SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
ประเภทของการจัดการหน่วยความจา
ประเภทของการจัดการหน่วยความจา
ในระบบโปรแกรมเดี่ยว การจัดการหน่วยความจาแบบ
หน่วยความจาจริงก็คือ การใช้หน่วย ความจาแบบธรรมดา โดยที่
โปรแกรมของผู้ใช้จะต้องไม่โตเกินกว่าขนาดของหน่วยความจาที่มีอยู่
(ในส่วนของผู้ใช้เท่านั้นไม่รวมส่วนของระบบปฏิบัติการ)ส่วนการทาโอ
เวอร์เลย์นั้นจะต่างกับแบบหน่วย ความจาจริงตรงที่โปรแกรมของผู้ใช้มี
ขนาดโตกว่าขนาดของหน่วยความจาที่มีอยู่ได้โดยการโหลด เอาส่วนที่
ใช้งานลงไปก่อน ส่วนไหนยังไม่ใช้ก็เก็บไว้ในดิสก์ ซึ่งทั้งหมดนี้ผู้ใช้
จะต้องเขียนโปรแกรม ให้โปรแกรมเป็นผู้จัดการเองทั้งหมด ลักษณะ
การจัดการแบบโอเวอร์เลย์นี้มีหลักการทางานเหมือนกับระบบ
หน่วยความจาเสมือน
ในระบบหลายโปรแกรม การจัดการหน่วยความจาแบบหน่วยความจา
จริงนั้น แบ่งเป็นการจัดการแบบแบ่งพื้นที่ในหน่วยความจา และไม่ได้แบ่ง
หน่วยความจา การแบ่งหน่วยความจายังแบ่งย่อยเป็น 2 ประเภท คือ ส่วน
แบ่งย่อยมีขนาดคงที่แน่นอน และขนาดไม่คงที่ อย่างไรก็ตามก็มีข้อจากัด
เช่นเดียวกับในระบบโปรแกรมเดี่ยว คือ ขนาดของโปรแกรมจะต้องไม่โตเกินกว่า
ขนาดของหน่วยความจาที่มีอยู่ในระบบ ดังนั้นเราอาจแบ่งการจัดการ
หน่วยความจาออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ระบบหน่วยความจาจริงและ
ระบบหน่วยความจาเสมือน โดยที่ในระบบหน่วยความจาจริงขนาดของ
โปรแกรมจะต้องไม่โตกว่าขนาดของหน่วยความจาที่มีอยู่ ลบด้วยขนาดของ
หน่วยความจาที่เป็นส่วนของระบบปฏิบัติการ ส่วนระบบหน่วยความจาเสมือน
ขนาดของโปรแกรมจะโตเท่าไรก็ได้
รูปการจัดการ
หน่วยความจา
แนวคิดของหน่วยความจาเสมือน
ในระบบหน่วยความจาเสมือน ผู้เขียนโปรแกรมหรือผู้ใช้จะไม่
ถูกจากัดในเรื่องของขนาดของ หน่วยความจาอีกต่อไปคือไม่ต้องสนใจ
ว่าในระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่นั้นมีหน่วยความจาขนาดเท่าไร
รับทราบเพียงแต่ว่ามีหน่วยความจาจริงที่มีอยู่มากมาย เช่น ในระบบมี
หน่วยความจาอยู่ 10 เมกะไบต์ แต่ผู้ใช้สามารถเขียนหรือรันโปรแกรม
ขนาด 100-1,000 เมกะไบต์ได้
รูปหน่วยความจาเสมือนมีขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจาจริง
แนวความคิดของการทาหน่วยความจาเสมือนนี้มีลักษณะเช่นเดียวกับ
การทาโอเวอร์เลย์นั่นคือ โปรแกรมทั้งโปรแกรมไม่ได้ถูกใช้งานพร้อมกันทั้งหมด
เช่น โปรแกรมทั่ว ๆ ไปจะเริ่มทางานจาก ส่วนต้นโปรแกรม ค่อย ๆ เลื่อนลงมา
จนกระทั้งถึงท้ายโปรแกรม ในขณะที่โปรแกรมกาลังทางานอยู่ ที่ส่วนต้น
โปรแกรม ที่ปลายของโปรแกรมก็ยังไม่ถูกใช้ เมื่อโปรแกรมทางานมาถึงส่วนท้าย
ๆ โปรแกรม ส่วนต้น ๆ โปรแกรมก็ไม่ถูกใช้งาน ดังนั้นในช่วงที่โปรแกรมทางาน
อยู่ที่ส่วนต้น ๆ ก็ไม่มีความจาเป็นต้องโหลดเอาส่วนท้าย ๆ โปรแกรมลงไปใน
