดภาระและตนทุนกับ SME มากเกินไป
                                               
                    การใชมาตรฐานการเชื่อมโยงเดียว เชน การใช RosettaNet ก็จะชวยให SME สามารถคาขายและ
                    เชื่อมโยงกับบริษัทคูคาขนาดใหญไดงายขึ้น สิ่งทีผูเขียนเห็นวาการพัฒนาของประเทศไทยในขณะนี้
                                                                      ่
                    ขาดทิศทางที่ถูกตอง ก็คือ การโยนภาระการเชื่อมโยงและตนทุนการถือครองสินคาคงคลังใหกับ
                    SME ตัวอยาง เชน ผูประกอบการขนาดใหญบงคับใหซัพพลายเออร SME เขาไปทําธุรกรรมเชน
                                                                    ั
                    download คําสั่งซื้อจาก web site ของรายใหญอยูตลอดเวลา และในกรณีที่ SME ตองเชื่อมโยงกับ
                    web site ของบริษัทตางๆมากมายที่มีมาตรฐานการใหขอมูลของตนเอง จึงทําให SME มีโอกาสนอย
                    มากในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพหากภาคอุตสาหกรรมไมมีการใชมาตรฐานการเชื่อมโยงและ
                    ระบบที่ดีมาชวยลดภาระดังกลาว



         บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด                                                                     หนา 4 /6
Supply Chain Visibility                                                                            www.m-focus.co.th




                  • การใชเทคโนโลยี Barcode หรือ RFID หรือ Hand-Held Device หรือ Wireless Tracking
                    Technology ก็เปนเทคโนโลยีประเภทที่เรียกวา Automatic Data Capture ที่ทําหนาที่คลายกัน นั่น
                    คือ การอานขอมูลเขาระบบอยางอัตโนมัติ ซึ่งมีประโยชนมากในการลดเวลาและความผิดพลาดใน
                    การคียขอมูลดวยมือเขาระบบตางๆ ไมวาจะเปนระบบ ERP ระบบ WMS และอื่นๆ ความแมนยํา
                             
                    ของการใชระบบเหลานี้ ชวยเพิ่มความชัดเจนของทัศนวิสยในโซอปทานและนําไปสูการลดสินคาคง
                                                                         ั     ุ
                    คลังไดดวย

         3.        ความทาทายในการสรางทัศนวิสัย
                   ความกาวหนาของโลกอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยี ทําใหผูบริโภคทั่วโลกมีความคาดหวังจากภาคธุรกิจใน
         การตอบสนองความตองการใหมๆอยูตลอดเวลา และสรางความยุงยากใหกับผูประกอบการในภาคการผลิตและคา
                                                                                      
         ปลีกในการจัดการโซอปทานมากกวาในอดีตมากมาย และทําใหมีเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการโลจิสติกสที่
                                   ุ
         จําเปนในการตอบสนอง และทําใหตองสรรหาวิธีการใหมๆในการสรางทัศนวิสัยเพื่อลดตนทุนโลจิสติกส และทําให
         สามารถสงมอบสินคาตอบสนองตอตลาดไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การประมวลขอมูลจากแหลงตางๆ
         โดยใชเทคโนโลยีใหมาอยูที่เดียวกันเพื่อชวยในการตัดสินใจจึงเปนสิ่งที่ทาทายตลอดเวลา    และยิ่งโซอปทาน
                                                                                                             ุ
         ขยายตัวไปยิ่งไกล ความทาทายก็จะเพิ่มขึ้นเปนทวีคูณเพราะเราตองเผชิญกับกฎระเบียบ ภาษา และวัฒนธรรม
         ทองถิ่นและอุปสรรคอืนๆ เชน คุณภาพและความเร็วในการรวบรวมและรายงานขอมูล งบประมาณที่มีในการ
                                 ่
         ลงทุนเพื่อสรางทัศนวิสยแบบ real-time เปนตน
                                     ั
                   บริษัทที่มีแรงกดดันในการสรางทัศนวิสย มักจะเปนบริษัทที่ตองการลดตนทุนและเล็งเห็นความสําคัญใน
                                                        ั
         การปรับปรุงกระบวนการตางๆในโซอปทานของตนเอง เชน จําเปนตองแจงลูกคาเกี่ยวกับสถานะของสินคาหรือ
                                              ุ
         ระดับสินคา ตองการปรับปรุงเรื่องระยะเวลาและความไมแนนอนในการพัฒนา ผลิต และสงมอบ ตองติดตามสินคา
         ตั้งแตเกิดจนกระทั่งตายเปนเศษซากและตองกําจัด เชน สินคาอิเล็กทรอนิกส เปนตน และบางครั้งอาจจะตองมี
         การเรียกคืน (recalls) เพราะสินคาชํารุดจากการผลิตหรือการออกแบบดวย ในบางกรณีความแตกตางของตลาด
         และความตองการของการติดฉลากสําหรับแตละทองถิ่นทําใหมีตนทุนเพิ่มและเพิ่มความยุงยากในกระบวนการใน
         โซอปทาน บางครั้งการไมรแหลงที่มาหรือไมสามารถติดตามการไหลของสินคาอาจจะทําใหเกิดการปลอมแปลง
              ุ                        ู
         และมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในคุณภาพของสินคาหากสินคาไมไดถูกบรรจุในหีบหอที่มีคุณภาพเหมาะสมตอการขนสง
         เปนตน สิ่งเหลานี้คือความทาทาย นอกจากนั้น การเปลี่ยนแปลงสําหรับประเทศไทยที่จะสรางความทาทาย
         เพิ่มเติมก็คอการเปนสมาชิกประชาคมอาเซียนในไมชา เสนแบงเขตแดนกําลังจะเลือนหายไป กฎระเบียบใหมใน
                     ื
         การคาขายขามชายแดนจะเพิ่มขึนมา  ้             แตความตองการและความทาทายในแงทัศนวิสัยยังคงมีอยูสําหรับ
         ผูประกอบการ

