SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
จัดทำโดย นางสาวนิตยา ทาแจ่ม ปวส .1 เลขที่  3 แผนกวิชาโลจิสติกส์ เรื่อง ระบบหายใจ
ระบบหายใจ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กระบวนการในการหายใจ   ในการหายใจนั้นมีโครงกระดูกส่วนอกและ กล้ามเนื้อบริเวณอกเป็นตัวช่วยขณะหายใจเข้า กล้าม เนื้อหลายมัดหดตัวทำให้ทรวงอกขยายออกไปข้างหน้า และยกขึ้นบน ในเวลาเดียวกันกะบังลมจะลดต่ำลง การกระทำทั้งสองอย่างนี้ทำให้โพรงของทรวงอกขยาย ใหญ่มากขึ้น เมื่อกล้ามเนื้อหยุดทำงานและหย่อนตัวลง ทรวงอกยุบลงและความดันในช่องท้องจะดันกะบังลม กลับขึ้นมาอยู่ในลักษณะเดิม กระบวนการเข่นนี้ทำให้ ความดันในปอดเพิ่มขึ้น เมื่อความดันในปอดเพิ่มขึ้นสูง กว่าความดันของบรรยากาศ อากาศจะถูกดันออกจาก ปอด ฉะนั้นจึงสรุปได้ว่า ปัจจัยประการแรกที่ทำให้ อากาศมีการเคลื่อนไหวเข้าออกจากปอดได้นั้น เกิด จากความดันที่แตกต่างกันนั่นเอง
การแลกเปลี่ยนก๊าซและการใช้ออกซิเจน        เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่อวัยวะ ของระบบหายใจไปยังถุงลมในปอด ที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือดแดงฝอยติดอยู่ ดังนั้นอากาศจึงมีโอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงมากออกชิเจนก็จะผ่านผนังนี้เข้าสู่เม็ดเลือดแดง และคาร์บอนไดออกไชด์ก็จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมาสู่ถุงลม ปกติในอากาศมีออกชิเจนร้อยละ  20  แต่อากาศที่เราหายใจมีออกซิเจนร้อยละ  13
โรคไซนัส  Sinusitis ,[object Object]
สาเหตุ เชื้อที่เป็นสาเหตุ ที่พบบ่อย ได้แก่ บีตาสเตรปโตค็อกคัส ,  สแตฟฟีโลค็อกคัส   นิวโมค็อกคัส ,  ฮีโมฟิลุสอินฟลูเอนซา นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการลุกลามของเชื้อโรค จากบริเวณรากฟันที่เป็นหนองเข้าไปในโพรงไซนัสโดยตรงก็ได้ ไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย มักพบเป็นโรคแทรกซ้อนของไข้หวัด ,  หวัดจากการแพ้ ,  เยื่อจมูกอักเสบ ,  เนื้องอกในรูจมูก ,  ผนังกั้นจมูกคด ,  รากฟันเป็นหนอง
อาการ ปวดมึน ๆ หนัก ๆ ตรงบริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้มหรือรอบๆ กระบอกตา บางคนอาจรู้สึกคล้ายปวดฟัน บริเวณขากรรไกรบน อาการปวดอาจเป็นมากในเวลาเช้าหรือบ่าย เวลาก้มศีรษะหรือเปลี่ยนท่า ผู้ป่วยจะมีอาการคัดจมูก พูดเสียงขึ้นจมูก มีน้ำมูกข้นเหลืองหรือเขียว เจ็บคอ มีเสลดเหลืองหรือเขียวในลำคอ และอาจหายใจมีกลิ่นเหม็น ในรายที่เป็นไซนัสอักเสบเฉียบพลัน มักมีไข้ร่วมด้วย
สิ่งตรวจพบ เยื่อจมูกบวมแดง คอแดงเล็กน้อย ที่สำคัญจะพบว่า ถ้าเคาะหรือกดแรง ๆ ตรงบริเวณหัวตา หน้าผาก   หรือใต้ตาจะรู้สึกเจ็บ อาจมีไข้   ( ในรายที่เป็นเฉียบพลัน ) อาการแทรกซ้อน อาจทำให้เป็นหูชั้นกลางอักเสบ   ,  หลอดลมอักเสบ  ,  ปอดอักเสบ  ,  ฝีรอบกระบอกตา  ( Periorbitalabscess),  เยื่อกระดูกอักเสบ  ( Osteomyelitis)  ภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงแต่พบได้น้อย ได้แก่ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ  ฝีในสมอง