หน่วยความจาให้เปลืองเนื้อที่ เมื่อโปรแกรมทางานมาจนกระทั้งถึงส่วนที่ยังไม่
โหลดเข้าไปในหน่วยความจา ระบบปฏิบัติการจะจัดการดึงเอา ส่วนนั้นมาจาก
หน่วยความจารอง
การแปลงส่งแอดเดรส (AddressMapping)
เนื่องจากขนาดของโปรแกรมสามารถมีขนาดโตกว่าขนาดของ
หน่วยความจา ดังนั้น แอดเดรสที่อ้างอิงภายในโปรแกรมจึงต่างกับแอดเดรสของ
หน่วยความจาจริง ตัวอย่างเช่น ระบบ คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจามากที่สุดได้
แค่ 1 ล้านไบต์ ดังนั้นการอ้างถึงตาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วย ความจาจะต้องใช้
แอดเดรสที่มีเลข 6 หลัก แอดเดรสที่ 000000 ถึง 999999 (เพื่อให้เกิดความ
เช้าใจได้โดยง่าย จึงใช้เลขฐานสิบเท่านั้น ไม่ใช้เลขฐานสิบหก)
เทคนิคการแปลงส่งแอดเดรสมือยู,หลายวิธีแต่วิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุด
คือ วิธี DAT (Dynamic Address Translation)
การแบ่งบล็อก
ระบบปฏิบัติการจะแบ่งโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อย ๆ หลาย ๆ
ส่วน เรียกว่า บล็อก (Block) ถ้าแบ่งให้แต่ละบล็อกมีขนาดเท่ากันทั้งหมด
จะเรียกบล็อกว่า หน้า (Page) แต่ถ้ามีขนาด ไม่เท่ากันจะเรียกว่า เซ็ก
เมนต์ (Segment) โดยทั่วไปเซ็กเมนต์ จะมีขนาดใหญ่กว่าหน้ามาก ๆ แต่
มีกลไกการท่างานที่ยุ่งยากกว่า
หน่วยความจาเสมือนระบบหน้า (Paging System)
ในระบบที่แบ่งบล็อกเป็นหน้า มีการทางานที่ค่อนข้างง่ายเหมาะแก่
การที่จะใช้อธิบายให้เกิด ความเข้าใจในการทางาน และเพื่อให้เข้าใจการ
ทางานของระบบปฏิบัติการในระบบหน้าง่ายยิ่งขึ้น จึงสมมติระบบหน้าขึ้นมา
ระบบหนึ่งสมมติว่าในระบบมีหน่วยความจาอยู่ 100 กิโลไบต์ แต่อาศัยระบบ
หน่วยความจาเสมือน ท่าให้ผู้ใช้สามารถรันหรือเขียนโปรแกรมที่มีขนาดโตได้
ถึง 1,000 กิโลไบต์ ดังนั้น แอดเดรส เสมือนจะเป็นเลข 6 หลัก ส่วนแอดเดรส
จริงมีเพียง 5 หลัก สมมติว่า ระบบปฏิบัติการกาหนดให้ 1 หน้าที่ขนาด 1
กิโลไบต์ ถ้าจะอ้างถึงแอดเดรสต่าง ๆ ภายในหน้า 1 หน้า จะต้องใช้เลข 3 หลัก
001
002
003
997
998
999
1 page – 1 kbyte
ในส่วนของหน่วยความจาจริง ระบบปฏิบัติการ ก็ต้องแบ่งหน่วยความจา
จริงออกเป็นหน้า และมีขนาดเท่ากับหน้าในหน่วยความจาเสมือนด้วย เช่น ถ้า
หน่วยความจาจริงมีขนาด 100 กิโลไบต์ ดังนั้นหน่วยความจาจริงจึงมีจานวนหน้า
เท่ากับ 100 หน้า คือ ตั้งแต่หน้า 00 ถึง หน้าที่ 99 โดย 2 หลักแรกของแอดเดรส
จริงบอกถึงหมายเลขหน้า และ 3 หลักหลังจะเป็นดีสเพลซเมนต์ (Displacement)
ภายในหน้า ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับในหน่วยความจาเสมือน
การทางานของระบบหน้าจะมีความต่างกันตรงขนาดของ
หน่วยความจาจริงหน่วยความจาเสมือน และขนาดของหน้าเท่านั้น กล่าวโดย
สรุป ระบบปฏิบัติการ จะทาหน้าที่
- กาหนดขนาดของหน้าที่แน่นอน
- แบ่งแอดเดรสออกเป็น 2 ส่วน คือ หมายเลขหน้า และดีสเพลซ