         4.      ความสามารถของโซอุปทานกับการจัดการทัศนวิสัย
                 บทความ Adaptive Supply Chain Networks ของ SAP AG ในป 2002 ไดกลาวถึงการจัดชั้นโซอปทาน ุ
         ออกเปน 3 ชั้นใหญๆ คือ 1) Integrated, 2) Collaborative และ 3) Adaptive Supply Chain ซึ่งเปนการบงชี้ถึง
         ความสามารถที่เพิ่มขึนตามชั้นของโซอปทาน และขึ้นอยูกับความถี่หรือความหนาแนนของการใชขอมูลขาวสาร
                             ้                    ุ                                                 
         (Information Density) ที่วิ่งอยูในโซอปทานชั้นนั้นๆ โดยที่
                                                ุ



         บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด                                                                      หนา 5 /6
Supply Chain Visibility                                                                            www.m-focus.co.th




                       • Integrated Supply Chain หมายถึง โซอุปทานที่มการบูรณาการในเรื่องขอมูลขาวสารระหวางคู
                                                                       ี
                         คาในซัพพลายเชนและเปนความสามารถขันต่ําทีสุด
                                                                 ้   ่           โดยทีระบบที่สรางทัศนวิสยจะเนนที่
                                                                                      ่                    ั
                         คุณภาพและความถูกตองของขอมูล (Quality of Information) ที่เชื่อมโยงระหวางองคกรเปน
                         หลัก ความสามารถในการบูรณาการความถี่ของขอมูลในระดับนี้สามารถสรางความสามารถใน
                         การแขงขันของโซอปทานในระดับหนึ่ง ซึ่งยอมดีกวาโซอปทานที่ไมสามารถบูรณาการขอมูลให
                                            ุ                                ุ
                         เกิดทัศนวิสย
                                    ั
                       • Collaborative Supply Chain เปนการพัฒนาซัพพลายเชนขึ้นไปอีกระดับหนึ่งที่มีความสามารถ
                         สูงขึ้นโดยสามารถกาวขามปญหาในการบูรณาการขอมูลระหวางกัน และคูคาในซัพพลายเชน
                         สามารถประสานงานกันไดอยางสอดคลองและมีประสิทธิภาพ และทําใหการบริหารความสมดุล
                         ระหวางอุปสงคและอุปทานในซัพพลายเชนทําไดขึ้น โดยที่นอกจากคุณภาพของขอมูลจะถูกตอง
                         แลว ความถี่ในการแบงปนขอมูลขาวสารจะสามารถทําไดอยางถูกจังหวะ (Timeliness of
                         Information) และไมติดขัด สงผลใหมความถูกตองมากขึนในการตัดสินใจในการบริหารระดับ
                                                               ี               ้
                         สินคาคงคลังในภาวะที่อุปสงคมการเปลี่ยนแปลง
                                                      ี
                       • Adaptive Supply Chain เปนการพัฒนาความสามารถของโซอปทานไปสูระดับสูงสุด เพราะ
                                                                                        ุ       
                         หมายถึงซัพพลายเชนที่มความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสถานการณไดเร็ว ซึ่งนอกจาก
                                                  ี
                         ความถี่ของขอมูลจะมีคณภาพถูกตอง ตรงตอเวลาที่ตองการแลว การแบงปนขอมูลขาวสารยังมี
                                                ุ                        
                         ความลุมลึก (Depth of Information) ที่จะชวยใหซัพพลายเชนสามารถสรางกําไรไดสูงสุด
                         ทามกลางพลวัตของการเปลี่ยนแปลงของอุปสงคและอปุทานที่บางครั้งอาจจะมีความรุนแรงเปน
                         อยางมาก ความรวดเร็วในการปรับตัวเมือมีทัศนวิสยที่ชดเจนจะชวยใหซัพพลายเชนสามารถ
                                                                   ่       ั ั
                         ปรับตัวใหเขากับความแปรปรวนของอุปสงคและอุปทาน องคกรประเภทนี้จะมีการใชเทคโนโลยี
                         ที่ชวยในการวางแผนและสามารถวิเคราะหผลกระทบของทางเลือกตางๆ ทําใหสามารถเลือก
                         ทางออกทีดีที่สด และสรางศักยภาพในการแขงขันไดสูงสุด เรามักจะเห็นองคกรที่มโซอปทาน
                                   ่ ุ                                                                    ี ุ
                         ระดับโลกที่อยูในตลาดหลักทรัพยไดรับผลกระทบในเชิงราคาหุนที่ลดลงทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ
                         หรือปญหาที่ทําใหเกิดผลกระทบตอรายได        เพราะไมสามารถสงมอบสินคาไดตามที่ตลาด
                         คาดหวัง เปนตน

