SlideShare a Scribd company logo
1 of 170
การเตรียมความพร้อมพยาบาล
เพื่อเข้าสู่การปฏิรูปการจ่าย
ค่าตอบแทน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
ความสาคัญและแนวคิด
• ผลกระทบที่เกิดจากระบบการจ่ายค่าตอบแทนที่ไม่
สะท้อนภาระงานที่แท้จริง
–ความไม่เป็นธรรมในการจ่ายค่าตอบแทนในแต่ละ
วิชาชีพ
–การเรียกร้องค่าตอบแทนที่เพิ่มขึ้น
–ภาระค่าตอบแทนที่ไม่สะท้อนภาระงานที่แท้จริง
–งบประมาณที่มีจากัด
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 2
• มีหน่วยงานที่ทาแล้วประสบความสาเร็จ โดย
งบประมาณอยู่รอดและไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนสูง
กว่าที่อื่น
–โรงพยาบาล พาน จังหวัดเชียงราย
• มีการฟ้องร้องเกิดขึ้นจากความขาดจิตสานึกของคน
ให้บริการ
• การแข่งขันด้านความต้องการบุคคลากรที่มากขึ้น
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 4
การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข
ทดสอบตัวเลข.xlsx
การบริหารค่าตอบแทน
 Merit-based payment
 Performance-based payment
 Competency-based payment
- Basic salary / Top-up payment
การบริหารค่าตอบแทน
(Compensation management)
 เงินเดือนหรือค่าตอบแทนเป็นตามกระบอกเงินเดือนหรือเงิน
ประจาตาแหน่ง มักใช้วุฒิการศึกษาเป็นตัวกาหนด
 ตาแหน่งที่มีวุฒิเดียวกัน มักได้ค่าตอบแทน(เช่น ค่า OT หรือค่า
เวร) ที่เท่ากันแม้จะมีความรับผิดชอบหรือภาระงานไม่เท่ากัน
 มักเป็นที่ยอมรับ เพราะไม่เกิดการเปรียบเทียบ
 ไม่ยุติธรรม ไม่เอื้ออานวยให้เกิดการพัฒนาบุคคล ไม่ส่งเสริมให้
เกิดระบบการบริหารบุคลากรที่เหมาะสม
Merit-based payment
 ค่าตอบแทนแปรตามลักษณะงานและภาระงาน (ไม่ใช่วุฒิ
การศึกษา)
 ส่งเสริมให้เกิดการบรรจุบุคลากรเข้าปฏิบัติงานในหน่วยงาน/
องค์กรที่เหมาะสม โดยมีการยอมรับ
 แม้ส่งผลให้องค์กรมีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น แต่
ผลสัมฤทธิ์ของงานจะดีขึ้นอย่างมาก
 เอื้ออานวยต่อการบริหารองค์กรแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result-
based management)
Performance-based payment
ระบบบริหารค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน
Performance-Base Pay
1) จานวนผลผลิตต้องมากกว่าจานวนมาตรฐานที่กาหนดไว้ในระบบ
ค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงานต้องมีการกาหนดมาตรฐานเวลา ผลผลิตขั้นต่า
เอาไว้เมื่อทางานได้เกินมาตรฐานขั้นต่าจึงจะมีสิทธิได้รับค่าตอบแทน
2) การทางานนั้นต้องใช้ความพยายามหรือความตั้งใจมากกว่าธรรมดา ต้องมี
ความขยัน และตั้งใจในการปรับปรุง หรือเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น
3) ต้องมีการกาหนดมาตรฐานของเวลา มาตรฐานของงาน ตลอดจนวิธีวัดผล
งานที่จะใช้ในระบบค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน ต้องมีการทาข้อตกลง
ก่อนนาไปใช้
หลักการ
 ภาระงานเพิ่ม
 ผลงานเพิ่ม
 คุณภาพงานเพิ่ม
 ความชานาญ ึงระดับ
กรอบแนวคิดการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการป ิบัติงาน
ผลการป ิบัติงานตามเกณ ์ขั้นต่า
าตอบ ทน น าน
ผลการป ิบัติงานเกิน
เกณ ์ขั้นต่า
าตอบ ทน ัน ปร
ลลั ์ขอ าน
บรรลเปา มา
อ ์กร
าตอบ ทนเสริม
ลปร น์เกอกล
นด นเก มาทา าน
การเพิ่มค่าตอบแทน
• จัดแบ่งค่าตอบแทนออกเป็น 2 ส่วนหลัก
– การให้ค่าตอบแทนตามค่างาน (Job Evaluation)
– การให้ค่าตอบแทนตามปริมาณภาระงาน
การให้ค่าตอบแทนตามค่างาน (Job Evaluation)
นาหลักการประเมินค่างานมาใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณา
เพื่อจ่ายค่าตอบแทนตามค่างาน
การประเมินค่างาน (Job evaluation)
วิธีการดาเนินการอย่างเป็นระบบเพื่อที่จะช่วยให้สามารถ
กาหนดค่าของงานเปรียบเทียบกันได้ภายในองค์การ ปัจจุบัน
วิธีการประเมินค่างานที่เป็นที่รู้จักและนิยมใช้มาก แบ่งออกได้
เป็น 5 วิธี
การประเมินค่างาน (Job evaluation) (ต่อ)
1. การจัดลาดับ (Ranking)
2. การจัดชั้นงานหรือการจาแนกตาแหน่งงาน (Job Classification)
3. วิธีการให้แต้มหรือค่าคะแนน (Point Method)
4. การเปรียบเทียบปัจจัย (Factor Comparison)
5. วิธีการใช้ชุดผังประเมินที่จัดทาขึ้น (Guide Chart-profile
method)
การให้ค่าตอบแทนตามค่างาน (Job Evaluation)
ปัจจัยที่นามาใช้ในการประเมินค่างานมีองค์ประกอบ
2 ด้านหลัก รวม 8 ข้อย่อย ดังนี้
1. ด้านประสบการณ์
2. ด้านความรับผิดชอบ
การประเมินค่างาน (Job evaluation)
Modified Hay-Guided Chart
– ระดับความรู้ทางวิชาการ
– การจัดการ
– มนุษยสัมพันธ์
– สภาพการปฏิบัติงาน
ด้านประสบการณ์
 ด้านความรับผิดชอบ
 ระดับความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จ
 ความยาก-ง่ายในการปฏิบัติงานให้สาเร็จ
 การมีส่วนร่วมให้งานสาเร็จ
 ลักษณะตาแหน่ง
 ระดับความรู้ทางวิชาการ แบ่งเป็น 8 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 1 พื้นฐาน – ระดับต้น
 ระดับที่ 2 พื้นฐาน – ระดับสูง
 ระดับที่ 3 เทคนิค – ระดับต้น
 ระดับที่ 4 เทคนิค – ระดับสูง
 ระดับที่ 5 วิชาชีพเฉพาะด้าน – ระดับต้น
 ระดับที่ 6 วิชาชีพเฉพาะด้าน – ระดับสูง
 ระดับที่ 7 เชี่ยวชาญ – ระดับต้น
 ระดับที่ 8 เชี่ยวชาญ - ระดับสูง
ด้านประสบการณ์
 การจัดการ แบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้
 ลักษณะที่ 1 งานเดี่ยว
 ลักษณะที่ 2 งานผสม
 ลักษณะที่ 3 งานควบ
 ลักษณะที่ 4 งานรวม
 มนุษยสัมพันธ์ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 1 ขั้นพื้นฐาน
 ระดับที่ 2 ระดับกลาง
 ระดับที่ 3 ระดับสูง
ด้านประสบการณ์(ต่อ)
 สภาพการปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 1 สภาพแวดล้อมปกติ
 ระดับที่ 2 งานที่เสี่ยงอันตราย
 ระดับที่ 3 งานที่เสี่ยงอันตรายสูง
ด้านประสบการณ์(ต่อ)
 ความรับผิดชอบต่อความสาเร็จ แบ่งเป็น 9 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 0 งานปฏิบัติการเบื้องต้น
 ระดับที่ 1 งานปฏิบัติการระดับกลาง
 ระดับที่ 2 งานปฏิบัติการระดับสูง
 ระดับที่ 3 งานช่วยบังคับบัญชา / เทียบเท่า
 ระดับที่ 4 งานบังคับบัญชาระดับต้น / เทียบเท่า
 ระดับที่ 5 งานบังคับบัญชาระดับกลาง / เทียบเท่า
 ระดับที่ 6 งานบังคับบัญชาระดับสูง / เทียบเท่า
 ระดับที่ 7 งานบริหารหรืองานนโยบายระดับต้น
 ระดับที่ 8 งานบริหารหรืองานนโยบายระดับสูง
ด้านความรับผิดชอบ
 ความยาก-ง่ายในการปฏิบัติงานให้สาเร็จ แบ่งเป็น 6 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 1 ลักษณะของงานที่มีแนวทาง คาชี้แจง คาแนะนา
และคู่มือที่แน่ชัด
 ระดับที่ 2 ลักษณะของงานที่มีแนวทาง คาชี้แจง คาแนะนา
และคู่มือที่ชัดเจน แต่อาจต้องอาศัยวิจารณญาณของตนเอง
ประกอบการดาเนินงาน
 ระดับที่ 3 ลักษณะของงานที่มีแนวทาง คาชี้แจง คาแนะนา
และคู่มือที่ไม่ชัดเจน ต้องปรับวิธีการและแผนงานให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
ด้านความรับผิดชอบ(ต่อ)
 ระดับที่ 4 ลักษณะของงานที่มีแนวทางปฏิบัติไม่ชัดเจน ต้อง
อาศัยนโยบายขององค์กร กฎระเบียบต่างๆ ต้องนาหลัก
ตรรกวิทยา หรือแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้ศึกษาข้อมูลและ
ตัดสินใจ
 ระดับที่ 5 ลักษณะของงานที่มีแนวทางปฏิบัติไม่ชัดเจน ต้อง
อาศัยนโยบายขององค์กร กฎระเบียบต่างๆ ต้องนาหลัก
ตรรกวิทยาหรือแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้ศึกษาข้อมูลและ
ตัดสินใจในเรื่องที่มีความซับซ้อน
 ระดับที่ 6 ลักษณะของงานที่ต้องประยุกต์หลักตรรกวิทยาหรือ
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์และประสบการณ์มาใช้ศึกษาข้อมูลและ
ตัดสินใจในเรื่องที่มีความซับซ้อนมาก
ด้านความรับผิดชอบ(ต่อ)
 การมีส่วนร่วมต่อความสาเร็จ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 1 มีส่วนสนับสนุนทางอ้อม
 ระดับที่ 2 มีส่วนสนับสนุนโดยตรง
 ระดับที่ 3 ผลักดัน
 ลักษณะตาแหน่ง แบ่งเป็น 2 ระดับ ดังนี้
 ระดับที่ 1 งานปฏิบัติ
 ระดับที่ 2 งานวิชาการ
ด้านความรับผิดชอบ(ต่อ)
การดาเนินงานเพื่อรองรับการ
เบิกจ่ายค่าตอบแทน
การคิดแต้มประกัน
ค่าคะแนนประกันขั้นต่า
 คะแนนจากการปฏิบัติงานที่เก็บได้มากกว่าคะแนนประกันขั้นต่า
จึงจะสามารถเบิกค่าตอบแทน P4P
 มาตรฐานเวลาทาการที่นามาคิดคะแนนประกันขั้นต่า คือ 20 วันต่อ
เดือน มาจากคิดวันทางานทั้งปี มาหาค่าเฉลี่ยเพื่อให้แต่ละเดือน
ใกล้เคียงกัน และสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล และ 7 ชม.ต่อวัน
 ไม่ให้บุคลากรเก็บค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน (Work point) ใน
กิจกรรมที่มีการจ่ายค่าตอบแทนรายกิจกรรมอยู่แล้ว (เช่น การจ่าย
ค่าตอบแทนในการผ่าตัดต่อราย เป็นต้น)
วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
การกาหนดค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่า สามารถกาหนด
ได้หลายวิธี
1. คิดตามฐานเงินเดือน กาหนดให้นาเงินเดือนที่ได้รับมาปรับเป็น
คะแนนประกันขั้นต่า ในอัตรา 10 บาทต่อ 1 คะแนน
 ข้อพึงระวัง ข้าราชการอาวุโสคะแนนประกันขั้นต่าสูงมาก
 หากเลือกใช้วิธีนี้จาเป็นต้องมีการกาหนดค่าคะแนนประสบการณ์
เป็นตัวคูณในการเก็บค่าคะแนนปฏิบัติงานตามระบบปกติด้วย
วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
2. คิดตามอัตรากลางที่กาหนดไว้ มี 2 วิธีย่อย
2.1 กาหนดให้บุคลากรแต่ละคนมีค่าคะแนนประกันขั้นต่าเท่ากัน โดยคิดจากเวลา
ทางานขั้นต่าต่อวันของข้าราชการทั่วไป = 8,400 นาทีต่อเดือน
 กาหนดให้ 1 นาที เทียบเท่ากับ 1 คะแนน
 ค่าคะแนนประกันขั้นต่าของทุกสาขาวิชาชีพจะเป็น 8,400 คะแนนต่อเดือน
เท่ากัน
 ใช้กับการคิดค่าคะแนนปฏิบัติงานแบบ Modify Hay Guide Chart
 ข้อพึงระวัง แม้จะมีระยะเวลาทางานเท่ากัน แต่ความยากง่ายของงานไม่เท่ากัน
 แนะนาให้แยกการจัดสรรเงินค่าตอนแทนตามกลุ่มวิชาชีพ หรือต้องมี
คณะกรรมการกลางในการวิเคราะห์ค่างานของทุกวิชาชีพตามเกณฑ์เดียวกัน
ทาร่วมกันทุกวิชาชีพอีกระดับหนึ่ง
2.2 กาหนดให้บุคลากรวิชาชีพเดียวกันมีค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้น
ต่าเท่ากัน (แต่บุคลากรต่างวิชาชีพจะมีค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้น
ต่าไม่เท่ากัน)
 อิงหลักการ แต่ละวิชาชีพมีความยากง่ายในการทางานไม่เท่ากัน วิชาชีพที่ยาก
กว่าจะมีค่าคะแนนปฏิบัติงานมากกว่า ค่าคะแนนประกันขั้นต่าที่สูงกว่า
 ใช้วิธีเทียบเคียงจากค่าตอบแทนล่วงเวลาของแต่ละวิชาชีพนั้นๆ
 นาอัตรา OT ของวิชาชีพนั้นๆ มากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันใน 1 วันคูณด้วย
20 วันทาการ อัตราคะแนนละ 10 บาท เช่น แพทย์ อัตรา OT = 1,100 บาท = 110
แต้มต่อวัน ดังนั้นค่าคะแนนประกันขั้นต่าของแพทย์= 110x20 = 2,200 แต้ม
วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
3. การกาหนดค่าคะแนนประกันขั้นต่าในส่วนของการปฏิบัติงานนอกเวลา
ราชการ
3.1 วิธีที่ 1 คิดค่าคะแนนประกันขั้นต่าสาหรับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
 โดยนาค่าตอบแทนที่ได้รับทั้งหมดมากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่า
เพิ่มจากค่าคะแนนประกันขั้นต่าของการปฏิบัติงานในเวลาราชการ (ข้อ 1
หรือ 2 ข้างต้น) ในอัตราคะแนนละ 10 บาท
 ตัวอย่างเช่น แพทย์ได้รับ OT ในเดือนนั้นเป็นเงินทั้งสิ้น 12,000 บาท
ดังนั้นค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่าของแพทย์รายนี้ =
2,200+(12,000/10) = 3,400 แต้ม
 เหมาะสาหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการค่อนข้างมากใน
ทุกกลุ่มงานที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
3.2 วิธีที่ 2 ไม่คิดค่าคะแนนประกันขั้นต่าสาหรับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
และกาหนดให้บุคลากรทั้งหมดที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ งดการเก็บ
ค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลา
ราชการ
 ยกเว้น บุคลากรที่ขึ้นปฏิบัติงานในลักษณะเวรผลัด (ปฏิบัติงานในลักษณะ
เดียวกับพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในลักษณะเวรผลัด) บุคลากรกลุ่มนี้ให้นา
ค่าตอบแทนที่ได้รับทั้งหมดมากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่าเพิ่มจาก
เดิม และให้เก็บค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในขณะที่ขึ้น
ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการกาหนดวันทา
การในตารางปฏิบัติงาน)
 เหมาะสาหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการไม่มาก หรือ
โรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการมากเฉพาะในบางกลุ่มงาน
วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
3.3 วิธีที่ 3 ปรับวิธีที่ 3.1 และ 3.2 เข้าหากัน
 คิดสัดส่วนที่กาหนดกับค่าตอบแทนที่ได้รับ มากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันขั้น
