SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
องคกรในฝน “Front-To-Back-Office”
            ความไมแนนอนทางเศรษฐกิจ สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Dynamic Society) บทบาทของอินเตอรเน็ตตอพฤติกรรมผูบริโภค และ ปญหาสิ่งแวดลอมกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ ทําใหการบริหารจัดการธุรกิจไมใชเรื่องที่งายอีกตอไป อยางไรก็ตาม ธุรกิจจะตองเติบโตตอไปและจะตองฟนฝากับอุปสรรคและการแขงขันทางการคาทั้งทางตรงและ
                                                            
ทางออมที่มีความเขมขนขึ้นเรื่อยๆ อีกทั้งความตองการของลูกคาก็มีมากขึ้น ธุรกิจจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ดวย

             การบริหารจัดการกระบวนการธุรกิจดวยเทคโนโลยีสารสนเทศแบบไมตอเนื่องจะไมสามารถตอบสนองความตองการของผูบริหารและลูกคาไดอีกตอไป ธุรกิจจําเปนที่จะตองมี
กระบวนการทํางานแบบไมสะดุด (Seamless) ตั้งแตระบบ Front Office ของการตลาด การขาย งานบริการ จนไปถึงระบบ Back Office ของหนวยงานปฏิบัติการ (Operation) และ ฝายบัญชี/
การเงิน เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน สรางกําไรอยางยั่งยืน และ รักษาฐานลูกคาเดิมตอไป แนวโนมการบริหารจัดการธุรกิจแนวใหมก็คือการประสานการทํางานของระบบ Front
Office เขากับระบบ Back Office อยางราบรื่น หรือที่เรียกกันวา การทํางานรวมของระบบ CRM และ ระบบ ERP นั่นเอง

การบริหารความสัมพันธกบลูกคาและกระบวนการทางธุรกิจคือสิ่งทีทาทายธุรกิจวันนี้
                      ั                                    ่
            เชื่อวาธุรกิจสวนใหญไมไดทํางานดวยแอปพลิเคชั่นเดียวกันทั้งองคกร ตางหนวยงานก็จะมีระบบการจัดการลูกคาที่แตกตางกันไป อาทิ ฝายขายก็จะมีฐานขอมูลของลูกคา (Client)
และลูกคามุงหวัง (Prospect) ของตนเอง พนักงานขายตางคนตางเก็บขอมูลของตัวเองดวยซ้ํา ฝายบริการก็มีฐานขอมูลของลูกคาเปนของตนเองเพื่อใหบริการลูกคาไดตามสัญญาบริการ ฝาย
บัญชีก็มีฐานขอมูลของลูกคาของตนเองในการเรียกชําระเงิน เปนตน

          ธุรกิจเริ่มขยับขยายดวยการลงทุนในระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององคกรโดยรวม (Enterprise Resource Planning: ERP) เพื่อใหเกิดการใชประโยชนอยางสูงสุดของ
ทรัพยากรทางธุรกิจขององคกร ดวยการบูรณาการระบบงานตางๆ เขาดวยกัน ตั้งแตการจัดซื้อ จัดจาง การผลิต การขาย บัญชีการเงิน และการบริหารบุคคล ตอมาก็เริ่มใหความสําคัญกับการ
บริหารความสัมพันธกับลูกคา เพราะเล็งเห็นถึงประโยชนของการรักษาฐานลูกคาเดิมมากขึ้น ดวยระบบบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management: CRM) ก็จะเปน
อีกบูรณาการในระบบการขาย การบริการ และการตลาด

          หากทั้งสองระบบนี้เปนระบบเดียวกันไดก็ดี เพราะการบริหารจัดการธุรกิจตลอดวงจรชีวิตของลูกคา (Customer Lifecycle) ก็จะเปนกระบวนการที่ตอเนื่องอยางสมบูรณ แตใน
ความเปนจริงแลวยากที่จะมีระบบเดียวอยางนี้ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็กและกลาง ผลลัพธท่จะตามมาก็คือ
                                                                                   ี

          ขอมูลจะกระจัดกระจายไปในแตละหนวยงาน
          ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน ดวยตนทุนการบริหารที่สูง
          การทํางานที่ซ้ําซอนกันและเกิดความผิดพลาดสูงจากการทํางาน