เมนต์
- สร้างตารางหน้าของแต่ละโปรเซส
- การแปลงแอดเดรสเสมือนเป็นแอดเดรสจริงในหน่วยความจาต้อง
ใช้ตารางหน้าช่วย
การแปลงส่งแบบสาระ (Associative Mapping)
วิธีการแปลงส่งแอดเดรส เรียกอีกอย่างว่า เป็นการแปลงส่งแบบ
ตรง (Direct Mapping) แต่ยังมีวิธีการแปลงแอดเดรสอีกวิธีหนึ่งซึ่งมี
ความเร็วสูงกว่ามาก เรียกว่าการแปลงส่งแบบสาระ (Associative
Mapping) วิธีการแปลงคือ หมายเลขหน้าจากแอดเดรสเสมือนถูกส่งเช้า
ไปตรวจสอบ ในตารางที่เรียกว่า ตารางหน้าแบบสาระ (Associative
Page Table) พร้อมกันทุกช่อง และจะได้ค่าแอดเดรสเริ่มต้นของหน้าใน
หน่วยความจาจริงที่เก็บหน้านี้เอาไว้ออกมาทันที
แอดเดรสที่ได้นี้ก็จะนาไปบวกกับดีสเพลซเมนต์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือ
แอดเดรสจริงในหน่วยความจา แต่ถ้าเกิดความผิดพลาดของหน้าระบบปฏิบัติการ
ก็ต้องทาเช่นเดียว กับวิธีการแปลงส่งแบบตรงคือ โหลดหน้านั้นมาจากดิสก์ และ
หาหน้าที่ว่างในหน่วยความจาเพื่อวางหน้าใหม่ลงไป ถ้าไม่มีหน้าว่างก็ต้องโหลด
ทับหน้าหนึ่งหน้าใดในหน่วยความจาจริง แล้วจึงค่อยทาการแปลงส่งแอดเดรส
รูปการแปลงส่งแบบสาระ
รูปการแปลงแบบผสม
ตามตารางหน้าแบบสาระมีราคาแพงมาก จึงนิยมสร้างให้มีขนาด
เล็กกว่าขนาดของตารางหน้า และใช้งานร่วมกับตารางหน้าแบบธรรมดาด้วย
การแปลงส่งแอดเดรส วิธีนี้เรียกว่าแบบผสมระหว่างแบบสาระ และแบบ
ตาราง (Combined Associative/Direct Mapping) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า
แบบผสม
ระบบการใช้หน้ารวม (Sharing Page System)
ในการทางานของระบบผู้ใช้หลายคน ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ผู้ใช้
แต่ละคนอาจจะเรียกใช้โปรแกรมเดียวกันพร้อมกันก็ได้ เช่น นาย A, B และ
C เรียกใช้โปรแกรมเอดิเตอร์ (Editor) โปรแกรมเดียวกันพร้อมกันทั้ง 3 คน
ในกรณีเช่นนี้ระบบปฏิบัติการจะต้องนาโคดโปรแกรมเอดิเตอร์ตัวเดียวกัน
นี้โหลดเข้าไปในหน่วยความจาถึง 3 ครั้ง โปรแกรมเอดิเตอร์ก็จะปรากฏอยู่
ในหน่วยความจาถึง 3 แห่ง แต่ถ้าผู้ใช้ทั้ง 3 คนสามารถใช้โคดโปรแกรม
ร่วมกันได้ เราก็จะสามารถประหยัดเนื้อที่ของหน่วยความจาไปได้มาก
เพราะโคดของโปรแกรมเอดิเตอร์จะปรากฏอยู่ในหน่วยความจา เพียงแห่ง
เดียว
ในปัจจุบันนี้การเขียนโปรแกรมนิยมให้ส่วนของโคดคาสั่งและ
ข้อมูลแยกออกจากกัน เมื่อเวลาโปรแกรมทางานส่วนที่เป็นข้อมูลจะมีการ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขตลอดเวลา แต่ส่วนที่เป็นโคดคาสั่งล้วน ๆ โดยมากแล้วจะ
ไม่มีการแก้ไขโคดคาสั่งซึ่งไม่สามารถถูกแก้ไขและเปลี่ยนแปลงได้เรียกว่า รี
เอ็นแทรนโคด(Reentrant Code) ในระบบหลายผู้ใช้ ถ้ามีโปรแกรมที่ถูกใช้
โดยผู้ใช้หลาย ๆ คน ส่วนที่เป็นรีเอ็นแทรนโคดนี้จะปรากฏอยู่ใน
หน่วยความจาได้เพียงแห่งเดียว และให้ผู้ใช้ทุกคนใช้โคดส่วนนี้ร่วมกันได้ทา