ต่าเพิ่มจากค่าคะแนนประกันขั้นต่าของการปฏิบัติงานในเวลาราชการ (เช่น
กาหนด 25 % ของค่าตอบแทนนอกเวลาที่ได้รับมาเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่า
เพิ่มเติม) ในอัตราคะแนนละ 10 บาท
 เช่น แพทย์ได้รับ OT ในเดือน 12,000 บาท และโรงพยาบาลกาหนดให้คิด 25 %
ของค่าตอบแทนนอกเวลาเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่าเพิ่มเติม ดังนั้นค่าคะแนน
ประกันขั้นต่าของแพทย์รายนี้ = 2,200+{(12,000x25/100)/10} = 2,500 แต้ม
 อนุญาตให้บุคลากรทั้งหมดที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ จัดเก็บค่าคะแนน
ผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้
 เหมาะสาหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการในระดับปานกลาง
วิชาชีพ OT ต่อ วัน OT ต่อ ชั่วโมง
(7 ชม.)
แต้ม ชั่วโมง
OT
แต้มต่อเดือน
(20วัน)
แพทย์/ทันตแพทย์ 1100 157.14 15.71 2200
เภสัชกร 720 102.85 10.28 1440
พยาบาลวิชาชีพ 600 85.71 8.57 1200
จพง. / พยาบาล
เทคนิค
480 68.57 6.85 960
ลูกจ้างประจา/ลูกจ้าง
ชั่วคราว
300 42.86 4.28 600
การปร กันปริมาณ านบริการ ปว นอก
1. านบริการ ปว นอก (ทม) เวลา 08.00-12.00 น. วันรา การ
ขอบเขต าน รับ ิด อบ านบริการ ปว นอก ตั ตกร บวนการรับ ปว ท่ OPD
นถึ า นา ปว ออก าก OPD ( กลับบาน , Admitt , ส ตอ )
บ ลากร านวน ตม 4 ั่ว ม ตมปร กัน ปริมาณ านปร กัน านวน
าบาลวิ า 4
34.28
(4*8.57)
137.12
(4*34.28) ปว นอก
230
น
าบาลเท นิ 2
27.40
(4*6.85)
54.8
(2*27.4) รับConsult 20 น
ลก า 3
17.12
(4*4.28)
51.36
(3*17.12)
รวม 243.28 รวม 250 น
Example bullet point slide
• Bullet point
• Bullet point
– Sub Bullet
ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน
(Work Point System)
การวัดปริมาณภาระงาน (Workload) มี 5 วิธี
1. Activity base approach กาหนดค่าคะแนนราย
กิจกรรมของ ทุกงาน โดยคานึงถึง เวลาที่ใช้ในการทางาน
นั้นๆ คะแนนต่อเวลาของแต่ละวิชาชีพ และคะแนนความ
ยากง่าย บุคลากรต้องเก็บข้อมูลการปฏิบัติงานทุกงานโดย
ละเอียด
2. Apply activity base ปรับการเก็บข้อมูลให้ง่ายขึ้น เป็น
ลักษณะเหมารวมเช่น ไม่เก็บข้อมูลรายกิจกรรมของ
พยาบาล แต่เก็บข้อมูลการจาแนกประเภทผู้ป่วยแล้วปรับ
เป็นคะแนนให้แทน เป็นต้น
3. Result Base approach by DRG-RW เป็นการนา DRG มาปรับใช้กับ
กิจกรรมของแพทย์ จึงเก็บข้อมูลเฉพาะผู้ป่วย ไม่ต้องเก็บข้อมูลกิจกรรม
ละเอียด
• ใช้กับการดูแลผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก และกิจกรรมอื่นๆ ใช้วิธี Activity
base approach หรือ Apply Activity with time base approach
• ใช้ได้เฉพาะแพทย์เท่านั้น
RW P4P = RW - ต้นทุนบริการ
RW P4P = RW - Material cost
Base rate per RW
ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน
(Work Point System)
4. Job Evaluation by Modified Hay-Guide Chart ประเมินค่า
งานจากการเปรียบเทียบปัจจัยการปฏิบัติงาน 2 ด้าน
ได้แก่
• องค์ประกอบด้านประสบการณ์: ระดับความรู้ทางวิชาการ, การ
จัดการ, มนุษยสัมพันธ์, สภาพการปฏิบัติงาน
• ด้านความรับผิดชอบ: ระดับความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จ, ความ
ยากง่าย, การมีส่วนร่วม,ลักษณะงาน
ปริมาณภาระงาน = จานวนหน่วยบริการของงาน x เวลามาตรฐาน
x ระดับค่างานจากการเปรียบเทียบ
วิธีเหมาะกับทุกวิชาชีพ แต่ขณะนี้มีเกณฑ์ที่จัดทาเสร็จแล้วสาหรับ
พยาบาล เภสัชกร และทันตแพทย์
ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน
(Work Point System)
ตัวอย่างคะแนน Job Evaluation by Modified
Hay-Guide Chart
ลาดับ กิ กรรม ลัก นว เวลามาตร านตอ 1
นว (นาท)
นา นัก า าน
1 การตรว ัดกรอ รา 5 1.5
2 การ าปรึกษาเก่ วกับสขภา
ล การด ลตนเอ
รา 15 1
6 การด ล ปว ไมฉกเฉิน (Non-
urgent N1)
รา 39 1.25
7 การด ล ปว ไมฉกเฉิน (Non-
urgent N2)
รา 46 1.5
8 การด ล ปว ฉกเฉิน (Urgent) รา 59 2
9 ปว ฉกเฉินมาก (Emergent) รา 65 2
5. Pieces Rate payment จ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณงานโดยการมอบหมายงานให้ทา
ให้สาเร็จเป็นชิ้นงานในระยะเวลาที่กาหนด เหมาะกับงานที่มีลักษณะเป็นชิ้นงาน
สามารถจัดทาให้แล้วเสร็จเป็นครั้งๆ ไป ได้แก่ งานสนับสนุน งานบริหาร งาน
โครงการที่มีระยะเวลากาหนดชัดเจน เป็นต้น
• การจ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณภาระงาน สามารถเลือกใช้ระบบการคิดค่าคะแนน
ผสมผสานได้หลายวิธี เช่น
1. ใช้วิธี Result base approach by DRG-RW สาหรับแพทย์ และใช้วิธี Job evaluation
by Modified Hay-Guide Chart สาหรับวิชาชีพ พยาบาล เภสัชกร ทันตแพทย์ ในส่วน
ของงานบริหารใช้วิธี Work piece เป็นต้น หรือ
2. ใช้วิธี Result base approach by DRG-RW สาหรับแพทย์ บุคลากรอื่นใช้วิธี Activity
base หรือ Apply Activity base เป็นต้น
ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน
(Work Point System)
การวัดคะแนนคุณภาพงาน (Quality Point)
• หลักการคิดค่าคะแนนคุณภาพต้องคานึงถึง ผลงานคุณภาพทั้งเป็นราย
หน่วยงาน ทีมงาน ทีมคร่อมสายงาน และรายบุคคล
• กาหนดจัดเก็บค่าคะแนนเป็นรายกิจกรรม หรือ
• วัดตาม KPI ของโรงพยาบาลและของหน่วยงาน
– อาจถ่วงน้าหนักค่าความมีส่วนร่วมในผลงานดังกล่าวเป็นรายบุคคล เช่น 80%
ของคะแนนคุณภาพที่ได้เฉลี่ยให้บุคลากรทุกคนในหน่วยงาน 20% ที่เหลือ
แบ่งหัวหน้าหน่วยและผู้รับผิดชอบโดยตรงอีกคนละ 10%
• ค่าคะแนนปฏิบัติงานตามคุณภาพ (Quality point) ที่ได้ นามาจัดสรร
เพิ่มเติมจากค่าคะแนนปฏิบัติงานตามปริมาณงานที่เก็บได้ หรืออาจนามา
เป็นตัวคูณกับค่าคะแนนผลการปฏิบัติงานตามปริมาณงานที่เก็บได้
ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน
(Work Point System)
สาหรับงานบริหารงานกลางของโรงพยาบาล
• ภาระงานทางการบริหาร เป็นการเพิ่มบทบาทความรับผิดชอบจากงาน
ปกติ
– สร้างแรงจูงใจให้ทางานบริหาร
– ลดความกังวลในการตามเก็บภาระงานปกติ
• ลดสัดส่วนของค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่าของผู้บริหาร
แต่ละระดับ
• จัดสรรวงเงินค่าตอบแทนสาหรับงานบริหารกลางของผ้บริหารแต่ละ
ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน
(Work Point System)
สัดส่วนการเบิกจ่ายระหว่างวิชาชีพ
– สัดส่วน Activity point : Quality Point ปรับตามบริบทของโรงพยาบาล
– นาคะแนนรวมทั้ง รพ. มาจัดสรร ข้อดี ยุติธรรม ข้อเสีย ความจริงมีความ
แตกต่างระหว่างวิชาชีพ+ฝ่าย, ไม่เหมาะกับ รพ.ขนาดใหญ่
– แยกงบให้แต่ละฝ่าย ข้อดี ลดความได้เปรียบเสียเปรียบในระหว่างฝ่าย
ข้อเสีย ประสิทธิภาพการทางานของแต่ละฝ่ายไม่เท่ากัน
– แยกงบตามกลุ่มวิชาชีพ เช่น คิดแพทย์แยกจากวิชาชีพอื่น ข้อดี เหมาะ
สาหรับโรงพยาบาลใหญ่
– ผสม
ระบบการบริหารงบประมาณ
ระบบที่ 1 ค่าคงที่ตามงบประมาณ การคานวณแต้มต่อหน่วย
ค่าตอบแทนต่อหน่วยคะแนนผลงานจะผันแปรในแต่ละงวด
แต้มคะแนนจะผันตามปริมาณแต้มที่เก็บได้ในแต่ละเดือน
ทุกคนมีค่าตอบแทนต่อแต้มเท่ากันทุกคน
• ระบบที่ 2 แบ่งตามหน่วยงานและ ระบบแบ่งตามวิชาชีพ
ค่าตอบแทนแต่ละหน่วยจะคงที่
ค่าตอบแทนต่อหน่วยคะแนนผลงานจะผันแปรในแต่ละงวด
ของแต่ละหน่วยงาน
ค่าตอบแทนต่อแต้มของแต่ละหน่วยงาน จะมีค่าไม่เท่ากัน
กรรณิกาปัญญาอมรวัฒน์ 87
การบริหารงบประมาณ
รูปแบบ ที่ 2 แบ่งตามหน่วยงานและ ระบบแบ่งตามวิชาชีพ แล้ว แปลง
คะแนนเป็นค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน
1. ค่าตอบแทนในแต่ละเดือนจะถูกแบ่งให้แต่ละฝ่ายตามฐาน
ยอดเงินคงที่
2 นาแต้มประกันต่อวันของแต่ละวิชาชีพทุกคนรวมกันโดยแยกรายฝ่าย
นามาแบ่งวงเงินออกเป็นแต่ละ ตะกร้าเงิน ของฝ่ ายตามสัดส่วนแต้มที่
ได้
3 กรณีผู้มีคะแนนติดลบจากผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ประกัน ถกตัดแต้ม
ประกันของฝ่ายและปรับลดยอดเงินที่ฝ่ายได้รับตามสัดส่วนแต้มทีมที่
เหลือ และวงเงินที่เหลือควร คืนเงินบารุง
การจ่ายตามภาระงาน
• แยกย่อยระดับไหน
• ข้อดี
- ทาให้ทราบตัวเงินชัดเจน
- ความยากง่ายของงาน
(Professional)
- รูปแบบคล้ายเดิม
- ลดความเหลื่อมล้าจากการกาหนดค่า
คะแนนแต่ละวิชาชีพ
• ข้อเสีย
- ถูกบังคับโดยเพดาน
- ค่าเงินต่อแต้มไม่เท่ากัน
• ทุกคนนาแต้มมารวมกัน
• ข้อดี
- โอกาสได้รับจานวนเงินมากขึ้นตามภาระงาน
- 1 คะแนนมีมูลค่าเท่ากัน
• ข้อเสีย
- ความยากง่ายของงานไม่เท่ากัน
- เกิดความเหลื่อมล้าค่างานแต่ละวิชาชีพ
- ไม่เหมาะกับ รพ.ขนาดใหญ่
แยกแผนก รวมแผนก
ที่มาของเงิน รพช.
•เงินที่ปรับลดจากเดิมของ ฉ๘ กับ ฉ๔
–แพทย์ ทันตแพทย์ เภสั
•เงิน ๑% ของ ค่าแรง
การจัดสรรแยกรายวิชาชีพ
บริหารรวม
ขั้นตอนในการวิเคราะห์เพื่อหาภาระงานและการ
กาหนดน้าหนัก
• วิเคราะห์ ภาระงานหลักของแต่ละหน่วยงาน (Functional
Description)
 วิเคราะห์ภาระหน้าที่ของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (job analysis)
ขั้นที่ 1
ขั้นที่ 2
Job analysis
Job analysis
Job assignment
Hemato Chem Micro Immuno UA Blood OPD รวม
1 640 3,578 58.88%
2 7,154 89.61%
3 7,663 96.02%
4 7,262 91.00%
5 4,636 404 72.18%
6 670 609 4,673 74.58%
7 7,346 92.05%
8 5,670 71.05%
9 7,080 88.72%
10 4,646 58.22%
พฤษภาคม
Hemato Chem Micro Immuno UA Blood OPD รวม
1 1,770 4,541 81.07%
2 8,739 99.08%
3 9,314 109.0%
4 7,867 91.23%
5 8,539 404 102.2%
6 670 6,177 73.43%
7 7,270 85.82%
8 7,221 81.87%
9 7,950 90.13%
10 5,613 63.63%
มิถุนายน
การกาหนดกิจกรรมและ ค่าน้าหนักงาน
101
วัตถุประสงค์ของการกาหนดลักษณะการกระจายงาน
เพื่อการกาหนดสัดส่วนหรือน้าหนักการ
ปฏิบัติงานให้เกิดความเป
็ นธรรม (Fair) ในการ
ประเมิน
การกาหนดสัดส่วนของงานทั้ง 3 กลุ่ม คือ งาน
กลยุทธ์ งานประจา/สนับสนุน และ งานที่ได้รับ
มอบหมาย โดยใช้ฐานของร้อยละ
การกระจายภาระงานออกเป็น3 กลุ่ม
 งานการพยาบาลโดยตรง เช่น
การพยาบาลผู้ป่ วยที่ติดเครื่องมือ
ผู้ป่ วยที่ต้องการการประเมินและเฝ
้ าระวังอย่างต่อเนื่อง
 งานการพยาบาลที่สอดคล้องกับแผนการรักษา เช่น
การให้ยา /หัตถการ /การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
 งานคู่ขนานการพยาบาล
การบันทึกทางการพยาบาล
การส่งต่อข้อมูลผู้ป่ วยเพื่อการวางแผนการรายบุคคล
กิจกรรม คะแนน/
หน่วย
สุรัตน์วดี วรางคณา นงลักษณ์ พิสุทธิ์ศรี ปัทมา สุมาลี ดวงนภา
ด้านการปฏิบัติการพยาบาล
คะแนนเต็ม
35
1.ทาหน้าที่ผู้บริหารทีม (ครั้ง) 0.7 18 10 13 16 8 9 0
2.วิเคราะห์และสื่อสารส่งต่อข้อมูล
(ครั้ง) 0.525 19 14 13 15 12 17 12
3.ตัดสินใจรายงานแพทย์ (ครั้ง) 0.7 35 12 27 39 27 26 10
4. วางแผนการรักษาร่วมกับ แพทย์
(Round) (ราย/ครั้ง) 1.4 104 55 24 0 85 71 19
5.ให้การพยาบาลผู้ป่วย ที่ช่วยตัวเองไม่ได้
Complete bed bath ผู้ป่วย (ครั้ง/ราย) 0.525 25 12 37 7 39 39 36
6. บริหารแผนการรักษา ( จานวน
Chart) 1.3125 112 145 29 379 78 98 50
แนวทางการคิดค่าของ
ภาระงาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 104
แบ่งงานเป
็ น3 กลุ่ม
•งานด้านบริหาร
•งานด้านบริการ
•งานด้านวิชาการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 105
การจ่ายค่าตอบแทนสาหรับผู้บริหาร
• บริ ารร ดับส 33 %
– อานว การ 20.8 %
– รอ อานว การ 1 ; 7. 32%
– รอ อานว การ 2 ; 4.88%
• บริ ารร ดับกลา 33 %
– ัว นาฝา ขนาด ญได 3 สวน 7.32% ( กลม านการ าบาล )
– ัว นาฝา ขนาดกลา ได 2 สวน 4.88 % ( ฝา บริ ารฯ,กลม านเว ,ฝา นฯ)
– ัว นาฝา ขนาดเล็กได 1.5 สวน 3.66% (เภสั ,ทันตกรรม, ันสตร)
• บริ ารร ดับตน 34 %
– ัว นา านขนาด ญได 3 สวน 2.61%
– ัว นา านขนาดกลา ได 2 สวน 1.74 %
– ัว นา านขนาดเล็กได 1.5 สวน 1.31%
Record Nursing workload
ด้านบริการ
•รูปแบบ a ระดับทีม
•รูปแบบ b ระดับบุคคล
•รูปแบบ c ระดับหน่วยงาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 107
รูปแบบ a ระดับทีม
• กิจกรรมรวมของทั้งทีม
• พยาบาลในเวรเดียวกัน แต่ละคนจะได้ค่า WP
เท่ากัน
• จานวน WP มาจาก WP ทุกคนรวมกันทั้งเวร
แล้วหารด้วยจานวนพยาบาล(คน) ที่ขึ้นเวรนั้น
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 108
ตัวอย่างประเภท a
• การพยาบาลผู้ป่วยนอก
• การพยาบาลผู้ป่วยรับใหม่
• การพยาบาลผู้ป่วยNeed ICU
• การช่วยผ่าตัดใหญ่
• การเฝ้าระวังผู้ป่วยระยะรอคลอด
• การตรวจสุขภาพแรงงานต่างด่าว
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 109
รูปแบบ b ระดับบุคคล
• ได้เฉพาะที่ป ิบัติภารกิจนั้น
• เป็นงานที่ต้องรับผิดชอบสูง
• ต้องใช้ประสบการณ์ ในการป ิบัติงาน
• งานที่ต้องใช้บุคลากรระดับวิชาชีพ
• งานเสี่ยงงาน
• งานมอบหมายกรณีพิเศษ
• งานสาคัญ แต่ไม่มีใครอาสาทา
• งานอาสาสมัครที่หาคนไปทายาก
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 110