                 โดยสรุป         ความสามารถในการสรางทัศนวิสัยในองคกรและขามองคกรที่เปนคูคาในโซอปทานมี
                                                                                                      ุ
         ความสําคัญตอความสามารถในการแขงขันขององคกรและโซอุปทาน แต SME ที่อยูในโซอปทานของ     ุ
         อุตสาหกรรมไทยยังขาดความสามารถดังกลาวอยูมาก นอกจากนั้น แมแตองคกรขนาดใหญของไทยก็ยังตอง
         ปรับตัวอีกมากในการพัฒนาไปสูการเปนซัพพลายเชนระดับโลก เราจึงควรมียุทธศาสตรทถูกตองในการพัฒนาให
                                                                                     ี่
         อุตสาหกรรมไทยมีศักยภาพในการสรางทัศนวิสัยในซัพพลายเชน




         บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด                                                                      หนา 6 /6

More Related Content

Similar to Supply Chain Visibility

องค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeองค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeNavik Numsiang
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Software Park Thailand
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Software Park Thailand
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
1แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 11แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 1tonmai
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2i_cavalry
 
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...Software Park Thailand
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Software Park Thailand
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน) DrDanai Thienphut
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Nopporn Thepsithar
 

Similar to Supply Chain Visibility (20)

องค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeองค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-office
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
 
Gor7
Gor7Gor7
Gor7
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
1แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 11แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 1
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Group5
Group5Group5
Group5
 
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
Eis
EisEis
Eis
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
 

More from M-Focus

M-Focus Products
M-Focus ProductsM-Focus Products
M-Focus ProductsM-Focus
 
Mpt brochure
Mpt brochureMpt brochure
Mpt brochureM-Focus
 
Supply Chain
Supply ChainSupply Chain
Supply ChainM-Focus
 
Verticent Mfg Plus
Verticent Mfg PlusVerticent Mfg Plus
Verticent Mfg PlusM-Focus
 
Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010
Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010
Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010M-Focus
 
M-Commodity Flow
M-Commodity FlowM-Commodity Flow
M-Commodity FlowM-Focus
 

More from M-Focus (7)

M-Focus Products
M-Focus ProductsM-Focus Products
M-Focus Products
 
Mpt brochure
Mpt brochureMpt brochure
Mpt brochure
 
Supply Chain
Supply ChainSupply Chain
Supply Chain
 
M
MM
M
 
Verticent Mfg Plus
Verticent Mfg PlusVerticent Mfg Plus
Verticent Mfg Plus
 
Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010
Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010
Valogix Inventory Planner Brochure 110 081010
 