พืนฐานขององคกร Front-To-Back-Office
  ้
            หลักการงายๆ ขององคกรที่เปน Front-To-Back-Office ก็คือกระบวนการทํางานของทั้งองคกรจะตองเปนแบบไมสะดุด (Seamless) อาทิ กระบวนการจากเสนอราคาสูการสั่งซื้อ
(Quote-to-Order) และ กระบวนการจากการสั่งซื้อสูการชําระเงิน (Order-to-Cash) จะตองเปนสวนเดียวกันตั้งแตตนจบ หรือ กระบวนการจากเสนอราคาสูการชําระเงิน (Quote-to-Cash
Cycle) นั่นเอง พนักงานทุกคนจะตองปฏิบัติงานบนฐานขอมูลกลางเดียวกัน ผลลัพธที่ไดคอ
                                                                                 ื

          บริหารความสัมพันธกับลูกคาไดอยางมี
           ประสิทธิภาพ
          การบริหารจัดการธุรกิจดวยตนทุนที่ลดลง กําไร
           เพิ่มขึ้นในที่สุด
          และที่สําคัญ เพิ่มขีดความสามารถในการ
           แขงขันของบริษัทในระยะยาว




             1 

                                                                                                                                                                                       
องคประกอบขององคกร Front-To-Back-Office
            นี่อาจจะเปนองคกรในฝนของผูบริหารหลายๆ คน มันก็ไมใชเรื่องงายเลยที่จะมีองคกรที่เปน Front-To-Back-Office แตก็ไมใชเรื่องที่ยากเกินไป หากบริษัทของคุณมี 3 องคประกอบ
นี้

ขอแรก ความถูกตองของขอมูล

            ขอมูลของระบบ ERP และ CRM จะตองเปนขอมูลที่ถูกตองและทันสมัยเพียงพอตอการตัดสินใจทางธุรกิจ หัวใจสําคัญคือขอมูลลูกคาจะตองถูกตอง มีการเชื่อมขอมูลจากระบบ
ERP ไปยังระบบ CRM ไดอยางถูกตอง ไมวาขอมูลของระบบใดระบบหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลง ระบบหนึ่งจะตองใหขอมูลที่ถูกตองกับอีกระบบหนึ่งเชนกัน ดังนั้น เจาหนาที่จะทํางานดวยระบบใด
                                         
ก็ตาม ก็ยังสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางถูกตองและทันสมัย ทําใหการตัดสินใจทางธุรกิจมีความแมนยํามากขึ้น

ขอที่สอง มุมมองของลูกคา 360 องศา

             ระบบจะตองชวยใหพนักงานสามารถเห็นขอมูลของลูกคาในหลายมิติดวยแอปพลิเคชั่นเดียว ทั้งขอมูลของลูกคาที่เกี่ยวกับการเงิน เชน ประวัติการซื้อ ประวัตการชําระเงิน เปนตน
                                                                                                                                                               ิ
และที่ไมใชการเงิน เชน กิจกรรมที่ผานมา ประวัติการติดตอ ความชอบ เปนตน ขอมูลของลูกคาแบบ 360 องศานี้ชวยใหเจาหนาที่สามารถวิเคราะหลูกคาและตัดสินใจไดอยางแมนยําขึ้น เชน
พนักงานขายอาจจะไมใหสวนลดเพิ่มเติม หากลูกคามีประวัติการชําระเงินที่ชา เปนตน
                                                                        

ขอที่สาม การประมวลผลโดยตรง (Straight Through Processing)

            การที่ธุรกรรมถูกประมวลผลเสร็จสิ้นทุกขั้นตอนโดยอัตโนมัติ โดยไมมีการแทรกหรือขัดจังหวะโดยคน ระบบสามารถดําเนินการในขั้นตอนตอไปของกระบวนการไดโดยอัตโนมัติ
อาจจะมีการทํา Trigger ในแตละเหตุการณ หรือ ใชแอปพลิเคชั่น Workflow เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบติงานไดอยางถูกตอง ประโยชนที่เห็นไดชัดคือการลดขั้นตอนการปอนขอมูลจาก
                                                                                                    ั
กระบวนการหนึ่งไปยังอีกกระบวนการหนึ่ง เชน การสั่งผลิตไปยังฝายผลิตแบบอัตโนมัติ หลังจากไดใบสั่งซื้อจากลูกคา เปนตน ขอมูลทั้งหมดจะมาจากการปอนขอมูลครั้งแรกเพียงครั้งเดียว ลด
ความซ้ําซอน ลดตนทุนธุรการและที่สําคัญ ลดความผิดพลาดของการปฏิบัติงานดวย

ดูเหมือนจะยาก แตกไมไดยากมากอยางที่คิด
                  ็
            การเชื่อมตอขอมูลระหวางระบบ ERP กับ CRM ดูเหมือนจะยาก แตก็ไมไดยากมากอยางที่คิด แอปพลิเคชั่นสมัยใหมจะออกแบบใหระบบทั้งสองเปนระบบเดียวกัน ดวยการทํางาน
บนฐานขอมูลรวมกัน ประโยชนท่จะไดรับคือ แอปพลิเคชั่นจะรองรับการทํางานของกระบวนการที่ตอเนื่องไดอยางไมสะดุด ระบบเดียวจะรองรับระบบความปลอดภัยของขอมูลไดดีกวา เชน การ
                                  ี
กําหนดสิทธิ์ของผูใช เปนตน แตระบบเดียวอาจจะไมยืดหยุนเพียงพอในการรองรับกับประเภทของธุรกิจที่หลายหลาย

             อีกแนวทางหนึ่ง คือการใชระบบ ERP และ CRM ที่แยกออกจากกัน แตใชความสามารถของแตละระบบในการเชื่อมขอมูลเขาหากัน เชน เจาหนาที่ใชระบบ CRM สามารถดูขอมูล
การสั่งซื้อหรือประวัติการชําระเงินจากระบบ ERP ได เปนตน จริงแลว ทั้งระบบ ERP และ CRM ตางก็มีความตองการในการบันทึกขอมูลและการเขาถึงขอมูลที่แตกตางกันอยูแลว ดังนั้น จึงไม
แปลกอะไรที่ธุรกิจสามารถประสบความสําเร็จ เปนองคกรแบบ Front-To-Back-Office ไดดวยเชนกัน แมจะเปนระบบ ERP และ CRM ที่แยกออกจากกันก็ตาม

สุดทาย... ใหพจารณาทีโอกาสทางธุรกิจ
               ิ      ่
            จริงแลว การเชื่อมตอเปนระบบตองใชความรูอยางมากในการเขาใจวาตองการเชื่อมขอมูลอะไรบาง ขอใหพิจารณาวาการเชือมขอมูลนั้นจะเปนประโยชนตอการสรางโอกาสทาง
                                                                                                                              ่
ธุรกิจ โอกาสการขายใหมหรือไม หากเราไมจํากัดกรอบของการเชื่อมขอมูลแลว ระบบอาจจะลมเหลวได และนั้นก็หมายถึงความลมเหลวทางธุรกิจของคุณนั่นเอง



บทความโดย
นาวิก นําเสียง                                                                               บทความ องคกรในฝน “Front-To-Back-Office”
กรรมการผูจัดการ                                                                             จะเผยแพรในนิตยสาร eLeader/ eEnterprise ฉบับเดือนมีนาคม 2554
บริษัท ซันเด โซลูชันส จํากัด
navik@sundae.co.th




               2 

                                                                                                                                                                                          

More Related Content

Similar to องค์กรในฝัน front to-back-office

ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
Thailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updated
Thailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updatedThailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updated
Thailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updatedDr. Obrom Aranyapruk
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
Supply Chain Visibility
Supply Chain VisibilitySupply Chain Visibility
Supply Chain VisibilityM-Focus
 
eMagazine-NECTEC "NetHAM"
eMagazine-NECTEC "NetHAM"eMagazine-NECTEC "NetHAM"
eMagazine-NECTEC "NetHAM"chom-manad
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 

Similar to องค์กรในฝัน front to-back-office (20)

E R P2 Meaning
E R P2 MeaningE R P2 Meaning
E R P2 Meaning
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Thailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updated
Thailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updatedThailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updated
Thailand SMEs platform 19 08_2021 วิทยาลัยพยาบาลสิรินธร updated
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Seminar Open Source ERP/CRM
Seminar Open Source ERP/CRMSeminar Open Source ERP/CRM
Seminar Open Source ERP/CRM
 
Supply Chain Visibility
Supply Chain VisibilitySupply Chain Visibility
Supply Chain Visibility
 
eMagazine-NECTEC "NetHAM"
eMagazine-NECTEC "NetHAM"eMagazine-NECTEC "NetHAM"
eMagazine-NECTEC "NetHAM"
 
Ossf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdfOssf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdf
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
งานคอม บท2
งานคอม บท2งานคอม บท2
งานคอม บท2
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 