ตัวอย่าง กิจกรรมประเภท b
• การให้สารน้าทางเส้นเลือดดา
• การให้เลือดผู้ป่วย
• การช่วยทาหัต การ.....
• การช่วยฟื้นคืนชีพ
• การตรวจรักษาผู้ป่วยนอก
• การรายงานแพทย์
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 111
รูปแบบ c ระดับหน่วยงาน
• กิจกรรมที่ ูกประเมินทั้งงานหน่วยงานหรือ
วอร์ด ตามตัวชี้วัด( KPI ) ที่หน่วยงาน
รับผิดชอบและส่งผลต่อปริมาณงาน ความเสี่ยง
รายรับ รายจ่าย ของโรงพยาบาล
• กิจกรรม QP กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 112
ตัวอย่าง กิจกรรมประเภท c
• อัตราการติดเชื้อแผลสะอาดไม่เกิน เกณ ์
• อัตราความเสี่ยงการบริหารการให้ยาผู้ป่วย
• คะแนนการประเมินการลดขั้นตอน
• คะแนนการประเมินคุณภาพการพยาบาล
• คะแนนการประเมินความพึงพอใจ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 113
ด ้านวิชาการ
• ภาระงานในด้านนี้แม้นจะไม่ได้เป็นภาระงานหลักของหน่วยงาน
ด้านการให้บริการ แต่การพัฒนาบุคคลากรหรือการพัฒนา
กระบวนการทางานใหม่ ที่สนับสนุนให้การจัดบริการมีคุณภาพ
มากขึ้นย่อมส่งผลต่อทั้งโรงพยาบาล และผู้รับบริการ
• ด้านวิชาการยังรวม ึงการสนับสนุนการเรียนการสอนของ
นักศึกษา
• การคิดค่าภาระงาน จึงเป็นการคิดค่าคะแนนจากผลงานที่เกิดขึ้น
ระดับบุคคล โดยวัดได้ทั้งจากกระบวนการและผลสาเร็จของงาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 114
การกาหนดน้าหนักคะแนน
ต่อกิจกรรม
• กาหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนให้ ( JD & JS )
• กาหนดกิจกรรม ที่แต่ละคนที่เกี่ยวข้อง
– งานการพยาบาลโดยตรง ที่ใช้การตัดสินใจ การวางแผนและการ
ป ิบัติโดยอิสระ
– งานที่ต้องการแผนการรักษา การนาแผนการรักษาไป สู่การป ิบัติ
เป็นงานที่ต้องใช้การคิดวิเคราะห์ ก่อนป ิบัติ
– งานสนับสนุน งานด้านคุณภาพ งานด้านการพัฒนา งานด้านบันทึกที่
เกี่ยวข้องกับกฎหมายและมาตรฐานวิชาชีพ และการนาเสนอ ที่ต้อง
ใช้ความรอบคอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความสม่าเสมอ ในการทางาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 115
การกาหนดน้าหนักคะแนนต่อกิจกรรม
• นากิจกรรมมาวิเคราะห์ และแบ่งกลุ่มเป็น a,b,c
• ศึกษาระยะเวลาในการดาเนินกิจกรรม
• นามากาหนดน้าหนักคะแนนตาม ระยะเวลาที่ต้องใช้
• กาหนดน้าหนักงานเพิ่มตาม หน่วยงาน ลักษณะงานที่
แตกต่างกันเช่น ความยากของงาน ความเสี่ยงและ
การตัดสินใจ ปริมาณงาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 116
กาหนดประเภทกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท คาจากัดความ
ชื่อกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท คาจากัดความ
ให ้การพยาบาลผู้ป่ วย
นอก
ราย a การคัดกรองน้าหนัก ส่วนสูง
BMI สัญญาณชีพ ซัก
ประวัติก่อนตรวจ การดูแล
ขณะตรวจ การดูแลหลัง
ตรวจ การนัดผู้ป่ วย
ให ้การพยาบาลผู้ป่ วย
หรือปฐมพยาบาล เช่น
เช็ดตัวลดไข ้
ครั้ง b การวัดไข ้ก่อนการเช็ดตัว
การเช็ดลดไข ้ด ้วยน้า การวัด
ไข ้หลังการเช็ดตัว
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 117
ชื่อ
กิจกรรม
หน่วยนับ ประเภท คาจากัดความ ประเภท
บุคคลากร
การตรวจ
รักษาผู้ป
่ วย
นอก โดย
พยาบาล
ครั้ง b การตรวจวินิจฉัย สั่งยา
และการบันทึก
ผลการรักษาการวินิจฉัยใน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตาม
DRG
พยาบาล
วิชาชีพ
การช่วยฟื้น
คืนชีพCPR
(ทีมละ 4 คน)
ครั้ง b การช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ป
่ วย
ทั้งการให้ออกวิเจนทาง
หน้ากากหรือการใส่ท่อ
ช่วยหายใจ การให้ยา การ
นวดหัวใจ จนสิ้นสุดการ
ช่วย
พยาบาล
วิชาชีพ 2 คน
EMTหรือTN
1 คน
ผู้ช่วยเหลือ
คนไข้ หรือ
คนงาน 1
คน
อัตราความพึง
พอใจ
ร้อยละ c การประเมินความพึงพอใจ
โดยกรรมการประเมิน
ความพึงพอใจโดยการสุ่ม
ประเมินทุกเดือน
ทั้งหน่วยงาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 118
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 119
ชื่อกิจกรรม ให้การพยาบาลผู้ป
่ วยนอก ประเภท a
พยาบาลวิชาชีพ จานวน
6
คน
การคัดกรอง วัดสัญญาณชีพ ซักประวัติ
ก่อนตรวจ การประเมินก่อนตรวจ การ
ดูแลขณะตรวจ การดูแลหลังตรวจ การนัด
ผู้ป่ วย
ผู้ช่วยเหลือคนไข ้ จานวน
2
คน
ชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง คานวณ BMI
เรียกตรวจ เตรียมเครื่องมือในห ้องตรวจ
พนักงานห ้องบัตร จานวน
1
คน
รับบัตร/ ค ้นOPD card / ลงคอม /ออก
ใบสั่งยา /ส่งบัตร /ตามบัตรกลับ /เก็บบัตร
/ลงcode ในคอม
ชื่อกิจกรรม หน่วย
นับ
ประเภท
ประเภทบุคลากรความหมาย
GN หัวหน้าทีม GN สมาชิกทีม ลูกจ้าง
การรับ
ใหม่
ราย a การประเมินอาการ เอกสาร
ตรวจร่างการ สัญญาณชีพ
และให้การรักษาตาม
แผนการรักษา
การรายงานแพทย์สาหรับ
รายที่ต้องได้รับการตรวจ
เพิ่มเติม
การจัดเก็บสิ่งส่งตรวจ
จัดผู้ป่ วยขึ้นเตียง ให้คา
แนะระเบียบที่เกี่ยวกับ
การรักษา การดาเนินการ
ด้านเอกสาร และการลง
นามยินยอมรับการรักษา
จัดผู้ป่ วยให้พักที่
เตียง
เปลี่ยนเสื้อผ้า
ชั่งน้าหนัก ส่วนสูง
ให้คาแนะนาเรื่อง
สถานที่
จัดเตรียมน้าดื่มและ
อุปกรณ์ข้างเตียง
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 120
กาหนดประเภทและข้อตกลงกิจกรรม
กาหนดประเภทและข้อตกลงกิจกรรม
ชื่อ
กิจกรรม
หน่วย
นับ
ประเภท เวลา
(นาที)
พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค ลูกจ้าง
การ
พยาบาล
รับใหม่ผู้
คลอด
ราย a 30 ตรวจร่างกายทั่วไปผู้คลอด PV
Fern test Contraction
รวมทั้ง Observe ผู้คลอด 1
ช.ม.
ตรวจหน้าท้อง ฟัง FHS จับ
Contraction ตรวจร่างกาย
ทั่วไป สวนอุจจาระในรายที่
ไม่มีข้อห้าม
ทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์
ตรวจภายใน เซ็นใบยินยอม
แนะนาสถานที่ ซัก Hx ทางสูติ
เขียน Chart รับใหม่ผู้คลอด
ตามแบบฟอร์ม ซักประวัติ
ทาบัตร Key
ใบสั่งยา ค้น
OPD Card ลง
Admitted สั่ง
บัตร เช็คสิทธิ์
รับ-ส่งเครื่องมือผ้า เปลี่ยน
Forcep เบิกเครื่องมือ
แพทย์ ยา วัสดุธุรการ
Lab รวมจัดเก็บล้างทา
ความสะอาด Set
เครื่องมือต่าง ขวด
Suction กระติกน้าร้อน
น้าดื่มผู้คลอด ตู้เย็น
กระป
๋ องออกซิเจน ล้าง
รองเท้า ตรวจสอบจานวน
ปริมาณความเพียงพอต่อ
การใช้งาน เพื่อเบิก
ประจาสัปดาห์
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 121
ชื่อ
กิจกรรม
หน่วย
นับ
ประเภ
ท
ประเภทบุคลากรและความหมาย
GN Scrub มือ 1 GN Scrub มือ 2 GN หรือTN circurate 1
คน
ลูกจ้าง
1 คน
การช่วย
ผ่าตัด
ราย a (ทีม) เตรียมเครื่องมือผ่าตัด / เครื่อง
เย็บ /เครื่องจี้/อุปกรณ์ ที่ต้องใช้
ขณะผ่าตัด / ตรวจนับผ้าก๊อส
และผ้าซับเลือด สายยาง
ช่วยทาผ่าตัด การจับถ่าง การ
คีบและผูกเส้นเลือด การเปิด
บริเวณผ่าตัด การจี้การSuction
การตัดสินใจร่วมกับแพทย์ใน
การจัดการกับสถานการณ์ในแต่
ละขั้นตอน การประสานวิสัญญี
ให้ทราบสถานการณ์ผู้ป่ วย
ช่วยเย็บปิด /ตรวจนับเครื่องมือ
ร่วมกับมือ2 /การเคลื่อนย้าย
ผู้ป่ วยออกจากห้องผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือผ่าตัด /
ผ้าปูผ่าตัด/เสื้อ GOWN/
ถุงมือSTERILE และ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ผ่าตัดแต่ละประเภท
นับเครื่องมือ/ส่ง
เครื่องมือผ่าตัด/ทา
ความสะอาดเครื่องมือ
ผ่าตัดเบื้องต้นหลังเสร็จ
สิ้นการผ่าตัด
ช่วยเช็ดตัวผู้ป่ วยใน
CASEC/S และช่วยย้าย
ผู้ป่ วยออกจากห้อง
ผ่าตัด
รับผู้ป่ วยเข้าห้องผ่าตัด
จัดท่าผู้ป่ วย
วัดสัญญาณชีพ
การเพิ่มเครื่องมือ/
เครื่องเย็บ
การต่ออุปกรณ์พิเศษ
ตรวจนับเครื่องมือ
ทาความสะอาด
เครื่องมือและหีบห่อ
เครื่องมือเพื่อส่งทาให้
ปราศจากเชื้อ
ลงทะเบียนผ่าตัด
การเตรียมห้อง
ผ่าตัด
ตรวจสอบ
เครื่องมือ
จัดเตรียมเครื่อง
ผ้า
การเตรียม
เครื่องมือ
รับ-ส่งผู้ป่ วย
จากหอผู้ป่ วย
ล้างเครื่องมือ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 122
นากิจกรรมที่กาหนดมาจัดเก็บเวลาต่อกิจกรรม
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 123
ประเภทกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท เวลาที่ใช้ (นาที)
ให้การพยาบาลผู้ป
่ วยนอก ราย a 10
ให้การพยาบาลผู้ป
่ วยหรือปฐม
พยาบาล เช่น เช็ดตัวลดไข้
ครั้ง b 30
อัตราความพึงพอใจ ร้อยละ c -
การเปลี่ยนค่าเวลาเป็นค่า WP
เวลา 10 นาที = 1 WP
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 124
ชื่อกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท เวลา ค่าWP
การพยาบาลผู้ป
่ วยนอก ราย a 10 1
การพยาบาลผู้ป
่ วยหนัก
(Critical ill )
ราย a 450 45
ทาแผล/เย็บแผล/
ขนาดใหญ่
ราย b 60 6
การปรับเพิ่มค่าคะแนน ตามค่าของวิชาชีพ
• การคานวณแต้มต่อนาที แต่ละหน่วยงานต้องปรับ
อัตราค่าล่วงเวลาตามระเบียบค่าตอบแทนที่
กระทรวงสาธารณสุขกาหนด ในขั้นพื้นฐาน หาก
หน่วยงานใดได้มีการปรับอัตราค่าตอบแทน
ล่วงเวลา(OT) ไปแล้ว ให้ใช้อัตราที่หน่วยงานมีการ
กาหนดใหม่มาเป็นฐานในการคานวณ เช่น
หน่วยงานที่ใช้ตามประกาศ OT พยาบาล=600
แต่บางหน่วยงานปรับเป็น720 ให้ใช้ในอัตรา720
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 125
การคานวณแต้มวิชาชีพต่อนาที
วิชาชีพ อัตราOT
/วัน
แต้มต่อ
วัน=OT/1
0
แต้มต่อ
เดือน=แต้ม
ต่อวันx20
วันทาการ
แต้มต่อ
ชั่วโมง=
แต้มต่อวัน/7
ชั่วโมง
แต้มต่อ
10นาที
แพทย์/
ทันตแพทย์
1,100 110 2,200 15.71 2.62
เภสัชกร 720 72 1,440 10.28 1.71
พยาบาล
วิชาชีพ
600 60 1,200 8.57 1.43
พยาบาล
เทคนิค/EMT
480 48 960 6.85 1.05
ลูกจ ้างประจา/
ลูกจ ้างชั่วคราว
300 30 600 4.28 0.71
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 126
แต้มต่อภาระงานตามกลุ่มแต้มวิชาชีพ
กิจกรรม หน่ว
ยนับ
ประเภท เวลาที่
ใช้
(นาที)
ค่า
WP
แต้ม
วิชาชีพ
แต้มหลังปรับค่า
วิชาชีพ
ให้การพยาบาล
ผู้ป
่ วยนอก
พยาบาลวิชาชีพ 1
คน
ผู้ช่วยเหลือคนไข้
1 คน
ราย a 10 1 GN=
1.43
Aid =
0.71
=( 1*1.43)=
1.43
=(1*0.71)=
0.71
ตรวจรักษาโรคโดย
แพทย์
ราย b 5 .5 2.61 =0.5*2.61
=1.30
ตรวจรักษาโรคโดย
พยาบาล
ราย b 5 .5 1.43 =.5*1.43
=0.72
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 127
แต้มต่อภาระงานตามกลุ่มแต้มวิชาชีพ
กิจกรรม หน่วย
นับ
ประเภ
ท
เวลาที่
ใช้
(นาที)
ค่า WP แต้ม
วิชาชีพ
แต้มหลังปรับค่า
วิชาชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
CPR (ทีมละ 4
คน)
-พยาบาล 2 คน
-EMT 1 คน
-Aide 1 คน
ราย b 30 3
1.43
1.05
0.71
GN=3*1.43
=4.23
EMT =3*1.05
=3.14
Aids =3*0.71
=2.14
เตรียมเครื่องมือ
เพื่อส่งทาให้
ปราศจากเชื้อ
ชิ้น b 5 0.5 0.71 ไม่ปรับแต้ม
0.5
ทาถุงมือ คู่ b 1.5 0.15 0.71 ไม่ปรับแต้ม
0.15
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 128
การปรับเพิ่มตามความยุ่งยากซับซ้อนของงาน
• 1. ความยุ่งยากของงานที่มีขั้นตอนซับซ้อน
• 2. ความรับผิดชอบต่อความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทั้งกับ
ผู้รับบริการและผู้ให้บริการ
• 4. การประกันคุณภาพของงานที่ไม่อาจผิดพลาด
ได้
• 5. ความเชี่ยวชาญที่มีหรือต้องผ่านการพัฒนา
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 129
กาหนดค่าของน้าหนักที่จะปรับเพิ่ม
ให้มีค่าน้าหนัก 0.1- 0.5 เท่าของน้าหนักคะแนนRN
เกณฑ์เพิ่ม
น้าหนักกิจกรรม
0.5 เท่า 0.4 เท่า 0.3เท่า 0.2 เท่า 0.1 เท่า
1.ความยุ่งยาก
ในการปฏิบัติ
เป
็ นงานที่ไม่มี
แนวทางกาหนด
ตายตัวแน่นอน
ต้องการการ
ตัดสินใจ และ
ความรู้ความ
ชานาญหรือการ
ฝึกอบรม
เพิ่มเติม เพื่อ
การปฏิบัติ
กิจกรรมนั้นๆ
หรือเป
็ นงานใน
หน่วยงานเฉพาะ
เท่านั้น
ไม่มีแนว
ทางการ
ปฏิบัติงานที่
กาหนดไว้ แต่
งานมีขั้นตอน
ยุ่งยากซับซ้อน
ที่ต้องใช้ทั้ง
ประสบการณ์
ความรู้ความ
ชานาญ ทักษะ
เฉพาะตัวของ
ผู้ปฏิบัติงาน
หรือการอบรม
เพิ่มเติมแต่เป
็ น
งานที่สามารถ
ปฏิบัติได้ในทุก
หน่วยงาน
มีแนวทางการ
ปฏิบัติงานที่
กาหนดแล้ว แต่
ต้องอาศัย
ประสบการณ์
ความรู้ความ
ชานาญ ทักษะ
เฉพาะตัวของ
ผู้ปฏิบัติงาน
บางกิจกรรม
ต้องการการ
ประสานที่
รวดเร็ว มี
ขั้นตอนในการ
ปฏิบัติงานหลาย
ขั้นตอน
มีแนวทางการ
ปฏิบัติงานที่
กาหนด
เรียบร้อยแล้วแต่
บางครั้งต้องมี
การประสานงาน
หรือต้องปรึกษา
เพื่อตัดสินใจ
มีแนวทางการ
ปฏิบัติงานที่
กาหนด
เรียบร้อยแล้ว
โดยไม่ต้องมี
การประสานงาน
หรือตัดสินใจ
ใหม่ และเมื่อ
ปฏิบัติตามจะทา
ให้งานสาเร็จได้
ขั้นตอนในการ
ปฏิบัติงานมีน้อย
ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 130
ตัวอย่าง การปรับแต้ม RN
ประเภทกิจกรรม
ความ
ยุ่งยากใน
การ
ปฏิบัติ
โอกาสการเกิด
ความเสี่ยงต่อ
ผู้รับบริการ
หรือให้บริการ
ความสาคัญ
ของงานและ
คุณภาพของ
งาน
ความ
เชี่ยวชาญ
คะแนน
น้าหนักที่
เพิ่ม(เท่า)
ให้การพยาบาล
ผู้ป
่ วยนอก
0.2 0.2 0.2 0.2 0.8
ตรวจรักษาโรค
โดยแพทย์
0.5 0.5 0.5 0.5 2
ตรวจรักษาโรค
โดยพยาบาล
0.4 0.5 0.3 0.5 1.7
การช่วยฟื้นคืน
ชีพCPR