ให้ประหยัดเนื้อที่ในหน่วยความจา แต่ผู้ใช้แต่ละคนจะมีส่วนที่เป็นข้อมูลของ
ตนเอง เพราะข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนจะใช้ร่วมกันไม่ได้
หน่วยความจาเสมือนระบบเซ็กเมนฅ์(Segmentation System)
หน่วยความจาเสมือนระบบเซ็กเมนต์ มีลักษณะการทางาน
คล้ายกับระบบหน้ามาก ต่างกันที่ขนาดของบล็อกไม่จาเป็นต้องเท่ากัน
จึงทาให้มีความซับช้อนในการทางานเพิ่มขึ้น ตารางเซ็กเมนต์ (Segment
Table)ซึ่งทาหน้าที่เช่นเดียวกับตารางหน้า จะมีคอลัมน์เพิ่มขึ้นจาก
ตารางหน้าอีก 1 คอลัมน์ เป็นคอลัมน์ที่เก็บขนาดของเซ็กเมนต์เอาไว้ทั้งนี้
เพื่อให้ระบบปฏิบัติการ ทราบว่าแต่ละเซ็กเมนต์ มีขนาดเท่าใด การอ่าน
หรือเขียนข้อมูลจากหน่วยความจารองและการหาเนื้อที่ในหน่วยความจา
จริงจะกระทาตามขนาดของเซ็กเมนต์
สิ่งใดที่ระบบหน้ามีได้ ระบบเซ็กเมนต์ก็มีเช่นกัน ดังตารางข้างล่างนี้
(Page Number)
(Segment Number)
รูปตารางเซ็กเมนต์
หน่วยความจาเสมือนระบบผสมหน้าและเซ็กเมนต์
วิธีการทาหน่วยความจาเสมือนแบบผสม (Combined
Paging/Segmentation System) นี้ได้รวบรวมเอาลักษณะการทางานของ
ระบบหน้าและระบบเซ็กเมนต์เข้าด้วยกัน กล่าวคือ ระบบจะแบ่ง
หน่วยความจาออกเป็นหน้าที่มีขนาดเท่ากัน ในโปรแกรมของผู้ใช้จะถูกแบ่ง
ออกเป็นเซ็กเมนต์ ภายในเซ็กเมนต์จะถูกแบ่งออกเป็นหลาย ๆ หน้า ดังนั้น
ขนาดของเซ็กเมนต์จะเป็นจานวนเท่าของหน้า แต่ละเซ็กเมนต์ของโปรแกรม
ไม่จาเป็นต้องอยู่เรียงกันในหน่วยความจา และแต่ละหน้าภายในเซ็กเมนต์
เดียวกันก็ไม่จาเป็นต้องอยู่เรียงติดกันในหน่วยความจาจริง การผสมเอาระบบ
หน้าและเซ็กเมนต์เข้าด้วยกันทาให้ประสิทธิภาพการทางานของระบบดีขึ้น
ระบบผสมนี้แอดเดรสเสมือนจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
หมายเลขเซ็กเมนต์ หมายเลขหน้า และดีสเพลซเมนต์
รูปแอดเดรสเสมือนในระบบผสมหน้าและเซ็กเมนต์
วิธีการแปลงส่งแอดเดรสจะซับซ้อนขึ้นอีกระดับหนึ่งจากระบบ
หน้า โดยแต่ละโปรเซสจะมีตารางเซ็กเมนต์ 1 ตาราง แต่ละเซ็กเมนต์จะมี
ตารางหน้าของมันเอง ดังนั้นโปรเซสจึงมีตารางหน้าเท่ากับจานวนเซ็ก
เมนต์ของโปรเซสนั้น จานวนซ่องของตารางหน้าของเซ็กเมนต์นั้น การ
แปลงแอดเดรสทาดังนี้นาหมายเลขเซ็กเมนต์ (S) ของแอดเดรสเสมือน
ไปหาแอดเดรสของตารางหน้าที่เก็บอยู่ในตารางเซ็กเมนต์ เมื่อทราบว่า
ตารางหน้าอยู่ที่ใดในหน่วยความจาแล้วใช้หมายเลขหน้า P เพื่อหาค่า
แอดเดรสของหน้า P ในหน่วยความจา นาค่าแอดเดรสนี้บวกกับดีสเพลซ
เมนต์ก็จะได้แอดเดรสจริงในหน่วยความจา
S
รูปการแปลงแอดเดรสในหน่วยความจาเสมือนระบบผสมหน้าและเซ็ก
เมนต์
1. แบบสุ่ม (Random) เลือกโดยการสุ่มเดา ทุกหน้ามีโอกาสถูก
เลือกเท่ากันหมด
2. FIFO (First In First Out) หน้าใดที่ถูกโหลดเข้ามาใน
หน่วยความจาก่อนก็จะถูกเลือกออกไปก่อนเรียงตามลาดับเวลา