การรักษา 1.  ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวดลดไข้  ,  ยาแก้คัดจมูก อาจช่วยลดการบวมของเนื้อเยื่อที่อักเสบ ซึ่งจะช่วยถ่ายเทหนอง ส่วนยาแก้แพ้    ไม่ควรให้ อาจทำให้น้ำเมือกในโพรงไซนัสเหนียว ถ่ายเทออกได้ไม่ดี ยกเว้นในรายที่มีอาการของภูมิแพ้มาก เช่น จาม มีน้ำมูกมาก อาจให้เพียง  2-3  วัน เพื่อบรรเทาอาการ 2.  ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น อะม็อกซีซิลลิน   ,  อีริโทรไมซิน     หรือ โคไตรม็อกซาโซล     ปกติอาการจะทุเลาหลังกินยา  2-3  วัน ควรให้กินติดต่อกันนาน  10-14  วันในรายที่เป็นเรื้อรัง ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรให้ยาปฏิชีวนะนาน  3-4  สัปดาห์ถ้าอาการไม่ดีขึ้น หรือกำเริบบ่อย ควรส่งโรงพยาบาล เพื่อตรวจเอกซเรย์ไซนัส ถ้ามีหนองขังอยู่ อาจต้องทำการเจาะล้างโพรงจมูก ในรายที่เป็นมาก อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
ข้อแนะนำ 1.  ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรงดว่ายน้ำ ดำน้ำ ขึ้นเครื่องบิน ประมาณ  2  สัปดาห์ 2.  โรคนี้มักเป็นเรื้อรัง แต่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือแก้ไขสาเหตุ เช่น ผนังกั้นจมูกคด 3.  ไม่ควรรักษากันเองตามแบบพื้นบ้าน เช่น ใช้สารกรดบางอย่าง หยอดเข้าจมูก ( ทำให้มีน้ำมูกไหลออกมามาก เพราะเกิดการระคายเคืองต่อเยื่อจมูก )  อาจทำให้เกิดการอักเสบ และจมูกพิการได้ 4.  ระวังอย่าให้เป็นหวัดบ่อย ๆ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้คัดจมูกหรือจาม  ( เช่น ฝุ่น อากาศเย็น ขนสัตว์ ) และหมั่นออกกำลังกายเป็นประจำ
โรคหอบหืด  ( ASTHMA ) ,[object Object]
อาการ เมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นหลอดลมจะเกิดอาการอักเสบ    เยื่อบุหลอดลมจะบวมทำให้หลอดลมตีบแคบลง     ขณะเดียวกันการอักเสบทำให้หลอดลมมีความไวต่อการกระตุ้นและตอบสนองโดยการหดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม    ทำให้หลอดลมตีบแคบลงไปอีก   นอกจากนี้หลอดลมที่อักเสบจะมีการหลั่งเมือกออกมามาก    ทำให้ท่อทางเดินหายใจตีบแคบ    นอกจากนี้กล้ามเนื้อท่อทางเดินหายใจยังเกิด การหดตัว      ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดอาการ หายใจลำบาก ไอ    หายใจมีเสียงหวีด    หายใจถี่    และรู้สึกแน่นหน้าอก       ในรายที่มีอาการรุนแรง อาจพบริมฝีปากและเล็บมีสีเขียวคล้ำ  
สาเหตุ  -  หลอดลมของผู้เป็นโรคหอบหืดมีความไวผิดปกติต่อสิ่งกระตุ้น  ( STIMULI )  สิ่งกระตุ้นส่งเสริมให้เกิดอาการหอบหืดได้แก่ -  สารก่อภูมิแพ้  เช่น ฝุ่น  ,  ไรฝุ่น  ,  ขนสัตว์  ,  ละอองเกสร -  สารระคายเคือง เช่น ควันบุหรี่  ,  มลพิษในอากาศ  ,  กลิ่น  ,  ควัน -  การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เช่น ความเครียด  ,  ความโกรธ  ,  ความกลัว  ,  ความดีใจ -  การออกกำลังกาย -  การเปลี่ยนแปลงของอากาศ -  การติดเชื้อไวรัสของระบบทางเดินหายใจ -  ยา  เช่น ยาแอสไพริน  ,  ยาลดความดันบางกลุ่ม -  อาหาร  เช่น อาหารทะเล  ,  ถั่ว  ,  ไข่  ,  นม  ,  ปลา  ,  สารผสมในอาหาร เป็นต้น
คำแนะนำ   1 .  เด็กควรกินปลาที่มีไขมันมากเป็นประจำ  เช่น ปลาค็อด จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นหอบหืด 2 .  รับประทานอาหารที่มี แมกนีเซียมสูง ได้แก่ เมล็ดทานตะวัน 3 .  ค้นหาว่าแพ้อะไร และพยายามหลีกเลี่ยง 4 .  งดอาหารที่กระตุ้นอาการหอบหืด ขึ้นอยู่กับแต่ละคน เช่น อาหารที่ใส่สารกันบูดเช่น เบนโซเอท ซัลไฟท์ 5 .  งดอาหารที่ใส่สีสังเคราะห์  เช่น  tartrazine , brilliant blue 6 .  งดนมวัว  ธัญพืช  ไข่  ปลา  ถั่วลิสง 7 .  รับประทานยาและออกกำลังกายตามที่แพทย์แนะนำอย่างสม่ำเสมอ
จบแล้วค่า บ้าย  บ่าย ...