0.5 0.5 0.5 0.5 2
เตรียมเครื่องมือ
เพื่อส่งทาให้
ปราศจากเชื้อ
0 0 0 0 0
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 131
นาคะแนนน้าหนักที่ผ่านการพิจารณาร่วมกันแล้วมา
ปรับแต้มภาระงาน
กิจกรรม หน่ว
ยนับ
ประเภ
ท
เวลาที่
ใช้
(นาที)
WP แต้ม
วิชาชี
พ
แต้มหลัง
ปรับค่า
วิชาชีพ
คะแนน
น้าหนัก
ที่เพิ่ม
(เท่า)
แต้มWP
ให้การ
พยาบาล
ผู้ป
่ วยนอก
พยาบาล
วิชาชีพ 1
คน
ผู้ช่วยเหลือ
คนไข้ 1 คน
ราย a 10 1 1.43 GN
=(
1*1.43)
= 1.43
Aid
=(1*0.71)
=0.71
GN=0.
8
Aid=0.
1
GN
=1.43+
(1.43*0.
8)
=2.57
Aid=0.7
1+
(0.71*0.
1)
=0.79
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 132
กิจกรรม หน่วย
นับ
ประเ
ภท
เวลาที่
ใช้
(นาที)
WP แต้ม
วิชาชี
พ
แต้มหลังปรับค่า
วิชาชีพ
คะแนน
น้าหนักที่
เพิ่ม(เท่า)
แต้มWP
ตรวจรักษา
โรคโดย
แพทย์
ราย b 5 0.5 2.61 =0.5*2.61
=1.30
2 =1.3+(1.3*
2)
=3.9
ตรวจรักษา
โรคโดย
พยาบาล
ราย b 5 0.5 1.43 =.5*1.43
=0.72
1.7 =0.7+(0.7
*1.7)
=2.70
เตรียม
เครื่องมือ
เพื่อส่งทา
ให ้
ปราศจาก
เชื้อ
ชิ้น a 5 0.5 0.71 ไม่ปรับแต้ม
วิชาชีพ
0.5
0 0.5
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 133
การแบ่งแต้มประเภท a
• จานวนบุคลากรในเวร
• ถ้าเป
็ นตาแหน่งประเภทเดียวกัน ต้อง
กาหนด สัดส่วนของน้าหนักงาน
• ใช้การเก็บรวมแล้วหารด้วยจานวนคน
• ใช้การแบ่งแต้มตามคนแล้วต่างคนต่างเก็บ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 134
การแบ่งตามจานวนผู้ปฏิบัติงาน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 135
กิจกรรม WP จานวนพยาบาล
ที่ขึ้นเวร
ค่าWP รายเวร
ดึก เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย
การพยาบาลผู้มา
คลอด ในระยะเจ็บ
ครรภ์
11.57 2 4 3 11.57/2
=5.78
11.57/4
=2.89
11.57/3
=3.85
การพยาบาลผู้ป
่ วย
ปานกลาง ( Semi
critical ill)
103.7 3 5 3 103/3
=34.5
103/5
=20.7
103/4
=34.5
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
136
กิจกรรม WP ค่าWP รายเวร จานวนผู้ป
่ วย
ดึก เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย
จานวนพยาบาลต่อเวร
2 4 3 4 6 2
การพยาบาลผู้มาคลอด
ในระยะเจ็บครรภ์
11.57 11.57
/2
=5.78
11.57/
4
=2.89
11.57
/3
=3.85
5.78 x
4
2.89 x
6
3.85 x
2
คะแนนที่พยาบาลได้แต่ละเวร 22.8 17.34 7.7
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 137
กิจกรรม WP ค่าWP รายเวร จานวนผู้ป
่ วย
ดึก เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย
จานวนพยาบาลต่อเวร
3 5 3
การพยาบาลผู้ป
่ วย
ปานกลาง ( Semi
critical ill)
103.7 34.5 20.7 34.5 12 15 10
คะแนนพยาบาลที่ปฏิบัติงานแต่ละเวร
414 311 345
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 138
กิจกรรม WP
พยาบ
าล
จานวน
ผู้ป
่ วย
ต่อวัน
รวมแต้มWP จานวน
พยาบา
ลที่ขึ้น
เวร
จานวนแต้ม
ของแต่ละคน
การพยาบาล
ผู้ป
่ วยนอก
2.57 300 =2.57*300
=750
10 =750/10
=75
WP
ลุกจ้าง
จานวน
ผู้ป
่ วย
ต่อวัน
รวมแต้มWP จานวน
ลูกจ้าง
ที่ขึ้น
เวร
จานวนแต้ม
ของแต่ละคน
การพยาบาล
ผู้ป
่ วยนอก
0.79 300 237 10 23.7
การกาหนดค่าจาก การเพิ่มค่าไม่เท่ากัน
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 139
กิจกรรม เวลาที่
ใช้
(นาที)
WP
GN
เพิ่ม
ค่า
WP
GN มือ 1
เพิ่มค่า WP
GN มือ2
เพิ่มค่า WP
GN
circurate
การช่วย
ผ่าตัด
C/S
120 17.14 2 34.29 1.8 30.86 1.2 20.27
Appendec
tomy
90 12.86 1.9 24.43 1.5 19.29 1.2 15.43
Explor-
lap
90 12.86 2 38.57 1.57 33.0 1.2 28.29
สรุป
• คิดกิจกรรมที่จะนามากาหนดค่างาน
• ให้คาจากัดความ และบุคลาการทีเกี่ยวข้อง
กาหนดเวลาของกิจกรรม
หาค่า WP ของแต่ละกิจกรรม
คูณค่าตามวิชาชีพ
คิดค่าเพื่อเพิ่มน้าหนักของภาระงาน
คิดค่า WP สุดท้าย
• กาหนดแนวทางการจัดสรรแต้ม
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 140
ชัยบาดาลใช้จริง
• ว เ ิน กตาม ฝา
• ฝา การ บ ๗๐ /๓๐
• รอบ รก ัดสรร ล ท่ นว าน
• รอบสอ นว าน ัดสรร รา วิ า
• รอบสาม ัดสรร รา บ ล
• รอบส่ ัดสรร ณภา
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 141
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 142
การใช ้ประโยชน์
ด ้านการบริหารบุคคล
1. การจัดอัตรากาลัง
- เพิ่มอัตรากาลังในหน่วยที่ WP / WL มาก (เกิน 120 %)
- จัดระบบอัตรากาลังเสริม
2. การทางานเป็นทีม
- ลดปัญหาคนอู้งาน
- เกิดการช่วยเหลือกันเพื่อให้งานของทีมสาเร็จเร็วขึ้น
3. การกระจายงาน
-หัวหน้างานได้มีการกระจายงานให้จนท.ใกล้เคียงกัน ไม่หนักคนใดคนหนึ่ง
4. การช่วยเหลืองานกันในลักษณะคร่อมสายนอกหน่วยงาน
- ห้องคลอด หากไม่มีคนรอคลอดหรือคลอดให้ไปช่วย ER หรือ NCD
- ห้องผ่าตัด ช่วงไม่มีผ่าตัดให้ช่วยงาน OPD
5. การเชื่อมโยงกับระบบการประเมินงานรายบุคคล
- วางแผนจะจัดกลุ่มกิจกรรม เพื่อเชื่อมกับการกาหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
การประเมินผลงาน
การเลื่อนขั้น
ปัญหาของวิธีการประเมินแบบเก่า
 เป็นนามธรรม ใช้ความรู้สึกในการตัดสิน
 ไม่สามารถระบุความเชื่อมโยงของการปฏิบัติงานกับ
เป้าหมายขององค์กร
 การมอบหมายและกระจายงานไม่เหมาะสม
 เป้าหมายการปฏิบัติงานไม่ชัดเจน
 ระบบโควตาและการหมุนเวียนกัน
เกณฑ์ ระดับเจ้าหน้าที่
หัวหน้างาน พยาบาล ลูกจ้าง
KPI 12 ตัว
ที่เป
็ นประธานกรรมการ 15 - -
หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน 30 20 -
ระดับบุคคล - 25 -
คะแนนกรรมการ 10 10 10
Activity - 40 50
Competency
ความรู้ ข้อสอบกลาง 15 10 -
ข้อสอบหน่วยงาน - 5 -
เข้ารับการอบรม - 5 10
ผ่านประเมินทักษะ - 5 10
ประเมิน 9 ข้อ
หัวหน้าให้ - 5 10
เจ้าหน้าที่ให้กันเอง 10 5 10
ชื่อ สุรัตวดี วรรณทนี พิสุทธิ์สรี นงลัก ปัทมา
กิจกรรม/ตาแหน่ง GN 15
ปี
GN 15 ปี GN1o ปี GN 5 ปี GN 2 ปี
1.ทาหน้าที่ผู้บริหารทีม (ครั้ง) 18 6 20 12 10
2. ตัดสินใจรายงานแพทย์
(ครั้ง)
7 2 15 12 7
3.ให้การพยาบาลผู้ป
่ วย ที่
ช่วยตัวเองไม่ได้Complete
bed bath ผู้ป
่ วย (ครั้ง/ราย)
13 10 92 30 79
4. ทาหัตถการร่วมกับแพทย์ 24 12 10 12 8
5. ให้สารน้าทางเส้นเลือดดา 11 21 152 39 17
6. บริหารแผนการรักษาและ
บันทึกเอกสารทางการ
พยาบาล ( จานวน Chart)
492 422 121 40 28
ดูผลการประเมินได้ตลอดเวลา
151
ความสาคัญของเกณฑ์การให ้คะแนน
 ทาให้การพิจารณาประเมิน หรือให้คะแนน
มีความยุติธรรม ถูกต้อง
 เป็นเครื่องมือสื่อสารเกี่ยวกับลักษณะสาคัญ
ของผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์ ที่มีศักยภาพ
 ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ และมีภาพตรงกัน
 กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ไปสู่ภาพที่คาดหวัง
....กลุ่มการw3ภาระ
งานทดลองลงแล ้ว.xls
• การบริหารอัตรากาลังรายวัน
• การบริหารอัตรากาลังในภาวะวิกฤต
• การบริหารอัตรากาลังตามภาระงาน
การใช้ประโยชน์จาก
Productivity
นาคะแนนรายกิจกรรมมาเป็นเงื่อนไข
การเสริมบุคลากรในรายเวร
การปรับประเภทบุคลากรในรายเวร
การทาข้อเสนอต่อผู้บริหารในการกาหนดจานวน
บุคลากรในอนาคต
การจัดสรรทุนการศึกษาให้นักเรียนพยาบาล
การวิเคราะห์รายรับ – รายจ่าย ความคุ้มทุนของ
บริการพยาบาล
ตัวอ า กิ กรรม
แบบบันทึกเวลาในการทากิจกรรม ระยะเวลา
วันที่1
เวร เช้า
จานวนพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงาน 1 คน ทางาน7 ชม/เวร 4 1,680
กิจกรรม คะแนน/หน่วย ต่อกิจกรรม จานวน คิดเป็นเวลา
ด้านการปฏิบัติการพยาบาล(ที่พยาบาลวินิจฉัย
เอง) คะแนนเต็ม 35 0
1.ทาหน้าที่ผู้บริหารทีม (ครั้ง) 0.7 0
2.วิเคราะห์และสื่อสารส่งต่อข้อมูล ส่งเวร (ครั้ง) 0.525 60 1 60
3.ตัดสินใจรายงานแพทย์ (ครั้ง) 0.7 5 2 10
4.วางแผนการรักษาร่วมกับ แพทย์ (ราย/ครั้ง) 1.4 10 32 320
5.Complete bed bath ผู้ป่วย (ครั้ง/ราย) 0.525 45 5 225
6บริหารแผนการรักษา ( จานวน Chart) 1.3125 5 32 160
จานวนชั่วโมงความต้องการพยาบาล 2,306
ส่วนต่างของการให้บริการกับจานวนชั่วโมงทางานของพยาบาล
626
ต้องการพยาบาลเพิ่ม 1
ใช้ในการ
จัดสรรอัตรากาลังและ
ทุนการศึกษา
วิเคราะห์ความต้องการ.xls
ตัวอย่าง
แต้ม
ต้นฉับบWP1.xls
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 160
ภาระงานแพทย์ ตม
ล าวินิ ฉั ปว นอก น อม ิวเตอร์ รา 0.5
ตรว ปว ป มภมิ บบ ปว นอก รา 3
ตรว ปว ป มภมิ บบ ปว น รา 5
าปรึกษาการรักษาทา ทรศั ท์ รั 2
าปรึกษา - ตรว ปว ท่ส ตอ ากเ า นาท่ รา 4
าปรึกษา - ตรว ปว นอกท่ส ตอ าก ท ์ป มภมิ รา 6
าปรึกษา - ตรว ปว นท่ส ตอ าก ท ์ป มภมิ รา 10
ตรว รักษา ด ล ปว นัก รา 20
ตรว รักษา ด ล ปว อบัติเ ต ล ฉกเฉิน รา 5
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 161
ภาระงานทันตแพทย์ ตม
ตรว สขภา อ ปาก น 3.3
ตรว อ ปาก า า น 3.3
ถอนฟันปกติ ซ่ 11
ถอนฟัน ราก ซ่ 13.2
เ ็บ ล น อ ปาก( า ) น 5.5
ตัดไ ม น 3.3
ลา ล ส า น 3.3
ขด ินปน ร ดับ 1 น 11
ร ดับ 2 น 14.3
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 162
านบริการ า า บสั่ า 0.9
รับ order --> ัด าตาม order บสั่ า 0.3
check วามถกตอ บสั่ า 0.2
า าตามมาตร านวิ า prime question บสั่ า 0.4
า า รอมตรว วามถกตอ กอนส มอบ ( นา อ) กรณ
าเป็น
บสั่ า 0.7
า า รอมตรว วามถกตอ ปลอดภั กอนส มอบ
( นา อ)
บสั่ า 0.7
ัด า าตาม บเบิกขอ นว านตา ๆ บเบิก 1
ตรว เ ็ าท่ ัดตาม บเบิกขอ นว านตา ๆ บเบิก 1
สนับสนน าท่ นว านภา นอกขอสนับสนน(order+check) บเบิก 2
ัด าสนับสนนตามท่ นว านภา นอกขอสนับสนน บเบิก 2
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 163
ขั้นตอนเตรียมการวิเคราะห์
- ปั่น กซรั่ม รอ ลาสมา รา การ 0.3
- ปั่นตกต กอนปัสสาว รา 0.3
- การ อม น กว AFB รา 0.5
- การ อม น กว WRIGHT STAIN รา 0.5
- การ อม น กว GRAM 'S STAIN รา 0.5
- การ SMEAR SPUTUM รา 0.5
- การ SMEAR BLOOD FLIM รา 0.5
- การ SMEAR STOOL รา 0.5
- การทา STOOL OCCULTBLOOD รา 1.5
4.2 งานโลหิตวิทยา
- CBC ( CELL COUNTER ) รา 2
- CELL DIFFERENTIAN รา 2
- CELL MORPHOLOGY รา 2
งานสารบรรณ
รับหนังสือจากธุรการและแผนกต่างๆ ฉบับ 0.1
ลงทะเบียนหนังสือรับ /วิชาการ/ภายใน ฉบับ 0.2
ลงทะเบียนหนังสือส่ง ฉบับ 0.2
ประทับตราชื่อหัวหน้ากลุ่มการฯ,หนังสือส่ง,แบบประเมิน,ตาราง
เวร,OTฯลฯ
ครั้ง 0.2
ลงทะเบียนการเข้าร่วมอบรม,ประชุมวิชาการ ฉบับ 0.2
ถ่ายเอกสาร แผ่น 0.025
ลงทะเบียนวันลาทุกประเภทของ จ.น.ท. กลุ่มการฯ ใบ 0.2
บันทึกข้อความขออนุมัติต่างๆ ฉบับ 2.5
ร่างหนังสือ ฉบับ 0.8
พิมพ์หนังสือและPint หน้า 0.6
พิมพ์ซองจดหมาย แผ่น 0.6
ภาระงานงานการเงินและบัญชี
การบันทึกบัญชี(รายวัน) ครั้ง 6.5
การบันทึกบัญชี (รายจ่าย) ครั้ง 6.5
การบันทึกบัญชีระบบคอมพิวเตอร์ ครั้ง 7
การจัดทางบเดือน ฉบับ 0.9
การตรวจรับเอกสาร ชุด 1.7
การขออนุมัติเพื่อเบิกจ่าย ชุด 1
การเขียนเช็คและจ่ายเช็ค ฉบับ 2
การนาเงินฝากธนาคาร ครั้ง 12
การรับเงินมัดจาสัญญา ครั้ง 2
การทาสัญญาและชดให้สัญญาเงินยืม ครั้ง 2
การคุมใบเสร็จรับเงิน เล่ม 2
ภาระงาน ธุรการ
รับเอกสารในหน่วยงาน (ฝ่ายต่างๆ) ฉบับ 0.1
รับเอกสารจากนอกหน่วยงาน (ไปรษณีย์) ครั้ง 1
ลงทะเบียนเอกสารส่วนตัว จนท.(จากไปรษณีย์) ฉบับ 0.3
ลงทะเบียนรับเอกสารราชการ (นอกหน่วยงาน) ฉบับ 0.5
ลงทะเบียนรับเอกสารจากในหน่วยงาน ฉบับ 0.3
เกษียนหนังสือเสนอ ฉบับ 0.4
เสนอหนังสือ ฉบับ 0.5
ตรวจสอบเอกสารหลังจากที่ผู้มีอานาจลงนาม ฉบับ 0.5
ลงทะเบียนส่งหนังสือ (นอกหน่วยงาน) ฉบับ 0.3
จ่าหน้าซอง , บรรจุซอง , ห่อพัสดุ ซอง 0.2
ส่งโทรสาร แผ่น 0.2
ภาระงานพนักงานขับรถ
ตรวจเช็คสภาพรถให้มีความพร้อม ครั้ง 1
ตรวจเช็คสภาพรถฉุกเฉินให้มีความพร้อม ครั้ง 1.5
รับส่งเจ้าหน้าที่ภายในอาเภอ ครั้ง 3
รับส่งเจ้าหน้าที่ภายในจังหวัด เที่ยว OT
รับส่งแขกของโรงพยาบาลในจังหวัด เที่ยว OT
รับส่งเจ้าหน้าที่นอกจังหวัด เที่ยว OT
รับส่งเจ้าหน้าที่/ผู้ป่วยระยะไกล วัน 2 OT
การรับผู้ป่วย ณ.จุดเกิดเหตุส่งโรงพยาบาล เที่ยว 12.5
ส่งผู้ป่วยภายในจังหวัด เที่ยว 12.5
ส่งผู้ป่วยนอกจังหวัด OT
ให้ข้อมูลผู้ป่วย ครั้ง/ราย 0.2
บริการเป็นธุระ/ของฝากทางราชการ จุด 1
ล้างทาความสะอาดรถ ครั้ง/คัน 3
ภาระงานโภชนากร
เขียนรายงานการสั่งซื้อลงแบบฟอร์ม ใบ 0.3
สรุปบัญชี เบิก-จ่าย อาหารผู้ป่วย ฉบับ 5
คิดเมนูอาหารสาหรับผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ วัน 5
สั่งซื้อวัตถุดิบตามเมนูที่กาหนด (มื้อเช้า-กลาง-วัน-เย็น) วัน 7
ให้สุขศึกษาแก่ผู้ป่วยเฉพาะโรค ราย 2
ตรวจสอบความถูกต้องของอาหารที่จะนาไปบริการอาหาร
ผู้ป่วย
ราย 0.3
คิดคานวณสูตรอาหารสายยาง และประกอบอาหารสายยาง ราย 6
ผู้ป่วยและญาติกลับบ้าน สอนภาคปฏิบัติแก่ผู้ป่วยและญาติ ราย 3
บริการสอบถามอาหารผู้ป่วย ตามตึกต่างๆ(พิเศษ) ราย 0.8
Kanniga [บันทึกอัตโนมัติ]
Kanniga [บันทึกอัตโนมัติ]