M-Commodity Flow
M-Commodity FlowM-Commodity Flow
M-Commodity Flow
 

Supply Chain Visibility

  • 1. ทัศนวิสัยในโซอุปทาน Supply Chain Visibility โดย ดร.ปรีชา พันธุมสินชัย, CPIM, CSCP กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด ศาสตราภิชาน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2003-2006 email: pricha@m-focus.co.th HU UH บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด อาคารฐานเศรษฐกิจ ชั้น 6 222 ถ.วิภาวดีรังสิต จตุจักร กทม 10900 โทร. 02-513-9892 15 กุมภาพันธ 2010
  • 2. Supply Chain Visibility www.m-focus.co.th ทัศนวิสัยในโซอุปทาน Supply Chain Visibility โดย ดร.ปรีชา พันธุมสินชัย, CPIM, CSCP กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด ศาสตราภิชาน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2003-2006 email: HUpricha@m-focus.co.thUH 15 กุมภาพันธ 2010 1. ทัศนวิสยกับการลดตนทุน ั ทัศนวิสยคือความสามารถในการมองเห็น เชน เวลาที่เราขับขี่รถยนต เราตองมีความสามารถในการ ั มองเห็นทองถนนเพื่อการควบคุมใหไปถึงเปาหมาย เวลาที่เราขับเครื่องบิน เรามีอปกรณนาทางที่ทันสมัยที่สด ุ ํ ุ เพื่อชวยใหเรามองเห็นทิศทางเนื่องจากเสนทางที่เรากําลังไปไมมีการตีเสนที่ชดเจนเหมือนทองถนนที่มีปายบอก ั ทาง นอกจากนั้นนักบินยังตองสื่อสารและประสานงานกับทาอากาศยานหรือทาเรืออยางสม่ําเสมอ และการสื่อสาร จะเปนแบบวลาจริง (real-time) สําหรับภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ทัศนวิสยในโซอุปทานเปนความสามารถที่แตละ ั บริษัทควรจะมีเพราะจะทําใหผูบริหารและผูปฏิบัติงานมีความสามารถในการควบคุม และสามารถนําพาองคกร ไปสูเปาหมายในการตอบสนองตอลูกคาและสรางกําไรและความยั่งยืนใหกับองคกรในที่สด อยางไรก็ดี การไดมา ุ ซี่งทัศนวิสยจําเปนตองมีการลงทุนในเทคโนโลยีและการสรางระบบการจัดการใหสามารถบูรณาการขอมูลตางๆ ั เพื่อใหสามารถนําขอมูลไปใชในการควบคุมกิจกรรมตางๆ เชน การรับคําสั่งซื้อ การควบคุมการผลิต การควบคุม สินคาคงคลัง การจัดซื้อ การประสานงานกับซัพพลายเออรรวมทั้งผูใหบริการโลจิสติกส (3PL) ในการติดตาม (track and trace) ชิ้นสวน วัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูปจากตนทางจนถึงลูกคาปลายทาง อยางมีประสิทธิภาพ เปนตน เปาหมายของทัศนวิสยในโซอุปทานคือการชวยเพิ่มสมรรถนะของโซอปทานโดยชวยใหทุกภาคสวนใน ั ุ โซอปทานรวมทั้งลูกคาสามารถมองเห็นสิ่งที่กําลังเกิดขึ้น ุ และสามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณของการ เปลี่ยนแปลงที่จะมากระทบการปฏิบัติการไดอยางรวดเร็ว เชน การปรับกลยุทธเกี่ยวกับอุปสงคหรือการปรับใช วัตถุดบไปในทิศทางอื่นที่เปนประโยชนที่สดเมื่อมีเหตุที่ทาใหแผนเดิมถูกกระทบ เปนตน ิ ุ ํ ในปจจุบนแรงกดดันจากการแขงขันและความเร็วในการทําธุรกิจ ทําใหภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมของ ั ไทยจําเปนตองปรับตัว และสรางความสามารถในการมองเห็นใหกวางไกลออกไปเพื่อประโยชนในการควบคุม กิจการตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมือประเทศไทยมีนโยบายสงเสริมใหคนไทยไปลงทุนในตางประเทศมากขึ้น ่ ความสามารถทางดานการจัดการโซอปทานและการทํางานรวมประสาน (collaborate) กับคูคาในซัพพลายเชน ุ เพื่อใหตนทุนสินคาและบริการของเราอยูในระดับทีต่ํา จึงมีผลตอความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก และ  ่ ทัศนวิสยในโซอปทานเปนความสามารถขั้นพื้นฐานในชวยใหเราสามารถลดตนทุนโลจิสติกสไดอยางแทจริง ั ุ ทานใดที่มโอกาสอานรายงานโลจิสติกสของประเทศไทยประจําป 2552 ของสํานักงานคณะกรรมการ ี พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จะทราบวาในป 2551 ตนทุนโลจิสติกสของประเทศไทย มีมลคารวม ู ประมาณ 1.7 ลานลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนเทากับรอยละ 18.6 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคา ประจําป (GDP at current prices) ซึ่งประกอบดวย ตนทุนคาขนสงสินคา 823 พันลานบาท (รอยละ 9.1 ของ GDP) ตนทุนการเก็บรักษาสินคาคงคลัง 705 พันลานบาท (รอยละ 7.8 ของ GDP) และตนทุนการบริหารจัดการ บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด หนา 2 /6
  • 3. Supply Chain Visibility www.m-focus.co.th ดานโลจิสติกส 153 พันลานบาท (รอยละ 1.7 ของ GDP) และปจจุบันกระทรวงอุตสาหกรรมกําลังทํา roadmap ที่ มีเปาหมายหลักในการลดตนทุนสินคาคงคลังในภาคการผลิตอยางเรงดวน อยางไรก็ดีในรายงานมีขอสังเกตวาใน  ชวงเวลาที่ผานมา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมหลักๆของไทย ไดตระหนักถึงความสําคัญและเขาใจหลักการ บริหารกระบวนการโลจิสติกสภายในสถานประกอบการมากขึ้น ทําใหสามารถปรับลดปริมาณการถือครองสินคา รวมทั้งบริหารจัดการสินคาคงคลังของตนเองดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยไดอยางรัดกุมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ไดมการเปลี่ยนวิธีการผลิตสินคาตามคําสั่งซื้อมากขึน จนทําใหระยะเวลาการสงมอบสินคา (Lead Time) โดยรวม ี ้ ลดลง และระดับการสะสมสตอกของวัตถุดิบและสินคาลดลงดวย ในความเห็นและประสบการณของผูเขียน หากเราสามารถวิเคราะหลึกลงไปในภาคอุตสาหกรรมตางๆ เราอาจจะพบวาผูประกอบการขนาดใหญในภาคการผลิตมีการใชแนวปฏิบัตแบบ JIT หรือการใชหลัก Lean ิ Manufacturing มานานแลว ทําใหระดับสินคาคงคลังของบริษัทเหลานีอยูในระดับที่ต่ําและเทียบเคียงกับมาตรฐาน ้ ในระดับโลกเนื่องจากมีความรูและระบบที่ชวยใหสามารถควบคุมปริมาณสินคาคงคลัง  แตภาระการแบกรับ ปริมาณสินคาคงคลังในอุตสาหกรรมกลับอยูทธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME) ที่อยูสูงขึ้นไปในโซอปทาน ี่ ุ เพราะ SME สวนใหญของบานเรายังไมมีเงินลงทุนในเทคโนโลยี และการสือสารในปจจุบันเปนทางเดียว คือรับคํา ่ สั่งซื้อจากบริษัทใหญเทานั้นแตไมสามารถโตตอบและใหขอมูลกับบริษัทขนาดใหญอยางมีประสิทธิภาพ จึงทําให  บริษัทใหญมองไมเห็นปญหาของบริษทเล็กโดยเฉพาะเวลาที่บริษทเล็กไมสามารถสงมอบไดทัน ซึ่งก็จะกอใหเกิด ั ั ปญหาการผลิตกับบริษัทใหญไดเชนกัน หากเราสามารถสรางทัศนวิสยตลอดโซอปทานได การประสานงาน ั ุ สําหรับคูคาในระดับตางๆในโซอปทานก็จะดีขึ้น ุ และจะนําไปสูการลดตนทุนสินคาคงคลังและตนทุนโลจิสติกส อื่นๆไดดวย  2. เทคโนโลยีในการสรางทัศนวิสัย ปจจุบันเทคโนโลยีไดกาวหนาไปมากทําใหการเชือมโยงไมวาจะภายในองคกรโดยใชระบบ ERP หรือการ ่ เชื่อมขอมูลภายนอกองคกรโดยผานอินแทอรเน็ตทําไดไมยาก แมจะเปน SME ก็ตาม ในที่นี้เราจะพูดถึง เทคโนโลยีพิ้นฐานที่สาคัญในปจจุบนที่ชวยสรางทัศนวิสยในโซอปุทาน ํ ั ั • ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) เปนระบบสารสนเทศพื้นฐานที่ทําใหหนวยงานตางๆ ในองคกรสามารถเชื่อมโยงกันไดอยางมีประสิทธิภาพ พนักงานของแตละแผนกสามารถมองเห็นขอ ขอมูลขององคกรที่ชวยใหเกิดการประสานงานกันได เพราะการพัฒนาใหองคกรมีระบบ ERP เปรียบเสมือนการสรางทอขอมูลที่บูรณาการเชื่อมตอกันทั้งองคกร ทําใหผูที่บริโภคขอมูลสามารถ เขาใจขอมูลที่ตรงกันและทําหนาทีประสานงานกันได และเนื่องจากขอมูลเชน