More Related Content

What's hot

งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดWan Ngamwongwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ202333
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 

What's hot (9)

งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืด
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
 
10_yearbook_eng
10_yearbook_eng10_yearbook_eng
10_yearbook_eng
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Similar to เรื่อง ระบบหายใจ

ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3Wan Ngamwongwan
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1Cat Capturer
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572CUPress
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 

Similar to เรื่อง ระบบหายใจ (20)

ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1
 
หู
หูหู
หู
 
Sinusitis
SinusitisSinusitis
Sinusitis
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 

More from boonyarat thungprasert

เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมเล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมboonyarat thungprasert
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียboonyarat thungprasert
 
อบรม Social media for education
อบรม Social media for educationอบรม Social media for education
อบรม Social media for educationboonyarat thungprasert
 
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐบุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐboonyarat thungprasert
 

More from boonyarat thungprasert (7)

C programming
C programmingC programming
C programming
 
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมเล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
 
อบรม Social media for education
อบรม Social media for educationอบรม Social media for education
อบรม Social media for education
 
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐบุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
 
COMPUTER NETWORK
COMPUTER NETWORKCOMPUTER NETWORK
COMPUTER NETWORK
 
Networking
NetworkingNetworking
Networking
 

เรื่อง ระบบหายใจ

  • 1. จัดทำโดย นางสาวนิตยา ทาแจ่ม ปวส .1 เลขที่ 3 แผนกวิชาโลจิสติกส์ เรื่อง ระบบหายใจ
  • 2.
  • 3. กระบวนการในการหายใจ ในการหายใจนั้นมีโครงกระดูกส่วนอกและ กล้ามเนื้อบริเวณอกเป็นตัวช่วยขณะหายใจเข้า กล้าม เนื้อหลายมัดหดตัวทำให้ทรวงอกขยายออกไปข้างหน้า และยกขึ้นบน ในเวลาเดียวกันกะบังลมจะลดต่ำลง การกระทำทั้งสองอย่างนี้ทำให้โพรงของทรวงอกขยาย ใหญ่มากขึ้น เมื่อกล้ามเนื้อหยุดทำงานและหย่อนตัวลง ทรวงอกยุบลงและความดันในช่องท้องจะดันกะบังลม กลับขึ้นมาอยู่ในลักษณะเดิม กระบวนการเข่นนี้ทำให้ ความดันในปอดเพิ่มขึ้น เมื่อความดันในปอดเพิ่มขึ้นสูง กว่าความดันของบรรยากาศ อากาศจะถูกดันออกจาก ปอด ฉะนั้นจึงสรุปได้ว่า ปัจจัยประการแรกที่ทำให้ อากาศมีการเคลื่อนไหวเข้าออกจากปอดได้นั้น เกิด จากความดันที่แตกต่างกันนั่นเอง