More Related Content

Viewers also liked

03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau
03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau
03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbauSOLARWATT
 
Deportes Sin Barreras
Deportes Sin BarrerasDeportes Sin Barreras
Deportes Sin Barrerasjorgeenciso69
 
Ssmed 2ª fase treinamento de questões discursivas
Ssmed 2ª fase treinamento de questões discursivasSsmed 2ª fase treinamento de questões discursivas
Ssmed 2ª fase treinamento de questões discursivassartremoyses
 
01 solarwatt carport system-einführung
01 solarwatt carport system-einführung01 solarwatt carport system-einführung
01 solarwatt carport system-einführungSOLARWATT
 
Durente il tuo Viaggio con iDBUS
Durente il tuo Viaggio con iDBUSDurente il tuo Viaggio con iDBUS
Durente il tuo Viaggio con iDBUSiDBUSIT
 

Viewers also liked (12)

Sol bahia
Sol bahiaSol bahia
Sol bahia
 
G0343052058
G0343052058G0343052058
G0343052058
 
Tapas Madrid
Tapas MadridTapas Madrid
Tapas Madrid
 
Paradigma de la_ingenieria_de_sistemas_def
Paradigma de la_ingenieria_de_sistemas_defParadigma de la_ingenieria_de_sistemas_def
Paradigma de la_ingenieria_de_sistemas_def
 
03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau
03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau
03 solarwatt carport system-systemkomponenten aufbau
 
Safecars
SafecarsSafecars
Safecars
 
Megadados (09 02-15)
Megadados          (09 02-15)Megadados          (09 02-15)
Megadados (09 02-15)
 
Deportes Sin Barreras
Deportes Sin BarrerasDeportes Sin Barreras
Deportes Sin Barreras
 
Ssmed 2ª fase treinamento de questões discursivas
Ssmed 2ª fase treinamento de questões discursivasSsmed 2ª fase treinamento de questões discursivas
Ssmed 2ª fase treinamento de questões discursivas
 
Musikindustrie in Zahlen 2012
Musikindustrie in Zahlen 2012Musikindustrie in Zahlen 2012
Musikindustrie in Zahlen 2012
 
01 solarwatt carport system-einführung
01 solarwatt carport system-einführung01 solarwatt carport system-einführung
01 solarwatt carport system-einführung
 
Durente il tuo Viaggio con iDBUS
Durente il tuo Viaggio con iDBUSDurente il tuo Viaggio con iDBUS
Durente il tuo Viaggio con iDBUS
 

Similar to Kanniga [บันทึกอัตโนมัติ]

Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีnawaporn khamseanwong
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การLink Standalone
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรตินวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีnawaporn khamseanwong
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1siriyaporn20099
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงRadanat Chiachai
 
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพArunee Muangma
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรตินวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรตินวพร คำแสนวงษ์
 
"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติnawaporn khamseanwong
 

Similar to Kanniga [บันทึกอัตโนมัติ] (20)

Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Nurse workload
Nurse workloadNurse workload
Nurse workload
 
การเปลี่ยนสายงาน
การเปลี่ยนสายงานการเปลี่ยนสายงาน
การเปลี่ยนสายงาน
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยงานบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานช่วยโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ปฏิบัติงานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 
"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Loadแนวข้อสอบ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 

More from กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

More from กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 

Kanniga [บันทึกอัตโนมัติ]