More from Navik Numsiang

Social Media Update : Consumer 3.0 in Thailand
Social Media Update : Consumer 3.0 in ThailandSocial Media Update : Consumer 3.0 in Thailand
Social Media Update : Consumer 3.0 in ThailandNavik Numsiang
 
Social Listening for Market Researcher
Social Listening for Market ResearcherSocial Listening for Market Researcher
Social Listening for Market ResearcherNavik Numsiang
 
#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...
#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...
#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...Navik Numsiang
 
The Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data Edition
The Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data EditionThe Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data Edition
The Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data EditionNavik Numsiang
 
eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)Navik Numsiang
 
Social Network For Employee V1 0 20091125
Social Network For Employee V1 0 20091125Social Network For Employee V1 0 20091125
Social Network For Employee V1 0 20091125Navik Numsiang
 
CRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic Downturn
CRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic DownturnCRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic Downturn
CRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic DownturnNavik Numsiang
 

More from Navik Numsiang (7)

Social Media Update : Consumer 3.0 in Thailand
Social Media Update : Consumer 3.0 in ThailandSocial Media Update : Consumer 3.0 in Thailand
Social Media Update : Consumer 3.0 in Thailand
 
Social Listening for Market Researcher
Social Listening for Market ResearcherSocial Listening for Market Researcher
Social Listening for Market Researcher
 
#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...
#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...
#C817 customer experience transformation on 15-16, 17 july 2014, organised by...
 
The Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data Edition
The Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data EditionThe Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data Edition
The Global Competitiveness Report 2012–2013 Full Data Edition
 
eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)
 
Social Network For Employee V1 0 20091125
Social Network For Employee V1 0 20091125Social Network For Employee V1 0 20091125
Social Network For Employee V1 0 20091125
 
CRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic Downturn
CRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic DownturnCRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic Downturn
CRM: A Business Imperative for Companies during the Global Economic Downturn
 