3. NFU (Not Frequently Used) เลือกหน้าที่ถูกใช้น้อยครั้งที่สุด
ทั้งนี้เพราะหน้าที่ถูกใช้น้อย โอกาสที่ถูกใช้ในเวลาต่อมาก็จะน้อยด้วย ดังนั้น
จึงควรเอาออกจากหน่วยความจาแต่วิธีนี้อาจจะทาให้หน้าที่พึ่งถูกโหลดเข้า
มาถูกเลือกออกไปได้ เพราะหน้าที่พึ่งถูกโหลดเข้ามาอยู่ใหม่จานวนการใช้
ย่อมน้อยกว่าหน้าซึ่งอยู่มานานแล้ว
อัลกอริทึมการแทนที่
เมื่อเกิด Page Fault ของหน้าในระบบหน้า และในหน่วยความจาไม่
มีหน้าใดว่างอยู่เลย ก่อนที่ ระบบปฏิบัติการจะโหลดเอาหน้าใหม่เช้ามาใน
หน่วยความจานั้น ระบบปฏิบัติการ ต้องตัดสินใจก่อน ว่าควรจะเลือกหน้าใด
เพื่อที่จะวางหน้าใหม่ทับลงไป สิ่งที่ระบบปฏิบัติการใช้ในการตัดสินใจเลือก
หน้าเรียกว่า อัลกอริทึมการแทนที่ (Replacement Strategy) ซึ่งมีอยู่ 5 วิธี
ด้วยกัน คือ
4. LRU (Least Recently Used) แต่ละหน้าจะมีการบันทึกเวลา
ในการใช้ครั้งหลังสุดไว้ หน้าใดที่ไม่ได้ถูกใช้มานานมากที่สุดจะถูกเลือกวิธีนี้
จะเป็นผลเสียต่อโปรแกรมที่มีการทางานแบบ วนรอบ (Loop) และวนรอบมี
ขนาดใหญ่มาก ๆ (หลาย ๆ หน้า)
5. NUR(Not Used Recently) แต่ละหน้าจะมีบิตกากับอยู่ 2
บิตคือ บิตอ้างอิง (Referent Bit) และบิตแก้ไข (Modify Bit) เมื่อหน้าถูก
โหลดเข้าไปในหน่วยความจา 2 บิตนี้จะเป็น 0 เมื่อ ใดที่มีการอ้างถึงหน้าใด
บิตอ้างอิงของหน้านั้นจะเป็น 1 และเมื่อหน้านั้นถูกแก้ไขอะไรบางอย่าง
ภายในหน้าบิตแก้ไขจะเป็น 1 ทุกๆช่วงเวลาหนึ่ง เช่น 10 มิลลิวินาทีบิต
อ้างอิงของทุก ๆ หน้าจะถูกเปลี่ยนเป็น 0 หมด
ดังนั้นจาก 2 บิตนี้เราจะแบ่งประเภทของหน้าออกเป็น 4 ประเภทคือ
1.ไม่มีการอ้างถึง ไม่มีการแก้ไข
2.ไม่มีการอ้างถึง มีการแก้ไข
3. มีการอ้างถึง ไม่มีการแก้ไข
4.มีการอ้างถึง มีการแก้ไข
การเลือกหน้าในระบบหน้าใช้อัลกอริทึมการแทนที่เพียงอย่างเดียว
แต่สาหรับในระบบ เซ็กเมนต์ต้องคานึงถึงอัลกอริทึมการวางด้วย Best Fit,
First Fit, Worst Fit เพื่อให้เกิดที่ว่างใน หน่วยความจาเหมาะสมที่สุด ทั้งนี้
เพราะแต่ละเซ็กเมนต์มีขนาดไม่เท่ากัน
อัลกอริทึมการเฟตซ์
อัลกอริทึมการเฟตซ์ (Fetch Strategy) หมายถึง
วิธีการโหลดหน้า หรือเซ็กเมนต์จากดิสก์เข้าไปใน
หน่วยความจา แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี
1. การเฟตซ์แบบต้องการ (Demand Fetch) วิธีนี้
ระบบปฏิบัติการ จะโหลดเฉพาะหน้าหรือ เซ็กเมนต์ที่ต้องการ
ใช้เท่านั้นเข้าไปในหน่วยความจา
2. การเฟตซ์แบบคาดเดา (Anticipate Fetch)
ระบบปฏิบัติการจะมีการคาดเดาว่าหน้า หรือ เซ็กเมนต์ไหนจะ
ถูกใช้เป็นหน้าหรือเซ็กเมนต์ต่อไป และจะโหลดหน้าหรือเซ็ก
เมนต์นั้นเข้าไปไว้หน่วยความจาล่วงหน้า (ก่อนเกิดการใช้จริง ๆ)
ซึ่งทาให้โปรแกรมทางานได้เร็วขึ้น (ไม่เสียเวลารอ ขณะเกิดความ
ผิดพลาดของหน้า) แต่ระบบต้องมีการทางานเพิ่มขึ้นและบางครั้ง