  • 3.
  • 4. • มีหน่วยงานที่ทาแล้วประสบความสาเร็จ โดย งบประมาณอยู่รอดและไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนสูง กว่าที่อื่น –โรงพยาบาล พาน จังหวัดเชียงราย • มีการฟ้องร้องเกิดขึ้นจากความขาดจิตสานึกของคน ให้บริการ • การแข่งขันด้านความต้องการบุคคลากรที่มากขึ้น กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 4
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 44.  Merit-based payment  Performance-based payment  Competency-based payment - Basic salary / Top-up payment การบริหารค่าตอบแทน (Compensation management)
  • 45.  เงินเดือนหรือค่าตอบแทนเป็นตามกระบอกเงินเดือนหรือเงิน ประจาตาแหน่ง มักใช้วุฒิการศึกษาเป็นตัวกาหนด  ตาแหน่งที่มีวุฒิเดียวกัน มักได้ค่าตอบแทน(เช่น ค่า OT หรือค่า เวร) ที่เท่ากันแม้จะมีความรับผิดชอบหรือภาระงานไม่เท่ากัน  มักเป็นที่ยอมรับ เพราะไม่เกิดการเปรียบเทียบ  ไม่ยุติธรรม ไม่เอื้ออานวยให้เกิดการพัฒนาบุคคล ไม่ส่งเสริมให้ เกิดระบบการบริหารบุคลากรที่เหมาะสม Merit-based payment
  • 46.  ค่าตอบแทนแปรตามลักษณะงานและภาระงาน (ไม่ใช่วุฒิ การศึกษา)  ส่งเสริมให้เกิดการบรรจุบุคลากรเข้าปฏิบัติงานในหน่วยงาน/ องค์กรที่เหมาะสม โดยมีการยอมรับ  แม้ส่งผลให้องค์กรมีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น แต่ ผลสัมฤทธิ์ของงานจะดีขึ้นอย่างมาก  เอื้ออานวยต่อการบริหารองค์กรแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result- based management) Performance-based payment
  • 47.
  • 48. ระบบบริหารค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน Performance-Base Pay 1) จานวนผลผลิตต้องมากกว่าจานวนมาตรฐานที่กาหนดไว้ในระบบ ค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงานต้องมีการกาหนดมาตรฐานเวลา ผลผลิตขั้นต่า เอาไว้เมื่อทางานได้เกินมาตรฐานขั้นต่าจึงจะมีสิทธิได้รับค่าตอบแทน 2) การทางานนั้นต้องใช้ความพยายามหรือความตั้งใจมากกว่าธรรมดา ต้องมี ความขยัน และตั้งใจในการปรับปรุง หรือเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น 3) ต้องมีการกาหนดมาตรฐานของเวลา มาตรฐานของงาน ตลอดจนวิธีวัดผล งานที่จะใช้ในระบบค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน ต้องมีการทาข้อตกลง ก่อนนาไปใช้
  • 49. หลักการ  ภาระงานเพิ่ม  ผลงานเพิ่ม  คุณภาพงานเพิ่ม  ความชานาญ ึงระดับ กรอบแนวคิดการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการป ิบัติงาน ผลการป ิบัติงานตามเกณ ์ขั้นต่า าตอบ ทน น าน ผลการป ิบัติงานเกิน เกณ ์ขั้นต่า าตอบ ทน ัน ปร ลลั ์ขอ าน บรรลเปา มา อ ์กร าตอบ ทนเสริม ลปร น์เกอกล นด นเก มาทา าน
  • 50.
  • 51. การเพิ่มค่าตอบแทน • จัดแบ่งค่าตอบแทนออกเป็น 2 ส่วนหลัก – การให้ค่าตอบแทนตามค่างาน (Job Evaluation) – การให้ค่าตอบแทนตามปริมาณภาระงาน
  • 52. การให้ค่าตอบแทนตามค่างาน (Job Evaluation) นาหลักการประเมินค่างานมาใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณา เพื่อจ่ายค่าตอบแทนตามค่างาน การประเมินค่างาน (Job evaluation) วิธีการดาเนินการอย่างเป็นระบบเพื่อที่จะช่วยให้สามารถ กาหนดค่าของงานเปรียบเทียบกันได้ภายในองค์การ ปัจจุบัน วิธีการประเมินค่างานที่เป็นที่รู้จักและนิยมใช้มาก แบ่งออกได้ เป็น 5 วิธี
  • 53. การประเมินค่างาน (Job evaluation) (ต่อ) 1. การจัดลาดับ (Ranking) 2. การจัดชั้นงานหรือการจาแนกตาแหน่งงาน (Job Classification) 3. วิธีการให้แต้มหรือค่าคะแนน (Point Method) 4. การเปรียบเทียบปัจจัย (Factor Comparison) 5. วิธีการใช้ชุดผังประเมินที่จัดทาขึ้น (Guide Chart-profile method) การให้ค่าตอบแทนตามค่างาน (Job Evaluation)
  • 54. ปัจจัยที่นามาใช้ในการประเมินค่างานมีองค์ประกอบ 2 ด้านหลัก รวม 8 ข้อย่อย ดังนี้ 1. ด้านประสบการณ์ 2. ด้านความรับผิดชอบ การประเมินค่างาน (Job evaluation) Modified Hay-Guided Chart
  • 55. – ระดับความรู้ทางวิชาการ – การจัดการ – มนุษยสัมพันธ์ – สภาพการปฏิบัติงาน ด้านประสบการณ์
  • 56.  ด้านความรับผิดชอบ  ระดับความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จ  ความยาก-ง่ายในการปฏิบัติงานให้สาเร็จ  การมีส่วนร่วมให้งานสาเร็จ  ลักษณะตาแหน่ง
  • 57.  ระดับความรู้ทางวิชาการ แบ่งเป็น 8 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 1 พื้นฐาน – ระดับต้น  ระดับที่ 2 พื้นฐาน – ระดับสูง  ระดับที่ 3 เทคนิค – ระดับต้น  ระดับที่ 4 เทคนิค – ระดับสูง  ระดับที่ 5 วิชาชีพเฉพาะด้าน – ระดับต้น  ระดับที่ 6 วิชาชีพเฉพาะด้าน – ระดับสูง  ระดับที่ 7 เชี่ยวชาญ – ระดับต้น  ระดับที่ 8 เชี่ยวชาญ - ระดับสูง ด้านประสบการณ์
  • 58.  การจัดการ แบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้  ลักษณะที่ 1 งานเดี่ยว  ลักษณะที่ 2 งานผสม  ลักษณะที่ 3 งานควบ  ลักษณะที่ 4 งานรวม  มนุษยสัมพันธ์ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 1 ขั้นพื้นฐาน  ระดับที่ 2 ระดับกลาง  ระดับที่ 3 ระดับสูง ด้านประสบการณ์(ต่อ)
  • 59.  สภาพการปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 1 สภาพแวดล้อมปกติ  ระดับที่ 2 งานที่เสี่ยงอันตราย  ระดับที่ 3 งานที่เสี่ยงอันตรายสูง ด้านประสบการณ์(ต่อ)
  • 60.  ความรับผิดชอบต่อความสาเร็จ แบ่งเป็น 9 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 0 งานปฏิบัติการเบื้องต้น  ระดับที่ 1 งานปฏิบัติการระดับกลาง  ระดับที่ 2 งานปฏิบัติการระดับสูง  ระดับที่ 3 งานช่วยบังคับบัญชา / เทียบเท่า  ระดับที่ 4 งานบังคับบัญชาระดับต้น / เทียบเท่า  ระดับที่ 5 งานบังคับบัญชาระดับกลาง / เทียบเท่า  ระดับที่ 6 งานบังคับบัญชาระดับสูง / เทียบเท่า  ระดับที่ 7 งานบริหารหรืองานนโยบายระดับต้น  ระดับที่ 8 งานบริหารหรืองานนโยบายระดับสูง ด้านความรับผิดชอบ
  • 61.  ความยาก-ง่ายในการปฏิบัติงานให้สาเร็จ แบ่งเป็น 6 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 1 ลักษณะของงานที่มีแนวทาง คาชี้แจง คาแนะนา และคู่มือที่แน่ชัด  ระดับที่ 2 ลักษณะของงานที่มีแนวทาง คาชี้แจง คาแนะนา และคู่มือที่ชัดเจน แต่อาจต้องอาศัยวิจารณญาณของตนเอง ประกอบการดาเนินงาน  ระดับที่ 3 ลักษณะของงานที่มีแนวทาง คาชี้แจง คาแนะนา และคู่มือที่ไม่ชัดเจน ต้องปรับวิธีการและแผนงานให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ด้านความรับผิดชอบ(ต่อ)
  • 62.  ระดับที่ 4 ลักษณะของงานที่มีแนวทางปฏิบัติไม่ชัดเจน ต้อง อาศัยนโยบายขององค์กร กฎระเบียบต่างๆ ต้องนาหลัก ตรรกวิทยา หรือแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้ศึกษาข้อมูลและ ตัดสินใจ  ระดับที่ 5 ลักษณะของงานที่มีแนวทางปฏิบัติไม่ชัดเจน ต้อง อาศัยนโยบายขององค์กร กฎระเบียบต่างๆ ต้องนาหลัก ตรรกวิทยาหรือแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้ศึกษาข้อมูลและ ตัดสินใจในเรื่องที่มีความซับซ้อน  ระดับที่ 6 ลักษณะของงานที่ต้องประยุกต์หลักตรรกวิทยาหรือ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์และประสบการณ์มาใช้ศึกษาข้อมูลและ ตัดสินใจในเรื่องที่มีความซับซ้อนมาก ด้านความรับผิดชอบ(ต่อ)
  • 63.  การมีส่วนร่วมต่อความสาเร็จ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 1 มีส่วนสนับสนุนทางอ้อม  ระดับที่ 2 มีส่วนสนับสนุนโดยตรง  ระดับที่ 3 ผลักดัน  ลักษณะตาแหน่ง แบ่งเป็น 2 ระดับ ดังนี้  ระดับที่ 1 งานปฏิบัติ  ระดับที่ 2 งานวิชาการ ด้านความรับผิดชอบ(ต่อ)
  • 64.
  • 66.
  • 67.
  • 69. ค่าคะแนนประกันขั้นต่า  คะแนนจากการปฏิบัติงานที่เก็บได้มากกว่าคะแนนประกันขั้นต่า จึงจะสามารถเบิกค่าตอบแทน P4P  มาตรฐานเวลาทาการที่นามาคิดคะแนนประกันขั้นต่า คือ 20 วันต่อ เดือน มาจากคิดวันทางานทั้งปี มาหาค่าเฉลี่ยเพื่อให้แต่ละเดือน ใกล้เคียงกัน และสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล และ 7 ชม.ต่อวัน  ไม่ให้บุคลากรเก็บค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน (Work point) ใน กิจกรรมที่มีการจ่ายค่าตอบแทนรายกิจกรรมอยู่แล้ว (เช่น การจ่าย ค่าตอบแทนในการผ่าตัดต่อราย เป็นต้น)
  • 70. วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า การกาหนดค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่า สามารถกาหนด ได้หลายวิธี 1. คิดตามฐานเงินเดือน กาหนดให้นาเงินเดือนที่ได้รับมาปรับเป็น คะแนนประกันขั้นต่า ในอัตรา 10 บาทต่อ 1 คะแนน  ข้อพึงระวัง ข้าราชการอาวุโสคะแนนประกันขั้นต่าสูงมาก  หากเลือกใช้วิธีนี้จาเป็นต้องมีการกาหนดค่าคะแนนประสบการณ์ เป็นตัวคูณในการเก็บค่าคะแนนปฏิบัติงานตามระบบปกติด้วย
  • 71. วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า 2. คิดตามอัตรากลางที่กาหนดไว้ มี 2 วิธีย่อย 2.1 กาหนดให้บุคลากรแต่ละคนมีค่าคะแนนประกันขั้นต่าเท่ากัน โดยคิดจากเวลา ทางานขั้นต่าต่อวันของข้าราชการทั่วไป = 8,400 นาทีต่อเดือน  กาหนดให้ 1 นาที เทียบเท่ากับ 1 คะแนน  ค่าคะแนนประกันขั้นต่าของทุกสาขาวิชาชีพจะเป็น 8,400 คะแนนต่อเดือน เท่ากัน  ใช้กับการคิดค่าคะแนนปฏิบัติงานแบบ Modify Hay Guide Chart  ข้อพึงระวัง แม้จะมีระยะเวลาทางานเท่ากัน แต่ความยากง่ายของงานไม่เท่ากัน  แนะนาให้แยกการจัดสรรเงินค่าตอนแทนตามกลุ่มวิชาชีพ หรือต้องมี คณะกรรมการกลางในการวิเคราะห์ค่างานของทุกวิชาชีพตามเกณฑ์เดียวกัน ทาร่วมกันทุกวิชาชีพอีกระดับหนึ่ง
  • 72. 2.2 กาหนดให้บุคลากรวิชาชีพเดียวกันมีค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้น ต่าเท่ากัน (แต่บุคลากรต่างวิชาชีพจะมีค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้น ต่าไม่เท่ากัน)  อิงหลักการ แต่ละวิชาชีพมีความยากง่ายในการทางานไม่เท่ากัน วิชาชีพที่ยาก กว่าจะมีค่าคะแนนปฏิบัติงานมากกว่า ค่าคะแนนประกันขั้นต่าที่สูงกว่า  ใช้วิธีเทียบเคียงจากค่าตอบแทนล่วงเวลาของแต่ละวิชาชีพนั้นๆ  นาอัตรา OT ของวิชาชีพนั้นๆ มากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันใน 1 วันคูณด้วย 20 วันทาการ อัตราคะแนนละ 10 บาท เช่น แพทย์ อัตรา OT = 1,100 บาท = 110 แต้มต่อวัน ดังนั้นค่าคะแนนประกันขั้นต่าของแพทย์= 110x20 = 2,200 แต้ม วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า
  • 73. วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า 3. การกาหนดค่าคะแนนประกันขั้นต่าในส่วนของการปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ 3.1 วิธีที่ 1 คิดค่าคะแนนประกันขั้นต่าสาหรับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ  โดยนาค่าตอบแทนที่ได้รับทั้งหมดมากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่า เพิ่มจากค่าคะแนนประกันขั้นต่าของการปฏิบัติงานในเวลาราชการ (ข้อ 1 หรือ 2 ข้างต้น) ในอัตราคะแนนละ 10 บาท  ตัวอย่างเช่น แพทย์ได้รับ OT ในเดือนนั้นเป็นเงินทั้งสิ้น 12,000 บาท ดังนั้นค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่าของแพทย์รายนี้ = 2,200+(12,000/10) = 3,400 แต้ม  เหมาะสาหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการค่อนข้างมากใน ทุกกลุ่มงานที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
  • 74. วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า 3.2 วิธีที่ 2 ไม่คิดค่าคะแนนประกันขั้นต่าสาหรับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และกาหนดให้บุคลากรทั้งหมดที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ งดการเก็บ ค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ  ยกเว้น บุคลากรที่ขึ้นปฏิบัติงานในลักษณะเวรผลัด (ปฏิบัติงานในลักษณะ เดียวกับพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในลักษณะเวรผลัด) บุคลากรกลุ่มนี้ให้นา ค่าตอบแทนที่ได้รับทั้งหมดมากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่าเพิ่มจาก เดิม และให้เก็บค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในขณะที่ขึ้น ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการกาหนดวันทา การในตารางปฏิบัติงาน)  เหมาะสาหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการไม่มาก หรือ โรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการมากเฉพาะในบางกลุ่มงาน
  • 75. วิธีกาหนดคะแนนประกันขั้นต่า 3.3 วิธีที่ 3 ปรับวิธีที่ 3.1 และ 3.2 เข้าหากัน  คิดสัดส่วนที่กาหนดกับค่าตอบแทนที่ได้รับ มากาหนดเป็นค่าคะแนนประกันขั้น ต่าเพิ่มจากค่าคะแนนประกันขั้นต่าของการปฏิบัติงานในเวลาราชการ (เช่น กาหนด 25 % ของค่าตอบแทนนอกเวลาที่ได้รับมาเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่า เพิ่มเติม) ในอัตราคะแนนละ 10 บาท  เช่น แพทย์ได้รับ OT ในเดือน 12,000 บาท และโรงพยาบาลกาหนดให้คิด 25 % ของค่าตอบแทนนอกเวลาเป็นค่าคะแนนประกันขั้นต่าเพิ่มเติม ดังนั้นค่าคะแนน ประกันขั้นต่าของแพทย์รายนี้ = 2,200+{(12,000x25/100)/10} = 2,500 แต้ม  อนุญาตให้บุคลากรทั้งหมดที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ จัดเก็บค่าคะแนน ผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้  เหมาะสาหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการในระดับปานกลาง
  • 76. วิชาชีพ OT ต่อ วัน OT ต่อ ชั่วโมง (7 ชม.) แต้ม ชั่วโมง OT แต้มต่อเดือน (20วัน) แพทย์/ทันตแพทย์ 1100 157.14 15.71 2200 เภสัชกร 720 102.85 10.28 1440 พยาบาลวิชาชีพ 600 85.71 8.57 1200 จพง. / พยาบาล เทคนิค 480 68.57 6.85 960 ลูกจ้างประจา/ลูกจ้าง ชั่วคราว 300 42.86 4.28 600
  • 77. การปร กันปริมาณ านบริการ ปว นอก 1. านบริการ ปว นอก (ทม) เวลา 08.00-12.00 น. วันรา การ ขอบเขต าน รับ ิด อบ านบริการ ปว นอก ตั ตกร บวนการรับ ปว ท่ OPD นถึ า นา ปว ออก าก OPD ( กลับบาน , Admitt , ส ตอ ) บ ลากร านวน ตม 4 ั่ว ม ตมปร กัน ปริมาณ านปร กัน านวน าบาลวิ า 4 34.28 (4*8.57) 137.12 (4*34.28) ปว นอก 230 น าบาลเท นิ 2 27.40 (4*6.85) 54.8 (2*27.4) รับConsult 20 น ลก า 3 17.12 (4*4.28) 51.36 (3*17.12) รวม 243.28 รวม 250 น
  • 78. Example bullet point slide • Bullet point • Bullet point – Sub Bullet
  • 79. ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน (Work Point System) การวัดปริมาณภาระงาน (Workload) มี 5 วิธี 1. Activity base approach กาหนดค่าคะแนนราย กิจกรรมของ ทุกงาน โดยคานึงถึง เวลาที่ใช้ในการทางาน นั้นๆ คะแนนต่อเวลาของแต่ละวิชาชีพ และคะแนนความ ยากง่าย บุคลากรต้องเก็บข้อมูลการปฏิบัติงานทุกงานโดย ละเอียด 2. Apply activity base ปรับการเก็บข้อมูลให้ง่ายขึ้น เป็น ลักษณะเหมารวมเช่น ไม่เก็บข้อมูลรายกิจกรรมของ พยาบาล แต่เก็บข้อมูลการจาแนกประเภทผู้ป่วยแล้วปรับ เป็นคะแนนให้แทน เป็นต้น
  • 80. 3. Result Base approach by DRG-RW เป็นการนา DRG มาปรับใช้กับ กิจกรรมของแพทย์ จึงเก็บข้อมูลเฉพาะผู้ป่วย ไม่ต้องเก็บข้อมูลกิจกรรม ละเอียด • ใช้กับการดูแลผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก และกิจกรรมอื่นๆ ใช้วิธี Activity base approach หรือ Apply Activity with time base approach • ใช้ได้เฉพาะแพทย์เท่านั้น RW P4P = RW - ต้นทุนบริการ RW P4P = RW - Material cost Base rate per RW ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน (Work Point System)
  • 81. 4. Job Evaluation by Modified Hay-Guide Chart ประเมินค่า งานจากการเปรียบเทียบปัจจัยการปฏิบัติงาน 2 ด้าน ได้แก่ • องค์ประกอบด้านประสบการณ์: ระดับความรู้ทางวิชาการ, การ จัดการ, มนุษยสัมพันธ์, สภาพการปฏิบัติงาน • ด้านความรับผิดชอบ: ระดับความรับผิดชอบต่อผลสาเร็จ, ความ ยากง่าย, การมีส่วนร่วม,ลักษณะงาน ปริมาณภาระงาน = จานวนหน่วยบริการของงาน x เวลามาตรฐาน x ระดับค่างานจากการเปรียบเทียบ วิธีเหมาะกับทุกวิชาชีพ แต่ขณะนี้มีเกณฑ์ที่จัดทาเสร็จแล้วสาหรับ พยาบาล เภสัชกร และทันตแพทย์ ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน (Work Point System)
  • 82. ตัวอย่างคะแนน Job Evaluation by Modified Hay-Guide Chart ลาดับ กิ กรรม ลัก นว เวลามาตร านตอ 1 นว (นาท) นา นัก า าน 1 การตรว ัดกรอ รา 5 1.5 2 การ าปรึกษาเก่ วกับสขภา ล การด ลตนเอ รา 15 1 6 การด ล ปว ไมฉกเฉิน (Non- urgent N1) รา 39 1.25 7 การด ล ปว ไมฉกเฉิน (Non- urgent N2) รา 46 1.5 8 การด ล ปว ฉกเฉิน (Urgent) รา 59 2 9 ปว ฉกเฉินมาก (Emergent) รา 65 2