ระดับสินคาคงคลัง ่ คําสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือคําสั่งขายของลูกคา รวมทั้งคําสั่งการผลิต ก็อยูในระบบนี้ การใหคูคามองเห็น ขอมูลเพื่อประโยชนในการประสานงานก็จะสามารถทําไดไมยาก และสําหรับองคกรที่มปริมาณขอมูล ี มาก การใชระบบ ERP จะทําใหลดการสือสารที่ไมจําเปน เพิ่มความแมนยําของการใชขอมูลในการ ่ ทําธุรกรรมและการตัดสินใจทั้งภายในและภายนอกองคกร • ระบบการจัดการคลังสินคา (Warehouse Management System หรือ WMS) เปนระบบที่ตอยอด ออกไปจากระบบ ERP และมักจะใชในกรณีที่องคกรมีความจําเปนในการตรวจติดตามสินคาอยาง ละเอียด โดยปกติระบบ ERP จะมีความสามารถในการควบคุมและติดตามสินคาคงคลังไดดี พอสมควรเพราะมีฟงกชั่นในการควบคุมสินคาคงคลังที่เปนวัตถุดิบ งานระหวางการผลิต และสินคา บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด หนา 3 /6
  • 4. Supply Chain Visibility www.m-focus.co.th สําเร็จรูปทีอยูในหลายๆแหงได ดังนั้นในบางองคกรการใช WMS ก็อาจจะไมมีความจําเปนเนื่องจาก ่ ระบบ ERP สามารถตอบสนองในเรืองขอมูลและการควบคุมไดดอยูแลว แตในบางกรณี เชน กรณี ่ ี  คลังสินคาขนาดใหญทอาจจะเปนของผูใหบริการขนสง (3PL) ที่เก็บสินคาของลูกคาหลายๆเจาใน ี่ คลังเดียวกัน การมองเห็นวาสินคาของลูกคาทุกคนอยูที่ไหน รวมทั้งการทําหนาทีรับเขาจายออก ่ แทนลูกคาที่มาฝากสินคาทําใหระบบ WMS มีความสามารถสูงกวาระบบ ERP ทั่วไปในการควบคุม สินคาคงคลัง • ระบบการจัดการการขนสง (Transportation Management System หรือ TMS) ซึ่งหมายรวมถึง ระบบการติดตามการขนสง (Track and Trace) ผานอินเทอรเน็ตเพื่อใหทราบวาสินคาระหวางสงอยู ณ ที่ใดโดยอาจจะใชควบคูกับใชเทคโนโลยี GPS (Global Positioning System) และระบบ POD (Proof of Delivery) ที่สามารถสงสถานะการสงมอบแลวกลับมาบูรณาการกับระบบ WMS หรือ ERP รวมทั้งการจองเวลาของรถที่จะเขามาเทียบทาของ Cross-dock และคลังสินคาเพื่อไมใหเกิดการรอ คอยนานทั้งขาเขาและขาออก เปนตน • การทํา B2B e-Commerce โดยใช EDI (Electronic Data Interchange) ในธุรกิจคาปลีก หรือการใช มาตรฐาน RosettaNet ที่แพรหลายในอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ลวนแตเปนการสราง ทัศนวิสยตลอดโซอปทานได เพราะสามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางคูคาที่อาจจะใชระบบ ERP ที่ ั ุ แตกตางกันได อาทิ คําสั่งซื้อ (PO) ใบแจงหนี้ (Invoice) ระดับสินคาคงคลัง (Inventory) การแจง ลวงหนากอนสงมอบสินคา (Advance Shipment Notification - ASN) และการแจงบอกวาไดรับ สินคาเรียบรอยแลว (Goods Receipt Notification - GRN) เปนตน ความสามารถในการรับรูและรับ  แจงระดับสินคาคงคลังผานอินเทอรเน็ตตามมาตรฐาน RosettaNet เปนศักยภาพทีสําคัญสําหรับ ่ SME ที่ตองดูแลสินคาคงคลังของตนเองในที่ตางๆเพราะถูกบังคับใหทํา VMI (Vendor Managed   Inventory) ซึ่งเปนภาระสําคัญของ SME ในการตอบสนองลูกคาที่เรียกรองมา ประโยชนที่เกิดกับ SME ในการมองเห็นระดับสินคาคงคลังในที่ตางๆ ทําใหผประกอบการสามารถใชขอมูลดังกลาวใน ู การวางแผนการเติมเต็มสินคา ณ จุดเหลานั้น การลดปริมาณสินคาคงคลังสามารถทําไดดวยการ มองเห็นขอมูลดังกลาวตลอดเวลา อยางไรก็ดี การไดมาซึ่งขอมูลดังกลาวจากที่หางไกลโดยใช อินเทอรเน็ตหมายความวาคูคาของ SME จะตองสงขอมูลระดับสินคาคงคลังมาให และสมมุติวาคูคา ยินดีจะใหขอมูลดังกลาวทุกวัน ภาระทีตามมาของ SME ก็คือการเชื่อมโยงขอมูลกับระบบ ERP ของ  ่ คูคาซึ่งอาจจะมีสายพันธตางๆ กันกับ SME หากจะไมใหเกิดภาระและตนทุนกับ SME มากเกินไป  