  • 4. การแลกเปลี่ยนก๊าซและการใช้ออกซิเจน        เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่อวัยวะ ของระบบหายใจไปยังถุงลมในปอด ที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือดแดงฝอยติดอยู่ ดังนั้นอากาศจึงมีโอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงมากออกชิเจนก็จะผ่านผนังนี้เข้าสู่เม็ดเลือดแดง และคาร์บอนไดออกไชด์ก็จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมาสู่ถุงลม ปกติในอากาศมีออกชิเจนร้อยละ 20 แต่อากาศที่เราหายใจมีออกซิเจนร้อยละ 13
  • 5.
  • 6. สาเหตุ เชื้อที่เป็นสาเหตุ ที่พบบ่อย ได้แก่ บีตาสเตรปโตค็อกคัส , สแตฟฟีโลค็อกคัส นิวโมค็อกคัส , ฮีโมฟิลุสอินฟลูเอนซา นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการลุกลามของเชื้อโรค จากบริเวณรากฟันที่เป็นหนองเข้าไปในโพรงไซนัสโดยตรงก็ได้ ไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย มักพบเป็นโรคแทรกซ้อนของไข้หวัด , หวัดจากการแพ้ , เยื่อจมูกอักเสบ , เนื้องอกในรูจมูก , ผนังกั้นจมูกคด , รากฟันเป็นหนอง
  • 7. อาการ ปวดมึน ๆ หนัก ๆ ตรงบริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้มหรือรอบๆ กระบอกตา บางคนอาจรู้สึกคล้ายปวดฟัน บริเวณขากรรไกรบน อาการปวดอาจเป็นมากในเวลาเช้าหรือบ่าย เวลาก้มศีรษะหรือเปลี่ยนท่า ผู้ป่วยจะมีอาการคัดจมูก พูดเสียงขึ้นจมูก มีน้ำมูกข้นเหลืองหรือเขียว เจ็บคอ มีเสลดเหลืองหรือเขียวในลำคอ และอาจหายใจมีกลิ่นเหม็น ในรายที่เป็นไซนัสอักเสบเฉียบพลัน มักมีไข้ร่วมด้วย
  • 8. สิ่งตรวจพบ เยื่อจมูกบวมแดง คอแดงเล็กน้อย ที่สำคัญจะพบว่า ถ้าเคาะหรือกดแรง ๆ ตรงบริเวณหัวตา หน้าผาก หรือใต้ตาจะรู้สึกเจ็บ อาจมีไข้ ( ในรายที่เป็นเฉียบพลัน ) อาการแทรกซ้อน อาจทำให้เป็นหูชั้นกลางอักเสบ , หลอดลมอักเสบ , ปอดอักเสบ , ฝีรอบกระบอกตา ( Periorbitalabscess), เยื่อกระดูกอักเสบ ( Osteomyelitis) ภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงแต่พบได้น้อย ได้แก่ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ฝีในสมอง
  • 9. การรักษา 1. ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวดลดไข้ , ยาแก้คัดจมูก อาจช่วยลดการบวมของเนื้อเยื่อที่อักเสบ ซึ่งจะช่วยถ่ายเทหนอง ส่วนยาแก้แพ้   ไม่ควรให้ อาจทำให้น้ำเมือกในโพรงไซนัสเหนียว ถ่ายเทออกได้ไม่ดี ยกเว้นในรายที่มีอาการของภูมิแพ้มาก เช่น จาม มีน้ำมูกมาก อาจให้เพียง 2-3 วัน เพื่อบรรเทาอาการ 2. ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น อะม็อกซีซิลลิน , อีริโทรไมซิน   หรือ โคไตรม็อกซาโซล   ปกติอาการจะทุเลาหลังกินยา 2-3 วัน ควรให้กินติดต่อกันนาน 10-14 วันในรายที่เป็นเรื้อรัง ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรให้ยาปฏิชีวนะนาน 3-4 สัปดาห์ถ้าอาการไม่ดีขึ้น หรือกำเริบบ่อย ควรส่งโรงพยาบาล เพื่อตรวจเอกซเรย์ไซนัส ถ้ามีหนองขังอยู่ อาจต้องทำการเจาะล้างโพรงจมูก ในรายที่เป็นมาก อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