  • 83. 5. Pieces Rate payment จ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณงานโดยการมอบหมายงานให้ทา ให้สาเร็จเป็นชิ้นงานในระยะเวลาที่กาหนด เหมาะกับงานที่มีลักษณะเป็นชิ้นงาน สามารถจัดทาให้แล้วเสร็จเป็นครั้งๆ ไป ได้แก่ งานสนับสนุน งานบริหาร งาน โครงการที่มีระยะเวลากาหนดชัดเจน เป็นต้น • การจ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณภาระงาน สามารถเลือกใช้ระบบการคิดค่าคะแนน ผสมผสานได้หลายวิธี เช่น 1. ใช้วิธี Result base approach by DRG-RW สาหรับแพทย์ และใช้วิธี Job evaluation by Modified Hay-Guide Chart สาหรับวิชาชีพ พยาบาล เภสัชกร ทันตแพทย์ ในส่วน ของงานบริหารใช้วิธี Work piece เป็นต้น หรือ 2. ใช้วิธี Result base approach by DRG-RW สาหรับแพทย์ บุคลากรอื่นใช้วิธี Activity base หรือ Apply Activity base เป็นต้น ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน (Work Point System)
  • 84. การวัดคะแนนคุณภาพงาน (Quality Point) • หลักการคิดค่าคะแนนคุณภาพต้องคานึงถึง ผลงานคุณภาพทั้งเป็นราย หน่วยงาน ทีมงาน ทีมคร่อมสายงาน และรายบุคคล • กาหนดจัดเก็บค่าคะแนนเป็นรายกิจกรรม หรือ • วัดตาม KPI ของโรงพยาบาลและของหน่วยงาน – อาจถ่วงน้าหนักค่าความมีส่วนร่วมในผลงานดังกล่าวเป็นรายบุคคล เช่น 80% ของคะแนนคุณภาพที่ได้เฉลี่ยให้บุคลากรทุกคนในหน่วยงาน 20% ที่เหลือ แบ่งหัวหน้าหน่วยและผู้รับผิดชอบโดยตรงอีกคนละ 10% • ค่าคะแนนปฏิบัติงานตามคุณภาพ (Quality point) ที่ได้ นามาจัดสรร เพิ่มเติมจากค่าคะแนนปฏิบัติงานตามปริมาณงานที่เก็บได้ หรืออาจนามา เป็นตัวคูณกับค่าคะแนนผลการปฏิบัติงานตามปริมาณงานที่เก็บได้ ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน (Work Point System)
  • 85. สาหรับงานบริหารงานกลางของโรงพยาบาล • ภาระงานทางการบริหาร เป็นการเพิ่มบทบาทความรับผิดชอบจากงาน ปกติ – สร้างแรงจูงใจให้ทางานบริหาร – ลดความกังวลในการตามเก็บภาระงานปกติ • ลดสัดส่วนของค่าคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่าของผู้บริหาร แต่ละระดับ • จัดสรรวงเงินค่าตอบแทนสาหรับงานบริหารกลางของผ้บริหารแต่ละ ระบบการคิดค่าคะแนนป ิบัติงาน (Work Point System)
  • 86. สัดส่วนการเบิกจ่ายระหว่างวิชาชีพ – สัดส่วน Activity point : Quality Point ปรับตามบริบทของโรงพยาบาล – นาคะแนนรวมทั้ง รพ. มาจัดสรร ข้อดี ยุติธรรม ข้อเสีย ความจริงมีความ แตกต่างระหว่างวิชาชีพ+ฝ่าย, ไม่เหมาะกับ รพ.ขนาดใหญ่ – แยกงบให้แต่ละฝ่าย ข้อดี ลดความได้เปรียบเสียเปรียบในระหว่างฝ่าย ข้อเสีย ประสิทธิภาพการทางานของแต่ละฝ่ายไม่เท่ากัน – แยกงบตามกลุ่มวิชาชีพ เช่น คิดแพทย์แยกจากวิชาชีพอื่น ข้อดี เหมาะ สาหรับโรงพยาบาลใหญ่ – ผสม
  • 87. ระบบการบริหารงบประมาณ ระบบที่ 1 ค่าคงที่ตามงบประมาณ การคานวณแต้มต่อหน่วย ค่าตอบแทนต่อหน่วยคะแนนผลงานจะผันแปรในแต่ละงวด แต้มคะแนนจะผันตามปริมาณแต้มที่เก็บได้ในแต่ละเดือน ทุกคนมีค่าตอบแทนต่อแต้มเท่ากันทุกคน • ระบบที่ 2 แบ่งตามหน่วยงานและ ระบบแบ่งตามวิชาชีพ ค่าตอบแทนแต่ละหน่วยจะคงที่ ค่าตอบแทนต่อหน่วยคะแนนผลงานจะผันแปรในแต่ละงวด ของแต่ละหน่วยงาน ค่าตอบแทนต่อแต้มของแต่ละหน่วยงาน จะมีค่าไม่เท่ากัน กรรณิกาปัญญาอมรวัฒน์ 87
  • 88. การบริหารงบประมาณ รูปแบบ ที่ 2 แบ่งตามหน่วยงานและ ระบบแบ่งตามวิชาชีพ แล้ว แปลง คะแนนเป็นค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน 1. ค่าตอบแทนในแต่ละเดือนจะถูกแบ่งให้แต่ละฝ่ายตามฐาน ยอดเงินคงที่ 2 นาแต้มประกันต่อวันของแต่ละวิชาชีพทุกคนรวมกันโดยแยกรายฝ่าย นามาแบ่งวงเงินออกเป็นแต่ละ ตะกร้าเงิน ของฝ่ ายตามสัดส่วนแต้มที่ ได้ 3 กรณีผู้มีคะแนนติดลบจากผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ประกัน ถกตัดแต้ม ประกันของฝ่ายและปรับลดยอดเงินที่ฝ่ายได้รับตามสัดส่วนแต้มทีมที่ เหลือ และวงเงินที่เหลือควร คืนเงินบารุง
  • 89. การจ่ายตามภาระงาน • แยกย่อยระดับไหน • ข้อดี - ทาให้ทราบตัวเงินชัดเจน - ความยากง่ายของงาน (Professional) - รูปแบบคล้ายเดิม - ลดความเหลื่อมล้าจากการกาหนดค่า คะแนนแต่ละวิชาชีพ • ข้อเสีย - ถูกบังคับโดยเพดาน - ค่าเงินต่อแต้มไม่เท่ากัน • ทุกคนนาแต้มมารวมกัน • ข้อดี - โอกาสได้รับจานวนเงินมากขึ้นตามภาระงาน - 1 คะแนนมีมูลค่าเท่ากัน • ข้อเสีย - ความยากง่ายของงานไม่เท่ากัน - เกิดความเหลื่อมล้าค่างานแต่ละวิชาชีพ - ไม่เหมาะกับ รพ.ขนาดใหญ่ แยกแผนก รวมแผนก
  • 90. ที่มาของเงิน รพช. •เงินที่ปรับลดจากเดิมของ ฉ๘ กับ ฉ๔ –แพทย์ ทันตแพทย์ เภสั •เงิน ๑% ของ ค่าแรง
  • 92.
  • 94. ขั้นตอนในการวิเคราะห์เพื่อหาภาระงานและการ กาหนดน้าหนัก • วิเคราะห์ ภาระงานหลักของแต่ละหน่วยงาน (Functional Description)  วิเคราะห์ภาระหน้าที่ของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (job analysis) ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
  • 98. Hemato Chem Micro Immuno UA Blood OPD รวม 1 640 3,578 58.88% 2 7,154 89.61% 3 7,663 96.02% 4 7,262 91.00% 5 4,636 404 72.18% 6 670 609 4,673 74.58% 7 7,346 92.05% 8 5,670 71.05% 9 7,080 88.72% 10 4,646 58.22% พฤษภาคม
  • 99. Hemato Chem Micro Immuno UA Blood OPD รวม 1 1,770 4,541 81.07% 2 8,739 99.08% 3 9,314 109.0% 4 7,867 91.23% 5 8,539 404 102.2% 6 670 6,177 73.43% 7 7,270 85.82% 8 7,221 81.87% 9 7,950 90.13% 10 5,613 63.63% มิถุนายน
  • 101. 101 วัตถุประสงค์ของการกาหนดลักษณะการกระจายงาน เพื่อการกาหนดสัดส่วนหรือน้าหนักการ ปฏิบัติงานให้เกิดความเป ็ นธรรม (Fair) ในการ ประเมิน การกาหนดสัดส่วนของงานทั้ง 3 กลุ่ม คือ งาน กลยุทธ์ งานประจา/สนับสนุน และ งานที่ได้รับ มอบหมาย โดยใช้ฐานของร้อยละ
  • 102. การกระจายภาระงานออกเป็น3 กลุ่ม  งานการพยาบาลโดยตรง เช่น การพยาบาลผู้ป่ วยที่ติดเครื่องมือ ผู้ป่ วยที่ต้องการการประเมินและเฝ ้ าระวังอย่างต่อเนื่อง  งานการพยาบาลที่สอดคล้องกับแผนการรักษา เช่น การให้ยา /หัตถการ /การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ  งานคู่ขนานการพยาบาล การบันทึกทางการพยาบาล การส่งต่อข้อมูลผู้ป่ วยเพื่อการวางแผนการรายบุคคล
  • 103. กิจกรรม คะแนน/ หน่วย สุรัตน์วดี วรางคณา นงลักษณ์ พิสุทธิ์ศรี ปัทมา สุมาลี ดวงนภา ด้านการปฏิบัติการพยาบาล คะแนนเต็ม 35 1.ทาหน้าที่ผู้บริหารทีม (ครั้ง) 0.7 18 10 13 16 8 9 0 2.วิเคราะห์และสื่อสารส่งต่อข้อมูล (ครั้ง) 0.525 19 14 13 15 12 17 12 3.ตัดสินใจรายงานแพทย์ (ครั้ง) 0.7 35 12 27 39 27 26 10 4. วางแผนการรักษาร่วมกับ แพทย์ (Round) (ราย/ครั้ง) 1.4 104 55 24 0 85 71 19 5.ให้การพยาบาลผู้ป่วย ที่ช่วยตัวเองไม่ได้ Complete bed bath ผู้ป่วย (ครั้ง/ราย) 0.525 25 12 37 7 39 39 36 6. บริหารแผนการรักษา ( จานวน Chart) 1.3125 112 145 29 379 78 98 50
  • 106. การจ่ายค่าตอบแทนสาหรับผู้บริหาร • บริ ารร ดับส 33 % – อานว การ 20.8 % – รอ อานว การ 1 ; 7. 32% – รอ อานว การ 2 ; 4.88% • บริ ารร ดับกลา 33 % – ัว นาฝา ขนาด ญได 3 สวน 7.32% ( กลม านการ าบาล ) – ัว นาฝา ขนาดกลา ได 2 สวน 4.88 % ( ฝา บริ ารฯ,กลม านเว ,ฝา นฯ) – ัว นาฝา ขนาดเล็กได 1.5 สวน 3.66% (เภสั ,ทันตกรรม, ันสตร) • บริ ารร ดับตน 34 % – ัว นา านขนาด ญได 3 สวน 2.61% – ัว นา านขนาดกลา ได 2 สวน 1.74 % – ัว นา านขนาดเล็กได 1.5 สวน 1.31%
  • 107. Record Nursing workload ด้านบริการ •รูปแบบ a ระดับทีม •รูปแบบ b ระดับบุคคล •รูปแบบ c ระดับหน่วยงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 107
  • 108. รูปแบบ a ระดับทีม • กิจกรรมรวมของทั้งทีม • พยาบาลในเวรเดียวกัน แต่ละคนจะได้ค่า WP เท่ากัน • จานวน WP มาจาก WP ทุกคนรวมกันทั้งเวร แล้วหารด้วยจานวนพยาบาล(คน) ที่ขึ้นเวรนั้น กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 108
  • 109. ตัวอย่างประเภท a • การพยาบาลผู้ป่วยนอก • การพยาบาลผู้ป่วยรับใหม่ • การพยาบาลผู้ป่วยNeed ICU • การช่วยผ่าตัดใหญ่ • การเฝ้าระวังผู้ป่วยระยะรอคลอด • การตรวจสุขภาพแรงงานต่างด่าว กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 109
  • 110. รูปแบบ b ระดับบุคคล • ได้เฉพาะที่ป ิบัติภารกิจนั้น • เป็นงานที่ต้องรับผิดชอบสูง • ต้องใช้ประสบการณ์ ในการป ิบัติงาน • งานที่ต้องใช้บุคลากรระดับวิชาชีพ • งานเสี่ยงงาน • งานมอบหมายกรณีพิเศษ • งานสาคัญ แต่ไม่มีใครอาสาทา • งานอาสาสมัครที่หาคนไปทายาก กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 110
  • 111. ตัวอย่าง กิจกรรมประเภท b • การให้สารน้าทางเส้นเลือดดา • การให้เลือดผู้ป่วย • การช่วยทาหัต การ..... • การช่วยฟื้นคืนชีพ • การตรวจรักษาผู้ป่วยนอก • การรายงานแพทย์ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 111
  • 112. รูปแบบ c ระดับหน่วยงาน • กิจกรรมที่ ูกประเมินทั้งงานหน่วยงานหรือ วอร์ด ตามตัวชี้วัด( KPI ) ที่หน่วยงาน รับผิดชอบและส่งผลต่อปริมาณงาน ความเสี่ยง รายรับ รายจ่าย ของโรงพยาบาล • กิจกรรม QP กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 112
  • 113. ตัวอย่าง กิจกรรมประเภท c • อัตราการติดเชื้อแผลสะอาดไม่เกิน เกณ ์ • อัตราความเสี่ยงการบริหารการให้ยาผู้ป่วย • คะแนนการประเมินการลดขั้นตอน • คะแนนการประเมินคุณภาพการพยาบาล • คะแนนการประเมินความพึงพอใจ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 113
  • 114. ด ้านวิชาการ • ภาระงานในด้านนี้แม้นจะไม่ได้เป็นภาระงานหลักของหน่วยงาน ด้านการให้บริการ แต่การพัฒนาบุคคลากรหรือการพัฒนา กระบวนการทางานใหม่ ที่สนับสนุนให้การจัดบริการมีคุณภาพ มากขึ้นย่อมส่งผลต่อทั้งโรงพยาบาล และผู้รับบริการ • ด้านวิชาการยังรวม ึงการสนับสนุนการเรียนการสอนของ นักศึกษา • การคิดค่าภาระงาน จึงเป็นการคิดค่าคะแนนจากผลงานที่เกิดขึ้น ระดับบุคคล โดยวัดได้ทั้งจากกระบวนการและผลสาเร็จของงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 114
  • 115. การกาหนดน้าหนักคะแนน ต่อกิจกรรม • กาหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนให้ ( JD & JS ) • กาหนดกิจกรรม ที่แต่ละคนที่เกี่ยวข้อง – งานการพยาบาลโดยตรง ที่ใช้การตัดสินใจ การวางแผนและการ ป ิบัติโดยอิสระ – งานที่ต้องการแผนการรักษา การนาแผนการรักษาไป สู่การป ิบัติ เป็นงานที่ต้องใช้การคิดวิเคราะห์ ก่อนป ิบัติ – งานสนับสนุน งานด้านคุณภาพ งานด้านการพัฒนา งานด้านบันทึกที่ เกี่ยวข้องกับกฎหมายและมาตรฐานวิชาชีพ และการนาเสนอ ที่ต้อง ใช้ความรอบคอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความสม่าเสมอ ในการทางาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 115
  • 116. การกาหนดน้าหนักคะแนนต่อกิจกรรม • นากิจกรรมมาวิเคราะห์ และแบ่งกลุ่มเป็น a,b,c • ศึกษาระยะเวลาในการดาเนินกิจกรรม • นามากาหนดน้าหนักคะแนนตาม ระยะเวลาที่ต้องใช้ • กาหนดน้าหนักงานเพิ่มตาม หน่วยงาน ลักษณะงานที่ แตกต่างกันเช่น ความยากของงาน ความเสี่ยงและ การตัดสินใจ ปริมาณงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 116
  • 117. กาหนดประเภทกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท คาจากัดความ ชื่อกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท คาจากัดความ ให ้การพยาบาลผู้ป่ วย นอก ราย a การคัดกรองน้าหนัก ส่วนสูง BMI สัญญาณชีพ ซัก ประวัติก่อนตรวจ การดูแล ขณะตรวจ การดูแลหลัง ตรวจ การนัดผู้ป่ วย ให ้การพยาบาลผู้ป่ วย หรือปฐมพยาบาล เช่น เช็ดตัวลดไข ้ ครั้ง b การวัดไข ้ก่อนการเช็ดตัว การเช็ดลดไข ้ด ้วยน้า การวัด ไข ้หลังการเช็ดตัว กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 117
  • 118. ชื่อ กิจกรรม หน่วยนับ ประเภท คาจากัดความ ประเภท บุคคลากร การตรวจ รักษาผู้ป ่ วย นอก โดย พยาบาล ครั้ง b การตรวจวินิจฉัย สั่งยา และการบันทึก ผลการรักษาการวินิจฉัยใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตาม DRG พยาบาล วิชาชีพ การช่วยฟื้น คืนชีพCPR (ทีมละ 4 คน) ครั้ง b การช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ป ่ วย ทั้งการให้ออกวิเจนทาง หน้ากากหรือการใส่ท่อ ช่วยหายใจ การให้ยา การ นวดหัวใจ จนสิ้นสุดการ ช่วย พยาบาล วิชาชีพ 2 คน EMTหรือTN 1 คน ผู้ช่วยเหลือ คนไข้ หรือ คนงาน 1 คน อัตราความพึง พอใจ ร้อยละ c การประเมินความพึงพอใจ โดยกรรมการประเมิน ความพึงพอใจโดยการสุ่ม ประเมินทุกเดือน ทั้งหน่วยงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 118
  • 119. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 119 ชื่อกิจกรรม ให้การพยาบาลผู้ป ่ วยนอก ประเภท a พยาบาลวิชาชีพ จานวน 6 คน การคัดกรอง วัดสัญญาณชีพ ซักประวัติ ก่อนตรวจ การประเมินก่อนตรวจ การ ดูแลขณะตรวจ การดูแลหลังตรวจ การนัด ผู้ป่ วย ผู้ช่วยเหลือคนไข ้ จานวน 2 คน ชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง คานวณ BMI เรียกตรวจ เตรียมเครื่องมือในห ้องตรวจ พนักงานห ้องบัตร จานวน 1 คน รับบัตร/ ค ้นOPD card / ลงคอม /ออก ใบสั่งยา /ส่งบัตร /ตามบัตรกลับ /เก็บบัตร /ลงcode ในคอม
  • 120. ชื่อกิจกรรม หน่วย นับ ประเภท ประเภทบุคลากรความหมาย GN หัวหน้าทีม GN สมาชิกทีม ลูกจ้าง การรับ ใหม่ ราย a การประเมินอาการ เอกสาร ตรวจร่างการ สัญญาณชีพ และให้การรักษาตาม แผนการรักษา การรายงานแพทย์สาหรับ รายที่ต้องได้รับการตรวจ เพิ่มเติม การจัดเก็บสิ่งส่งตรวจ จัดผู้ป่ วยขึ้นเตียง ให้คา แนะระเบียบที่เกี่ยวกับ การรักษา การดาเนินการ ด้านเอกสาร และการลง นามยินยอมรับการรักษา จัดผู้ป่ วยให้พักที่ เตียง เปลี่ยนเสื้อผ้า ชั่งน้าหนัก ส่วนสูง ให้คาแนะนาเรื่อง สถานที่ จัดเตรียมน้าดื่มและ อุปกรณ์ข้างเตียง กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 120 กาหนดประเภทและข้อตกลงกิจกรรม
  • 121. กาหนดประเภทและข้อตกลงกิจกรรม ชื่อ กิจกรรม หน่วย นับ ประเภท เวลา (นาที) พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค ลูกจ้าง การ พยาบาล รับใหม่ผู้ คลอด ราย a 30 ตรวจร่างกายทั่วไปผู้คลอด PV Fern test Contraction รวมทั้ง Observe ผู้คลอด 1 ช.ม. ตรวจหน้าท้อง ฟัง FHS จับ Contraction ตรวจร่างกาย ทั่วไป สวนอุจจาระในรายที่ ไม่มีข้อห้าม ทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ ตรวจภายใน เซ็นใบยินยอม แนะนาสถานที่ ซัก Hx ทางสูติ เขียน Chart รับใหม่ผู้คลอด ตามแบบฟอร์ม ซักประวัติ ทาบัตร Key ใบสั่งยา ค้น OPD Card ลง Admitted สั่ง บัตร เช็คสิทธิ์ รับ-ส่งเครื่องมือผ้า เปลี่ยน Forcep เบิกเครื่องมือ แพทย์ ยา วัสดุธุรการ Lab รวมจัดเก็บล้างทา ความสะอาด Set เครื่องมือต่าง ขวด Suction กระติกน้าร้อน น้าดื่มผู้คลอด ตู้เย็น กระป ๋ องออกซิเจน ล้าง รองเท้า ตรวจสอบจานวน ปริมาณความเพียงพอต่อ การใช้งาน เพื่อเบิก ประจาสัปดาห์ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 121
  • 122. ชื่อ กิจกรรม หน่วย นับ ประเภ ท ประเภทบุคลากรและความหมาย GN Scrub มือ 1 GN Scrub มือ 2 GN หรือTN circurate 1 คน ลูกจ้าง 1 คน การช่วย ผ่าตัด ราย a (ทีม) เตรียมเครื่องมือผ่าตัด / เครื่อง เย็บ /เครื่องจี้/อุปกรณ์ ที่ต้องใช้ ขณะผ่าตัด / ตรวจนับผ้าก๊อส และผ้าซับเลือด สายยาง ช่วยทาผ่าตัด การจับถ่าง การ คีบและผูกเส้นเลือด การเปิด บริเวณผ่าตัด การจี้การSuction การตัดสินใจร่วมกับแพทย์ใน การจัดการกับสถานการณ์ในแต่ ละขั้นตอน การประสานวิสัญญี ให้ทราบสถานการณ์ผู้ป่ วย ช่วยเย็บปิด /ตรวจนับเครื่องมือ ร่วมกับมือ2 /การเคลื่อนย้าย ผู้ป่ วยออกจากห้องผ่าตัด เตรียมเครื่องมือผ่าตัด / ผ้าปูผ่าตัด/เสื้อ GOWN/ ถุงมือSTERILE และ อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ผ่าตัดแต่ละประเภท นับเครื่องมือ/ส่ง เครื่องมือผ่าตัด/ทา ความสะอาดเครื่องมือ ผ่าตัดเบื้องต้นหลังเสร็จ สิ้นการผ่าตัด ช่วยเช็ดตัวผู้ป่ วยใน CASEC/S และช่วยย้าย ผู้ป่ วยออกจากห้อง ผ่าตัด รับผู้ป่ วยเข้าห้องผ่าตัด จัดท่าผู้ป่ วย วัดสัญญาณชีพ การเพิ่มเครื่องมือ/ เครื่องเย็บ การต่ออุปกรณ์พิเศษ ตรวจนับเครื่องมือ ทาความสะอาด เครื่องมือและหีบห่อ เครื่องมือเพื่อส่งทาให้ ปราศจากเชื้อ ลงทะเบียนผ่าตัด การเตรียมห้อง ผ่าตัด ตรวจสอบ เครื่องมือ จัดเตรียมเครื่อง ผ้า การเตรียม เครื่องมือ รับ-ส่งผู้ป่ วย จากหอผู้ป่ วย ล้างเครื่องมือ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 122
  • 123. นากิจกรรมที่กาหนดมาจัดเก็บเวลาต่อกิจกรรม กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 123 ประเภทกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท เวลาที่ใช้ (นาที) ให้การพยาบาลผู้ป ่ วยนอก ราย a 10 ให้การพยาบาลผู้ป ่ วยหรือปฐม พยาบาล เช่น เช็ดตัวลดไข้ ครั้ง b 30 อัตราความพึงพอใจ ร้อยละ c -
  • 124. การเปลี่ยนค่าเวลาเป็นค่า WP เวลา 10 นาที = 1 WP กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 124 ชื่อกิจกรรม หน่วยนับ ประเภท เวลา ค่าWP การพยาบาลผู้ป ่ วยนอก ราย a 10 1 การพยาบาลผู้ป ่ วยหนัก (Critical ill ) ราย a 450 45 ทาแผล/เย็บแผล/ ขนาดใหญ่ ราย b 60 6