การใชมาตรฐานการเชื่อมโยงเดียว เชน การใช RosettaNet ก็จะชวยให SME สามารถคาขายและ เชื่อมโยงกับบริษัทคูคาขนาดใหญไดงายขึ้น สิ่งทีผูเขียนเห็นวาการพัฒนาของประเทศไทยในขณะนี้ ่ ขาดทิศทางที่ถูกตอง ก็คือ การโยนภาระการเชื่อมโยงและตนทุนการถือครองสินคาคงคลังใหกับ SME ตัวอยาง เชน ผูประกอบการขนาดใหญบงคับใหซัพพลายเออร SME เขาไปทําธุรกรรมเชน ั download คําสั่งซื้อจาก web site ของรายใหญอยูตลอดเวลา และในกรณีที่ SME ตองเชื่อมโยงกับ web site ของบริษัทตางๆมากมายที่มีมาตรฐานการใหขอมูลของตนเอง จึงทําให SME มีโอกาสนอย มากในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพหากภาคอุตสาหกรรมไมมีการใชมาตรฐานการเชื่อมโยงและ ระบบที่ดีมาชวยลดภาระดังกลาว บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด หนา 4 /6
  • 5. Supply Chain Visibility www.m-focus.co.th • การใชเทคโนโลยี Barcode หรือ RFID หรือ Hand-Held Device หรือ Wireless Tracking Technology ก็เปนเทคโนโลยีประเภทที่เรียกวา Automatic Data Capture ที่ทําหนาที่คลายกัน นั่น คือ การอานขอมูลเขาระบบอยางอัตโนมัติ ซึ่งมีประโยชนมากในการลดเวลาและความผิดพลาดใน การคียขอมูลดวยมือเขาระบบตางๆ ไมวาจะเปนระบบ ERP ระบบ WMS และอื่นๆ ความแมนยํา  ของการใชระบบเหลานี้ ชวยเพิ่มความชัดเจนของทัศนวิสยในโซอปทานและนําไปสูการลดสินคาคง ั ุ คลังไดดวย 3. ความทาทายในการสรางทัศนวิสัย ความกาวหนาของโลกอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยี ทําใหผูบริโภคทั่วโลกมีความคาดหวังจากภาคธุรกิจใน การตอบสนองความตองการใหมๆอยูตลอดเวลา และสรางความยุงยากใหกับผูประกอบการในภาคการผลิตและคา  ปลีกในการจัดการโซอปทานมากกวาในอดีตมากมาย และทําใหมีเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการโลจิสติกสที่ ุ จําเปนในการตอบสนอง และทําใหตองสรรหาวิธีการใหมๆในการสรางทัศนวิสัยเพื่อลดตนทุนโลจิสติกส และทําให สามารถสงมอบสินคาตอบสนองตอตลาดไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การประมวลขอมูลจากแหลงตางๆ โดยใชเทคโนโลยีใหมาอยูที่เดียวกันเพื่อชวยในการตัดสินใจจึงเปนสิ่งที่ทาทายตลอดเวลา และยิ่งโซอปทาน ุ ขยายตัวไปยิ่งไกล ความทาทายก็จะเพิ่มขึ้นเปนทวีคูณเพราะเราตองเผชิญกับกฎระเบียบ ภาษา และวัฒนธรรม ทองถิ่นและอุปสรรคอืนๆ เชน คุณภาพและความเร็วในการรวบรวมและรายงานขอมูล งบประมาณที่มีในการ ่ ลงทุนเพื่อสรางทัศนวิสยแบบ real-time เปนตน ั บริษัทที่มีแรงกดดันในการสรางทัศนวิสย มักจะเปนบริษัทที่ตองการลดตนทุนและเล็งเห็นความสําคัญใน ั การปรับปรุงกระบวนการตางๆในโซอปทานของตนเอง เชน จําเปนตองแจงลูกคาเกี่ยวกับสถานะของสินคาหรือ ุ ระดับสินคา ตองการปรับปรุงเรื่องระยะเวลาและความไมแนนอนในการพัฒนา ผลิต และสงมอบ ตองติดตามสินคา ตั้งแตเกิดจนกระทั่งตายเปนเศษซากและตองกําจัด เชน สินคาอิเล็กทรอนิกส เปนตน และบางครั้งอาจจะตองมี การเรียกคืน (recalls) เพราะสินคาชํารุดจากการผลิตหรือการออกแบบดวย ในบางกรณีความแตกตางของตลาด และความตองการของการติดฉลากสําหรับแตละทองถิ่นทําใหมีตนทุนเพิ่มและเพิ่มความยุงยากในกระบวนการใน โซอปทาน บางครั้งการไมรแหลงที่มาหรือไมสามารถติดตามการไหลของสินคาอาจจะทําใหเกิดการปลอมแปลง ุ ู และมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในคุณภาพของสินคาหากสินคาไมไดถูกบรรจุในหีบหอที่มีคุณภาพเหมาะสมตอการขนสง เปนตน สิ่งเหลานี้คือความทาทาย นอกจากนั้น การเปลี่ยนแปลงสําหรับประเทศไทยที่จะสรางความทาทาย เพิ่มเติมก็คอการเปนสมาชิกประชาคมอาเซียนในไมชา