องค์กรในฝัน front to-back-office

  • 1. องคกรในฝน “Front-To-Back-Office” ความไมแนนอนทางเศรษฐกิจ สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Dynamic Society) บทบาทของอินเตอรเน็ตตอพฤติกรรมผูบริโภค และ ปญหาสิ่งแวดลอมกับ ทรัพยากรธรรมชาติ ทําใหการบริหารจัดการธุรกิจไมใชเรื่องที่งายอีกตอไป อยางไรก็ตาม ธุรกิจจะตองเติบโตตอไปและจะตองฟนฝากับอุปสรรคและการแขงขันทางการคาทั้งทางตรงและ  ทางออมที่มีความเขมขนขึ้นเรื่อยๆ อีกทั้งความตองการของลูกคาก็มีมากขึ้น ธุรกิจจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ดวย การบริหารจัดการกระบวนการธุรกิจดวยเทคโนโลยีสารสนเทศแบบไมตอเนื่องจะไมสามารถตอบสนองความตองการของผูบริหารและลูกคาไดอีกตอไป ธุรกิจจําเปนที่จะตองมี กระบวนการทํางานแบบไมสะดุด (Seamless) ตั้งแตระบบ Front Office ของการตลาด การขาย งานบริการ จนไปถึงระบบ Back Office ของหนวยงานปฏิบัติการ (Operation) และ ฝายบัญชี/ การเงิน เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน สรางกําไรอยางยั่งยืน และ รักษาฐานลูกคาเดิมตอไป แนวโนมการบริหารจัดการธุรกิจแนวใหมก็คือการประสานการทํางานของระบบ Front Office เขากับระบบ Back Office อยางราบรื่น หรือที่เรียกกันวา การทํางานรวมของระบบ CRM และ ระบบ ERP นั่นเอง การบริหารความสัมพันธกบลูกคาและกระบวนการทางธุรกิจคือสิ่งทีทาทายธุรกิจวันนี้ ั ่ เชื่อวาธุรกิจสวนใหญไมไดทํางานดวยแอปพลิเคชั่นเดียวกันทั้งองคกร ตางหนวยงานก็จะมีระบบการจัดการลูกคาที่แตกตางกันไป อาทิ ฝายขายก็จะมีฐานขอมูลของลูกคา (Client) และลูกคามุงหวัง (Prospect) ของตนเอง พนักงานขายตางคนตางเก็บขอมูลของตัวเองดวยซ้ํา ฝายบริการก็มีฐานขอมูลของลูกคาเปนของตนเองเพื่อใหบริการลูกคาไดตามสัญญาบริการ ฝาย บัญชีก็มีฐานขอมูลของลูกคาของตนเองในการเรียกชําระเงิน เปนตน ธุรกิจเริ่มขยับขยายดวยการลงทุนในระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององคกรโดยรวม (Enterprise Resource Planning: ERP) เพื่อใหเกิดการใชประโยชนอยางสูงสุดของ ทรัพยากรทางธุรกิจขององคกร ดวยการบูรณาการระบบงานตางๆ เขาดวยกัน ตั้งแตการจัดซื้อ จัดจาง การผลิต การขาย บัญชีการเงิน และการบริหารบุคคล ตอมาก็เริ่มใหความสําคัญกับการ บริหารความสัมพันธกับลูกคา เพราะเล็งเห็นถึงประโยชนของการรักษาฐานลูกคาเดิมมากขึ้น ดวยระบบบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management: CRM) ก็จะเปน อีกบูรณาการในระบบการขาย การบริการ และการตลาด หากทั้งสองระบบนี้เปนระบบเดียวกันไดก็ดี เพราะการบริหารจัดการธุรกิจตลอดวงจรชีวิตของลูกคา (Customer Lifecycle) ก็จะเปนกระบวนการที่ตอเนื่องอยางสมบูรณ แตใน ความเปนจริงแลวยากที่จะมีระบบเดียวอยางนี้ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็กและกลาง ผลลัพธท่จะตามมาก็คือ ี  ขอมูลจะกระจัดกระจายไปในแตละหนวยงาน  ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน ดวยตนทุนการบริหารที่สูง  การทํางานที่ซ้ําซอนกันและเกิดความผิดพลาดสูงจากการทํางาน พืนฐานขององคกร Front-To-Back-Office ้ หลักการงายๆ ขององคกรที่เปน Front-To-Back-Office ก็คือกระบวนการทํางานของทั้งองคกรจะตองเปนแบบไมสะดุด (Seamless) อาทิ กระบวนการจากเสนอราคาสูการสั่งซื้อ (Quote-to-Order) และ กระบวนการจากการสั่งซื้อสูการชําระเงิน (Order-to-Cash) จะตองเปนสวนเดียวกันตั้งแตตนจบ หรือ กระบวนการจากเสนอราคาสูการชําระเงิน (Quote-to-Cash Cycle) นั่นเอง พนักงานทุกคนจะตองปฏิบัติงานบนฐานขอมูลกลางเดียวกัน ผลลัพธที่ไดคอ ื  บริหารความสัมพันธกับลูกคาไดอยางมี ประสิทธิภาพ  การบริหารจัดการธุรกิจดวยตนทุนที่ลดลง กําไร เพิ่มขึ้นในที่สุด  และที่สําคัญ เพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันของบริษัทในระยะยาว 1   
  • 2. องคประกอบขององคกร Front-To-Back-Office นี่อาจจะเปนองคกรในฝนของผูบริหารหลายๆ คน มันก็ไมใชเรื่องงายเลยที่จะมีองคกรที่เปน Front-To-Back-Office แตก็ไมใชเรื่องที่ยากเกินไป หากบริษัทของคุณมี 3 องคประกอบ นี้ ขอแรก ความถูกตองของขอมูล ขอมูลของระบบ ERP และ CRM จะตองเปนขอมูลที่ถูกตองและทันสมัยเพียงพอตอการตัดสินใจทางธุรกิจ หัวใจสําคัญคือขอมูลลูกคาจะตองถูกตอง มีการเชื่อมขอมูลจากระบบ ERP ไปยังระบบ CRM ไดอยางถูกตอง ไมวาขอมูลของระบบใดระบบหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลง ระบบหนึ่งจะตองใหขอมูลที่ถูกตองกับอีกระบบหนึ่งเชนกัน ดังนั้น เจาหนาที่จะทํางานดวยระบบใด  ก็ตาม ก็ยังสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางถูกตองและทันสมัย ทําใหการตัดสินใจทางธุรกิจมีความแมนยํามากขึ้น ขอที่สอง มุมมองของลูกคา 360 องศา ระบบจะตองชวยใหพนักงานสามารถเห็นขอมูลของลูกคาในหลายมิติดวยแอปพลิเคชั่นเดียว ทั้งขอมูลของลูกคาที่เกี่ยวกับการเงิน เชน ประวัติการซื้อ ประวัตการชําระเงิน เปนตน ิ และที่ไมใชการเงิน เชน กิจกรรมที่ผานมา ประวัติการติดตอ ความชอบ เปนตน ขอมูลของลูกคาแบบ 360 องศานี้ชวยใหเจาหนาที่สามารถวิเคราะหลูกคาและตัดสินใจไดอยางแมนยําขึ้น เชน พนักงานขายอาจจะไมใหสวนลดเพิ่มเติม หากลูกคามีประวัติการชําระเงินที่ชา เปนตน   ขอที่สาม การประมวลผลโดยตรง (Straight Through Processing) การที่ธุรกรรมถูกประมวลผลเสร็จสิ้นทุกขั้นตอนโดยอัตโนมัติ โดยไมมีการแทรกหรือขัดจังหวะโดยคน ระบบสามารถดําเนินการในขั้นตอนตอไปของกระบวนการไดโดยอัตโนมัติ อาจจะมีการทํา Trigger ในแตละเหตุการณ หรือ ใชแอปพลิเคชั่น Workflow เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบติงานไดอยางถูกตอง ประโยชนที่เห็นไดชัดคือการลดขั้นตอนการปอนขอมูลจาก ั กระบวนการหนึ่งไปยังอีกกระบวนการหนึ่ง เชน การสั่งผลิตไปยังฝายผลิตแบบอัตโนมัติ หลังจากไดใบสั่งซื้อจากลูกคา เปนตน ขอมูลทั้งหมดจะมาจากการปอนขอมูลครั้งแรกเพียงครั้งเดียว ลด ความซ้ําซอน ลดตนทุนธุรการและที่สําคัญ ลดความผิดพลาดของการปฏิบัติงานดวย ดูเหมือนจะยาก แตกไมไดยากมากอยางที่คิด ็ การเชื่อมตอขอมูลระหวางระบบ ERP กับ CRM ดูเหมือนจะยาก แตก็ไมไดยากมากอยางที่คิด แอปพลิเคชั่นสมัยใหมจะออกแบบใหระบบทั้งสองเปนระบบเดียวกัน ดวยการทํางาน บนฐานขอมูลรวมกัน ประโยชนท่จะไดรับคือ แอปพลิเคชั่นจะรองรับการทํางานของกระบวนการที่ตอเนื่องไดอยางไมสะดุด ระบบเดียวจะรองรับระบบความปลอดภัยของขอมูลไดดีกวา เชน การ ี กําหนดสิทธิ์ของผูใช เปนตน แตระบบเดียวอาจจะไมยืดหยุนเพียงพอในการรองรับกับประเภทของธุรกิจที่หลายหลาย อีกแนวทางหนึ่ง คือการใชระบบ ERP และ CRM ที่แยกออกจากกัน แตใชความสามารถของแตละระบบในการเชื่อมขอมูลเขาหากัน เชน เจาหนาที่ใชระบบ CRM สามารถดูขอมูล การสั่งซื้อหรือประวัติการชําระเงินจากระบบ ERP ได เปนตน จริงแลว ทั้งระบบ ERP และ CRM ตางก็มีความตองการในการบันทึกขอมูลและการเขาถึงขอมูลที่แตกตางกันอยูแลว ดังนั้น จึงไม แปลกอะไรที่ธุรกิจสามารถประสบความสําเร็จ เปนองคกรแบบ Front-To-Back-Office ไดดวยเชนกัน แมจะเปนระบบ ERP และ CRM ที่แยกออกจากกันก็ตาม สุดทาย... ใหพจารณาทีโอกาสทางธุรกิจ ิ ่ จริงแลว การเชื่อมตอเปนระบบตองใชความรูอยางมากในการเขาใจวาตองการเชื่อมขอมูลอะไรบาง ขอใหพิจารณาวาการเชือมขอมูลนั้นจะเปนประโยชนตอการสรางโอกาสทาง ่ ธุรกิจ โอกาสการขายใหมหรือไม หากเราไมจํากัดกรอบของการเชื่อมขอมูลแลว ระบบอาจจะลมเหลวได และนั้นก็หมายถึงความลมเหลวทางธุรกิจของคุณนั่นเอง บทความโดย นาวิก นําเสียง บทความ องคกรในฝน “Front-To-Back-Office” กรรมการผูจัดการ จะเผยแพรในนิตยสาร eLeader/ eEnterprise ฉบับเดือนมีนาคม 2554 บริษัท ซันเด โซลูชันส จํากัด navik@sundae.co.th 2