  • 125. การปรับเพิ่มค่าคะแนน ตามค่าของวิชาชีพ • การคานวณแต้มต่อนาที แต่ละหน่วยงานต้องปรับ อัตราค่าล่วงเวลาตามระเบียบค่าตอบแทนที่ กระทรวงสาธารณสุขกาหนด ในขั้นพื้นฐาน หาก หน่วยงานใดได้มีการปรับอัตราค่าตอบแทน ล่วงเวลา(OT) ไปแล้ว ให้ใช้อัตราที่หน่วยงานมีการ กาหนดใหม่มาเป็นฐานในการคานวณ เช่น หน่วยงานที่ใช้ตามประกาศ OT พยาบาล=600 แต่บางหน่วยงานปรับเป็น720 ให้ใช้ในอัตรา720 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 125
  • 126. การคานวณแต้มวิชาชีพต่อนาที วิชาชีพ อัตราOT /วัน แต้มต่อ วัน=OT/1 0 แต้มต่อ เดือน=แต้ม ต่อวันx20 วันทาการ แต้มต่อ ชั่วโมง= แต้มต่อวัน/7 ชั่วโมง แต้มต่อ 10นาที แพทย์/ ทันตแพทย์ 1,100 110 2,200 15.71 2.62 เภสัชกร 720 72 1,440 10.28 1.71 พยาบาล วิชาชีพ 600 60 1,200 8.57 1.43 พยาบาล เทคนิค/EMT 480 48 960 6.85 1.05 ลูกจ ้างประจา/ ลูกจ ้างชั่วคราว 300 30 600 4.28 0.71 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 126
  • 127. แต้มต่อภาระงานตามกลุ่มแต้มวิชาชีพ กิจกรรม หน่ว ยนับ ประเภท เวลาที่ ใช้ (นาที) ค่า WP แต้ม วิชาชีพ แต้มหลังปรับค่า วิชาชีพ ให้การพยาบาล ผู้ป ่ วยนอก พยาบาลวิชาชีพ 1 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1 คน ราย a 10 1 GN= 1.43 Aid = 0.71 =( 1*1.43)= 1.43 =(1*0.71)= 0.71 ตรวจรักษาโรคโดย แพทย์ ราย b 5 .5 2.61 =0.5*2.61 =1.30 ตรวจรักษาโรคโดย พยาบาล ราย b 5 .5 1.43 =.5*1.43 =0.72 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 127
  • 128. แต้มต่อภาระงานตามกลุ่มแต้มวิชาชีพ กิจกรรม หน่วย นับ ประเภ ท เวลาที่ ใช้ (นาที) ค่า WP แต้ม วิชาชีพ แต้มหลังปรับค่า วิชาชีพ การช่วยฟื้นคืนชีพ CPR (ทีมละ 4 คน) -พยาบาล 2 คน -EMT 1 คน -Aide 1 คน ราย b 30 3 1.43 1.05 0.71 GN=3*1.43 =4.23 EMT =3*1.05 =3.14 Aids =3*0.71 =2.14 เตรียมเครื่องมือ เพื่อส่งทาให้ ปราศจากเชื้อ ชิ้น b 5 0.5 0.71 ไม่ปรับแต้ม 0.5 ทาถุงมือ คู่ b 1.5 0.15 0.71 ไม่ปรับแต้ม 0.15 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 128
  • 129. การปรับเพิ่มตามความยุ่งยากซับซ้อนของงาน • 1. ความยุ่งยากของงานที่มีขั้นตอนซับซ้อน • 2. ความรับผิดชอบต่อความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทั้งกับ ผู้รับบริการและผู้ให้บริการ • 4. การประกันคุณภาพของงานที่ไม่อาจผิดพลาด ได้ • 5. ความเชี่ยวชาญที่มีหรือต้องผ่านการพัฒนา กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 129
  • 130. กาหนดค่าของน้าหนักที่จะปรับเพิ่ม ให้มีค่าน้าหนัก 0.1- 0.5 เท่าของน้าหนักคะแนนRN เกณฑ์เพิ่ม น้าหนักกิจกรรม 0.5 เท่า 0.4 เท่า 0.3เท่า 0.2 เท่า 0.1 เท่า 1.ความยุ่งยาก ในการปฏิบัติ เป ็ นงานที่ไม่มี แนวทางกาหนด ตายตัวแน่นอน ต้องการการ ตัดสินใจ และ ความรู้ความ ชานาญหรือการ ฝึกอบรม เพิ่มเติม เพื่อ การปฏิบัติ กิจกรรมนั้นๆ หรือเป ็ นงานใน หน่วยงานเฉพาะ เท่านั้น ไม่มีแนว ทางการ ปฏิบัติงานที่ กาหนดไว้ แต่ งานมีขั้นตอน ยุ่งยากซับซ้อน ที่ต้องใช้ทั้ง ประสบการณ์ ความรู้ความ ชานาญ ทักษะ เฉพาะตัวของ ผู้ปฏิบัติงาน หรือการอบรม เพิ่มเติมแต่เป ็ น งานที่สามารถ ปฏิบัติได้ในทุก หน่วยงาน มีแนวทางการ ปฏิบัติงานที่ กาหนดแล้ว แต่ ต้องอาศัย ประสบการณ์ ความรู้ความ ชานาญ ทักษะ เฉพาะตัวของ ผู้ปฏิบัติงาน บางกิจกรรม ต้องการการ ประสานที่ รวดเร็ว มี ขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลาย ขั้นตอน มีแนวทางการ ปฏิบัติงานที่ กาหนด เรียบร้อยแล้วแต่ บางครั้งต้องมี การประสานงาน หรือต้องปรึกษา เพื่อตัดสินใจ มีแนวทางการ ปฏิบัติงานที่ กาหนด เรียบร้อยแล้ว โดยไม่ต้องมี การประสานงาน หรือตัดสินใจ ใหม่ และเมื่อ ปฏิบัติตามจะทา ให้งานสาเร็จได้ ขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานมีน้อย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 130
  • 131. ตัวอย่าง การปรับแต้ม RN ประเภทกิจกรรม ความ ยุ่งยากใน การ ปฏิบัติ โอกาสการเกิด ความเสี่ยงต่อ ผู้รับบริการ หรือให้บริการ ความสาคัญ ของงานและ คุณภาพของ งาน ความ เชี่ยวชาญ คะแนน น้าหนักที่ เพิ่ม(เท่า) ให้การพยาบาล ผู้ป ่ วยนอก 0.2 0.2 0.2 0.2 0.8 ตรวจรักษาโรค โดยแพทย์ 0.5 0.5 0.5 0.5 2 ตรวจรักษาโรค โดยพยาบาล 0.4 0.5 0.3 0.5 1.7 การช่วยฟื้นคืน ชีพCPR 0.5 0.5 0.5 0.5 2 เตรียมเครื่องมือ เพื่อส่งทาให้ ปราศจากเชื้อ 0 0 0 0 0 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 131
  • 132. นาคะแนนน้าหนักที่ผ่านการพิจารณาร่วมกันแล้วมา ปรับแต้มภาระงาน กิจกรรม หน่ว ยนับ ประเภ ท เวลาที่ ใช้ (นาที) WP แต้ม วิชาชี พ แต้มหลัง ปรับค่า วิชาชีพ คะแนน น้าหนัก ที่เพิ่ม (เท่า) แต้มWP ให้การ พยาบาล ผู้ป ่ วยนอก พยาบาล วิชาชีพ 1 คน ผู้ช่วยเหลือ คนไข้ 1 คน ราย a 10 1 1.43 GN =( 1*1.43) = 1.43 Aid =(1*0.71) =0.71 GN=0. 8 Aid=0. 1 GN =1.43+ (1.43*0. 8) =2.57 Aid=0.7 1+ (0.71*0. 1) =0.79 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 132
  • 133. กิจกรรม หน่วย นับ ประเ ภท เวลาที่ ใช้ (นาที) WP แต้ม วิชาชี พ แต้มหลังปรับค่า วิชาชีพ คะแนน น้าหนักที่ เพิ่ม(เท่า) แต้มWP ตรวจรักษา โรคโดย แพทย์ ราย b 5 0.5 2.61 =0.5*2.61 =1.30 2 =1.3+(1.3* 2) =3.9 ตรวจรักษา โรคโดย พยาบาล ราย b 5 0.5 1.43 =.5*1.43 =0.72 1.7 =0.7+(0.7 *1.7) =2.70 เตรียม เครื่องมือ เพื่อส่งทา ให ้ ปราศจาก เชื้อ ชิ้น a 5 0.5 0.71 ไม่ปรับแต้ม วิชาชีพ 0.5 0 0.5 กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 133
  • 134. การแบ่งแต้มประเภท a • จานวนบุคลากรในเวร • ถ้าเป ็ นตาแหน่งประเภทเดียวกัน ต้อง กาหนด สัดส่วนของน้าหนักงาน • ใช้การเก็บรวมแล้วหารด้วยจานวนคน • ใช้การแบ่งแต้มตามคนแล้วต่างคนต่างเก็บ กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 134
  • 135. การแบ่งตามจานวนผู้ปฏิบัติงาน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 135 กิจกรรม WP จานวนพยาบาล ที่ขึ้นเวร ค่าWP รายเวร ดึก เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย การพยาบาลผู้มา คลอด ในระยะเจ็บ ครรภ์ 11.57 2 4 3 11.57/2 =5.78 11.57/4 =2.89 11.57/3 =3.85 การพยาบาลผู้ป ่ วย ปานกลาง ( Semi critical ill) 103.7 3 5 3 103/3 =34.5 103/5 =20.7 103/4 =34.5
  • 136. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 136 กิจกรรม WP ค่าWP รายเวร จานวนผู้ป ่ วย ดึก เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย จานวนพยาบาลต่อเวร 2 4 3 4 6 2 การพยาบาลผู้มาคลอด ในระยะเจ็บครรภ์ 11.57 11.57 /2 =5.78 11.57/ 4 =2.89 11.57 /3 =3.85 5.78 x 4 2.89 x 6 3.85 x 2 คะแนนที่พยาบาลได้แต่ละเวร 22.8 17.34 7.7
  • 137. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 137 กิจกรรม WP ค่าWP รายเวร จานวนผู้ป ่ วย ดึก เช้า บ่าย ดึก เช้า บ่าย จานวนพยาบาลต่อเวร 3 5 3 การพยาบาลผู้ป ่ วย ปานกลาง ( Semi critical ill) 103.7 34.5 20.7 34.5 12 15 10 คะแนนพยาบาลที่ปฏิบัติงานแต่ละเวร 414 311 345
  • 138. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 138 กิจกรรม WP พยาบ าล จานวน ผู้ป ่ วย ต่อวัน รวมแต้มWP จานวน พยาบา ลที่ขึ้น เวร จานวนแต้ม ของแต่ละคน การพยาบาล ผู้ป ่ วยนอก 2.57 300 =2.57*300 =750 10 =750/10 =75 WP ลุกจ้าง จานวน ผู้ป ่ วย ต่อวัน รวมแต้มWP จานวน ลูกจ้าง ที่ขึ้น เวร จานวนแต้ม ของแต่ละคน การพยาบาล ผู้ป ่ วยนอก 0.79 300 237 10 23.7
  • 139. การกาหนดค่าจาก การเพิ่มค่าไม่เท่ากัน กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 139 กิจกรรม เวลาที่ ใช้ (นาที) WP GN เพิ่ม ค่า WP GN มือ 1 เพิ่มค่า WP GN มือ2 เพิ่มค่า WP GN circurate การช่วย ผ่าตัด C/S 120 17.14 2 34.29 1.8 30.86 1.2 20.27 Appendec tomy 90 12.86 1.9 24.43 1.5 19.29 1.2 15.43 Explor- lap 90 12.86 2 38.57 1.57 33.0 1.2 28.29
  • 140. สรุป • คิดกิจกรรมที่จะนามากาหนดค่างาน • ให้คาจากัดความ และบุคลาการทีเกี่ยวข้อง กาหนดเวลาของกิจกรรม หาค่า WP ของแต่ละกิจกรรม คูณค่าตามวิชาชีพ คิดค่าเพื่อเพิ่มน้าหนักของภาระงาน คิดค่า WP สุดท้าย • กาหนดแนวทางการจัดสรรแต้ม กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 140
  • 141. ชัยบาดาลใช้จริง • ว เ ิน กตาม ฝา • ฝา การ บ ๗๐ /๓๐ • รอบ รก ัดสรร ล ท่ นว าน • รอบสอ นว าน ัดสรร รา วิ า • รอบสาม ัดสรร รา บ ล • รอบส่ ัดสรร ณภา กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 141
  • 142. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 142 การใช ้ประโยชน์ ด ้านการบริหารบุคคล
  • 143.
  • 144. 1. การจัดอัตรากาลัง - เพิ่มอัตรากาลังในหน่วยที่ WP / WL มาก (เกิน 120 %) - จัดระบบอัตรากาลังเสริม 2. การทางานเป็นทีม - ลดปัญหาคนอู้งาน - เกิดการช่วยเหลือกันเพื่อให้งานของทีมสาเร็จเร็วขึ้น
  • 145. 3. การกระจายงาน -หัวหน้างานได้มีการกระจายงานให้จนท.ใกล้เคียงกัน ไม่หนักคนใดคนหนึ่ง 4. การช่วยเหลืองานกันในลักษณะคร่อมสายนอกหน่วยงาน - ห้องคลอด หากไม่มีคนรอคลอดหรือคลอดให้ไปช่วย ER หรือ NCD - ห้องผ่าตัด ช่วงไม่มีผ่าตัดให้ช่วยงาน OPD 5. การเชื่อมโยงกับระบบการประเมินงานรายบุคคล - วางแผนจะจัดกลุ่มกิจกรรม เพื่อเชื่อมกับการกาหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
  • 147. ปัญหาของวิธีการประเมินแบบเก่า  เป็นนามธรรม ใช้ความรู้สึกในการตัดสิน  ไม่สามารถระบุความเชื่อมโยงของการปฏิบัติงานกับ เป้าหมายขององค์กร  การมอบหมายและกระจายงานไม่เหมาะสม  เป้าหมายการปฏิบัติงานไม่ชัดเจน  ระบบโควตาและการหมุนเวียนกัน
  • 148. เกณฑ์ ระดับเจ้าหน้าที่ หัวหน้างาน พยาบาล ลูกจ้าง KPI 12 ตัว ที่เป ็ นประธานกรรมการ 15 - - หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน 30 20 - ระดับบุคคล - 25 - คะแนนกรรมการ 10 10 10 Activity - 40 50 Competency ความรู้ ข้อสอบกลาง 15 10 - ข้อสอบหน่วยงาน - 5 - เข้ารับการอบรม - 5 10 ผ่านประเมินทักษะ - 5 10 ประเมิน 9 ข้อ หัวหน้าให้ - 5 10 เจ้าหน้าที่ให้กันเอง 10 5 10
  • 149. ชื่อ สุรัตวดี วรรณทนี พิสุทธิ์สรี นงลัก ปัทมา กิจกรรม/ตาแหน่ง GN 15 ปี GN 15 ปี GN1o ปี GN 5 ปี GN 2 ปี 1.ทาหน้าที่ผู้บริหารทีม (ครั้ง) 18 6 20 12 10 2. ตัดสินใจรายงานแพทย์ (ครั้ง) 7 2 15 12 7 3.ให้การพยาบาลผู้ป ่ วย ที่ ช่วยตัวเองไม่ได้Complete bed bath ผู้ป ่ วย (ครั้ง/ราย) 13 10 92 30 79 4. ทาหัตถการร่วมกับแพทย์ 24 12 10 12 8 5. ให้สารน้าทางเส้นเลือดดา 11 21 152 39 17 6. บริหารแผนการรักษาและ บันทึกเอกสารทางการ พยาบาล ( จานวน Chart) 492 422 121 40 28
  • 151. 151 ความสาคัญของเกณฑ์การให ้คะแนน  ทาให้การพิจารณาประเมิน หรือให้คะแนน มีความยุติธรรม ถูกต้อง  เป็นเครื่องมือสื่อสารเกี่ยวกับลักษณะสาคัญ ของผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์ ที่มีศักยภาพ  ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ และมีภาพตรงกัน  กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ไปสู่ภาพที่คาดหวัง
  • 152.
  • 154. • การบริหารอัตรากาลังรายวัน • การบริหารอัตรากาลังในภาวะวิกฤต • การบริหารอัตรากาลังตามภาระงาน การใช้ประโยชน์จาก Productivity
  • 156. ตัวอ า กิ กรรม แบบบันทึกเวลาในการทากิจกรรม ระยะเวลา วันที่1 เวร เช้า จานวนพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงาน 1 คน ทางาน7 ชม/เวร 4 1,680 กิจกรรม คะแนน/หน่วย ต่อกิจกรรม จานวน คิดเป็นเวลา ด้านการปฏิบัติการพยาบาล(ที่พยาบาลวินิจฉัย เอง) คะแนนเต็ม 35 0 1.ทาหน้าที่ผู้บริหารทีม (ครั้ง) 0.7 0 2.วิเคราะห์และสื่อสารส่งต่อข้อมูล ส่งเวร (ครั้ง) 0.525 60 1 60 3.ตัดสินใจรายงานแพทย์ (ครั้ง) 0.7 5 2 10 4.วางแผนการรักษาร่วมกับ แพทย์ (ราย/ครั้ง) 1.4 10 32 320 5.Complete bed bath ผู้ป่วย (ครั้ง/ราย) 0.525 45 5 225 6บริหารแผนการรักษา ( จานวน Chart) 1.3125 5 32 160 จานวนชั่วโมงความต้องการพยาบาล 2,306 ส่วนต่างของการให้บริการกับจานวนชั่วโมงทางานของพยาบาล 626 ต้องการพยาบาลเพิ่ม 1
  • 160. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 160 ภาระงานแพทย์ ตม ล าวินิ ฉั ปว นอก น อม ิวเตอร์ รา 0.5 ตรว ปว ป มภมิ บบ ปว นอก รา 3 ตรว ปว ป มภมิ บบ ปว น รา 5 าปรึกษาการรักษาทา ทรศั ท์ รั 2 าปรึกษา - ตรว ปว ท่ส ตอ ากเ า นาท่ รา 4 าปรึกษา - ตรว ปว นอกท่ส ตอ าก ท ์ป มภมิ รา 6 าปรึกษา - ตรว ปว นท่ส ตอ าก ท ์ป มภมิ รา 10 ตรว รักษา ด ล ปว นัก รา 20 ตรว รักษา ด ล ปว อบัติเ ต ล ฉกเฉิน รา 5
  • 161. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 161 ภาระงานทันตแพทย์ ตม ตรว สขภา อ ปาก น 3.3 ตรว อ ปาก า า น 3.3 ถอนฟันปกติ ซ่ 11 ถอนฟัน ราก ซ่ 13.2 เ ็บ ล น อ ปาก( า ) น 5.5 ตัดไ ม น 3.3 ลา ล ส า น 3.3 ขด ินปน ร ดับ 1 น 11 ร ดับ 2 น 14.3
  • 162. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 162 านบริการ า า บสั่ า 0.9 รับ order --> ัด าตาม order บสั่ า 0.3 check วามถกตอ บสั่ า 0.2 า าตามมาตร านวิ า prime question บสั่ า 0.4 า า รอมตรว วามถกตอ กอนส มอบ ( นา อ) กรณ าเป็น บสั่ า 0.7 า า รอมตรว วามถกตอ ปลอดภั กอนส มอบ ( นา อ) บสั่ า 0.7 ัด า าตาม บเบิกขอ นว านตา ๆ บเบิก 1 ตรว เ ็ าท่ ัดตาม บเบิกขอ นว านตา ๆ บเบิก 1 สนับสนน าท่ นว านภา นอกขอสนับสนน(order+check) บเบิก 2 ัด าสนับสนนตามท่ นว านภา นอกขอสนับสนน บเบิก 2
  • 163. กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ 163 ขั้นตอนเตรียมการวิเคราะห์ - ปั่น กซรั่ม รอ ลาสมา รา การ 0.3 - ปั่นตกต กอนปัสสาว รา 0.3 - การ อม น กว AFB รา 0.5 - การ อม น กว WRIGHT STAIN รา 0.5 - การ อม น กว GRAM 'S STAIN รา 0.5 - การ SMEAR SPUTUM รา 0.5 - การ SMEAR BLOOD FLIM รา 0.5 - การ SMEAR STOOL รา 0.5 - การทา STOOL OCCULTBLOOD รา 1.5 4.2 งานโลหิตวิทยา - CBC ( CELL COUNTER ) รา 2 - CELL DIFFERENTIAN รา 2 - CELL MORPHOLOGY รา 2
  • 164. งานสารบรรณ รับหนังสือจากธุรการและแผนกต่างๆ ฉบับ 0.1 ลงทะเบียนหนังสือรับ /วิชาการ/ภายใน ฉบับ 0.2 ลงทะเบียนหนังสือส่ง ฉบับ 0.2 ประทับตราชื่อหัวหน้ากลุ่มการฯ,หนังสือส่ง,แบบประเมิน,ตาราง เวร,OTฯลฯ ครั้ง 0.2 ลงทะเบียนการเข้าร่วมอบรม,ประชุมวิชาการ ฉบับ 0.2 ถ่ายเอกสาร แผ่น 0.025 ลงทะเบียนวันลาทุกประเภทของ จ.น.ท. กลุ่มการฯ ใบ 0.2 บันทึกข้อความขออนุมัติต่างๆ ฉบับ 2.5 ร่างหนังสือ ฉบับ 0.8 พิมพ์หนังสือและPint หน้า 0.6 พิมพ์ซองจดหมาย แผ่น 0.6
  • 165. ภาระงานงานการเงินและบัญชี การบันทึกบัญชี(รายวัน) ครั้ง 6.5 การบันทึกบัญชี (รายจ่าย) ครั้ง 6.5 การบันทึกบัญชีระบบคอมพิวเตอร์ ครั้ง 7 การจัดทางบเดือน ฉบับ 0.9 การตรวจรับเอกสาร ชุด 1.7 การขออนุมัติเพื่อเบิกจ่าย ชุด 1 การเขียนเช็คและจ่ายเช็ค ฉบับ 2 การนาเงินฝากธนาคาร ครั้ง 12 การรับเงินมัดจาสัญญา ครั้ง 2 การทาสัญญาและชดให้สัญญาเงินยืม ครั้ง 2 การคุมใบเสร็จรับเงิน เล่ม 2
  • 166. ภาระงาน ธุรการ รับเอกสารในหน่วยงาน (ฝ่ายต่างๆ) ฉบับ 0.1 รับเอกสารจากนอกหน่วยงาน (ไปรษณีย์) ครั้ง 1 ลงทะเบียนเอกสารส่วนตัว จนท.(จากไปรษณีย์) ฉบับ 0.3 ลงทะเบียนรับเอกสารราชการ (นอกหน่วยงาน) ฉบับ 0.5 ลงทะเบียนรับเอกสารจากในหน่วยงาน ฉบับ 0.3 เกษียนหนังสือเสนอ ฉบับ 0.4 เสนอหนังสือ ฉบับ 0.5 ตรวจสอบเอกสารหลังจากที่ผู้มีอานาจลงนาม ฉบับ 0.5 ลงทะเบียนส่งหนังสือ (นอกหน่วยงาน) ฉบับ 0.3 จ่าหน้าซอง , บรรจุซอง , ห่อพัสดุ ซอง 0.2 ส่งโทรสาร แผ่น 0.2
  • 167. ภาระงานพนักงานขับรถ ตรวจเช็คสภาพรถให้มีความพร้อม ครั้ง 1 ตรวจเช็คสภาพรถฉุกเฉินให้มีความพร้อม ครั้ง 1.5 รับส่งเจ้าหน้าที่ภายในอาเภอ ครั้ง 3 รับส่งเจ้าหน้าที่ภายในจังหวัด เที่ยว OT รับส่งแขกของโรงพยาบาลในจังหวัด เที่ยว OT รับส่งเจ้าหน้าที่นอกจังหวัด เที่ยว OT รับส่งเจ้าหน้าที่/ผู้ป่วยระยะไกล วัน 2 OT การรับผู้ป่วย ณ.จุดเกิดเหตุส่งโรงพยาบาล เที่ยว 12.5 ส่งผู้ป่วยภายในจังหวัด เที่ยว 12.5 ส่งผู้ป่วยนอกจังหวัด OT ให้ข้อมูลผู้ป่วย ครั้ง/ราย 0.2 บริการเป็นธุระ/ของฝากทางราชการ จุด 1 ล้างทาความสะอาดรถ ครั้ง/คัน 3
  • 168. ภาระงานโภชนากร เขียนรายงานการสั่งซื้อลงแบบฟอร์ม ใบ 0.3 สรุปบัญชี เบิก-จ่าย อาหารผู้ป่วย ฉบับ 5 คิดเมนูอาหารสาหรับผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ วัน 5 สั่งซื้อวัตถุดิบตามเมนูที่กาหนด (มื้อเช้า-กลาง-วัน-เย็น) วัน 7 ให้สุขศึกษาแก่ผู้ป่วยเฉพาะโรค ราย 2 ตรวจสอบความถูกต้องของอาหารที่จะนาไปบริการอาหาร ผู้ป่วย ราย 0.3 คิดคานวณสูตรอาหารสายยาง และประกอบอาหารสายยาง ราย 6 ผู้ป่วยและญาติกลับบ้าน สอนภาคปฏิบัติแก่ผู้ป่วยและญาติ ราย 3 บริการสอบถามอาหารผู้ป่วย ตามตึกต่างๆ(พิเศษ) ราย 0.8