เกิดการคาดเดาที่ ผิดพลาดด้วยทาให้หน้าหรือเซ็กเมนต์ที่ถูก
โหลดเข้าไปล่วงหน้าไม่ได้ถูกใช้งาน
ลาดับชั้นของหน่วยความจา
ระบบหน่วยความจาเสมือน สามารถทาให้ผู้เข้าใช้
หน่วยความจาขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจา จริงได้ ก็เพราะ
อาศัยการเก็บข้อมูล (หรือโปรแกรม) ไว้ในหน่วยความจารอง
ลักษณะการเคลื่อนย้ายข้อมูลจะมีการส่งไปมาระหว่าง
หน่วยความจารอง กับหน่วยความจาหลัก ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า
หน่วยความจา 2 ระดับ หมายถึงว่าข้อมูลมีการขนย้ายจาก
หน่วยความจาประเภทหนึ่งไปยังหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่ง
ระดับ 1 ระดับ 2
รูปหน่วยความจา 2 ระดับ
เราอาจมีหน่วยความจาได้หลายระดับ หน่วยความจาระดับต่า
จะมีคุณสมบัติที่ตรงกันข้ามกับ หน่วยความจาในระดับสูงกว่า คือ หน่าย
ความจาในระดับที่ต่าลงจะมีราคาแพงขึ้น ความเร็วในการเข้าถึงสูงขึ้น
ความจุต่าลง แต่หน่วยความจาในระดับสูงขึ้นจะมีราคาถูกกว่า ความเร็ว
ในการเข้าถึงต่าลง ความจุสูงขึ้น
รูประบบหน่วยความจา 3 ระดับ โดยใช้ Cache

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nuttyling
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุAmIndy Thirawut
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 

What's hot (10)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 

Similar to B7

ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่mas15540
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่mas15540
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1ninewnilubon
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 

Similar to B7 (20)

Ch9 2003
Ch9 2003Ch9 2003
Ch9 2003
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่
 
ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่ระบบปฏิบัติการใหม่
ระบบปฏิบัติการใหม่
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
B3
B3B3
B3
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 

More from Nu Mai Praphatson

การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลNu Mai Praphatson
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสNu Mai Praphatson
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสNu Mai Praphatson
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Nu Mai Praphatson
 

More from Nu Mai Praphatson (12)

การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
 
B7
B7B7
B7
 
B6
B6B6
B6
 
B5
B5B5
B5
 
B4
B4B4
B4
 
B2
B2B2
B2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
B1
B1B1
B1
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

B7