เสนแบงเขตแดนกําลังจะเลือนหายไป กฎระเบียบใหมใน ื การคาขายขามชายแดนจะเพิ่มขึนมา ้ แตความตองการและความทาทายในแงทัศนวิสัยยังคงมีอยูสําหรับ ผูประกอบการ 4. ความสามารถของโซอุปทานกับการจัดการทัศนวิสัย บทความ Adaptive Supply Chain Networks ของ SAP AG ในป 2002 ไดกลาวถึงการจัดชั้นโซอปทาน ุ ออกเปน 3 ชั้นใหญๆ คือ 1) Integrated, 2) Collaborative และ 3) Adaptive Supply Chain ซึ่งเปนการบงชี้ถึง ความสามารถที่เพิ่มขึนตามชั้นของโซอปทาน และขึ้นอยูกับความถี่หรือความหนาแนนของการใชขอมูลขาวสาร ้ ุ   (Information Density) ที่วิ่งอยูในโซอปทานชั้นนั้นๆ โดยที่ ุ บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด หนา 5 /6
  • 6. Supply Chain Visibility www.m-focus.co.th • Integrated Supply Chain หมายถึง โซอุปทานที่มการบูรณาการในเรื่องขอมูลขาวสารระหวางคู ี คาในซัพพลายเชนและเปนความสามารถขันต่ําทีสุด ้ ่ โดยทีระบบที่สรางทัศนวิสยจะเนนที่ ่ ั คุณภาพและความถูกตองของขอมูล (Quality of Information) ที่เชื่อมโยงระหวางองคกรเปน หลัก ความสามารถในการบูรณาการความถี่ของขอมูลในระดับนี้สามารถสรางความสามารถใน การแขงขันของโซอปทานในระดับหนึ่ง ซึ่งยอมดีกวาโซอปทานที่ไมสามารถบูรณาการขอมูลให ุ ุ เกิดทัศนวิสย ั • Collaborative Supply Chain เปนการพัฒนาซัพพลายเชนขึ้นไปอีกระดับหนึ่งที่มีความสามารถ สูงขึ้นโดยสามารถกาวขามปญหาในการบูรณาการขอมูลระหวางกัน และคูคาในซัพพลายเชน สามารถประสานงานกันไดอยางสอดคลองและมีประสิทธิภาพ และทําใหการบริหารความสมดุล ระหวางอุปสงคและอุปทานในซัพพลายเชนทําไดขึ้น โดยที่นอกจากคุณภาพของขอมูลจะถูกตอง แลว ความถี่ในการแบงปนขอมูลขาวสารจะสามารถทําไดอยางถูกจังหวะ (Timeliness of Information) และไมติดขัด สงผลใหมความถูกตองมากขึนในการตัดสินใจในการบริหารระดับ ี ้ สินคาคงคลังในภาวะที่อุปสงคมการเปลี่ยนแปลง ี • Adaptive Supply Chain เปนการพัฒนาความสามารถของโซอปทานไปสูระดับสูงสุด เพราะ ุ  หมายถึงซัพพลายเชนที่มความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสถานการณไดเร็ว ซึ่งนอกจาก ี ความถี่ของขอมูลจะมีคณภาพถูกตอง ตรงตอเวลาที่ตองการแลว การแบงปนขอมูลขาวสารยังมี ุ  ความลุมลึก (Depth of Information) ที่จะชวยใหซัพพลายเชนสามารถสรางกําไรไดสูงสุด ทามกลางพลวัตของการเปลี่ยนแปลงของอุปสงคและอปุทานที่บางครั้งอาจจะมีความรุนแรงเปน อยางมาก ความรวดเร็วในการปรับตัวเมือมีทัศนวิสยที่ชดเจนจะชวยใหซัพพลายเชนสามารถ ่ ั ั ปรับตัวใหเขากับความแปรปรวนของอุปสงคและอุปทาน องคกรประเภทนี้จะมีการใชเทคโนโลยี ที่ชวยในการวางแผนและสามารถวิเคราะหผลกระทบของทางเลือกตางๆ ทําใหสามารถเลือก ทางออกทีดีที่สด และสรางศักยภาพในการแขงขันไดสูงสุด เรามักจะเห็นองคกรที่มโซอปทาน ่ ุ ี ุ ระดับโลกที่อยูในตลาดหลักทรัพยไดรับผลกระทบในเชิงราคาหุนที่ลดลงทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ หรือปญหาที่ทําใหเกิดผลกระทบตอรายได เพราะไมสามารถสงมอบสินคาไดตามที่ตลาด คาดหวัง เปนตน โดยสรุป ความสามารถในการสรางทัศนวิสัยในองคกรและขามองคกรที่เปนคูคาในโซอปทานมี ุ ความสําคัญตอความสามารถในการแขงขันขององคกรและโซอุปทาน แต SME ที่อยูในโซอปทานของ ุ อุตสาหกรรมไทยยังขาดความสามารถดังกลาวอยูมาก นอกจากนั้น แมแตองคกรขนาดใหญของไทยก็ยังตอง ปรับตัวอีกมากในการพัฒนาไปสูการเปนซัพพลายเชนระดับโลก เราจึงควรมียุทธศาสตรทถูกตองในการพัฒนาให ี่ อุตสาหกรรมไทยมีศักยภาพในการสรางทัศนวิสัยในซัพพลายเชน บริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด หนา 6 /6