  • 10. ข้อแนะนำ 1. ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรงดว่ายน้ำ ดำน้ำ ขึ้นเครื่องบิน ประมาณ 2 สัปดาห์ 2. โรคนี้มักเป็นเรื้อรัง แต่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือแก้ไขสาเหตุ เช่น ผนังกั้นจมูกคด 3. ไม่ควรรักษากันเองตามแบบพื้นบ้าน เช่น ใช้สารกรดบางอย่าง หยอดเข้าจมูก ( ทำให้มีน้ำมูกไหลออกมามาก เพราะเกิดการระคายเคืองต่อเยื่อจมูก ) อาจทำให้เกิดการอักเสบ และจมูกพิการได้ 4. ระวังอย่าให้เป็นหวัดบ่อย ๆ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้คัดจมูกหรือจาม ( เช่น ฝุ่น อากาศเย็น ขนสัตว์ ) และหมั่นออกกำลังกายเป็นประจำ
  • 11.
  • 12. อาการ เมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นหลอดลมจะเกิดอาการอักเสบ   เยื่อบุหลอดลมจะบวมทำให้หลอดลมตีบแคบลง    ขณะเดียวกันการอักเสบทำให้หลอดลมมีความไวต่อการกระตุ้นและตอบสนองโดยการหดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม   ทำให้หลอดลมตีบแคบลงไปอีก   นอกจากนี้หลอดลมที่อักเสบจะมีการหลั่งเมือกออกมามาก   ทำให้ท่อทางเดินหายใจตีบแคบ   นอกจากนี้กล้ามเนื้อท่อทางเดินหายใจยังเกิด การหดตัว     ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดอาการ หายใจลำบาก ไอ   หายใจมีเสียงหวีด   หายใจถี่   และรู้สึกแน่นหน้าอก      ในรายที่มีอาการรุนแรง อาจพบริมฝีปากและเล็บมีสีเขียวคล้ำ  
  • 13. สาเหตุ - หลอดลมของผู้เป็นโรคหอบหืดมีความไวผิดปกติต่อสิ่งกระตุ้น ( STIMULI ) สิ่งกระตุ้นส่งเสริมให้เกิดอาการหอบหืดได้แก่ - สารก่อภูมิแพ้ เช่น ฝุ่น , ไรฝุ่น , ขนสัตว์ , ละอองเกสร - สารระคายเคือง เช่น ควันบุหรี่ , มลพิษในอากาศ , กลิ่น , ควัน - การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เช่น ความเครียด , ความโกรธ , ความกลัว , ความดีใจ - การออกกำลังกาย - การเปลี่ยนแปลงของอากาศ - การติดเชื้อไวรัสของระบบทางเดินหายใจ - ยา เช่น ยาแอสไพริน , ยาลดความดันบางกลุ่ม - อาหาร เช่น อาหารทะเล , ถั่ว , ไข่ , นม , ปลา , สารผสมในอาหาร เป็นต้น
  • 14. คำแนะนำ 1 . เด็กควรกินปลาที่มีไขมันมากเป็นประจำ เช่น ปลาค็อด จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นหอบหืด 2 . รับประทานอาหารที่มี แมกนีเซียมสูง ได้แก่ เมล็ดทานตะวัน 3 . ค้นหาว่าแพ้อะไร และพยายามหลีกเลี่ยง 4 . งดอาหารที่กระตุ้นอาการหอบหืด ขึ้นอยู่กับแต่ละคน เช่น อาหารที่ใส่สารกันบูดเช่น เบนโซเอท ซัลไฟท์ 5 . งดอาหารที่ใส่สีสังเคราะห์ เช่น tartrazine , brilliant blue 6 . งดนมวัว ธัญพืช ไข่ ปลา ถั่วลิสง 7 . รับประทานยาและออกกำลังกายตามที่แพทย์แนะนำอย่างสม่ำเสมอ