SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
บทที่ ๔
การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
การบริโภคอาหารคืออะไร?
การรับประทานอาหารโดยคานึง
ว่าจะรับประทานอาหารอะไร
รับประทานในสัดส่วนและ
ปริมาณเท่าใด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารคืออะไร?
การประพฤติปฏิบัติที่เคยชินใน
การรับประทานอาหาร
(องค์การอนามัยโลก: ๑๙๗๒)
ความหิว
v.s.
ความอยากอาหาร
ความหิว
“การที่ร่างกายสั่งให้รู้ว่าร่างกายต้องการ
พลังงานเพิ่มขึ้น โดยมีอาการ ท้องร้อง
กระเพาะว่าง ซึ่งพลังงานนั้นจะได้จาก
การกินอาหาร”
ความหิว
- การตอบสนองเพื่อให้ได้พลังงานเพิ่มขึ้น
- ควรวางแผนการจัดมื้ออาหาร
- การขาดพลังงานจะทาให้ ไม่มีเรี่ยวแรง หน้ามืด
ตาลาย เป็นลม ขาดสารอาหาร
*ไม่ควรงดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง จะทาให้หิวมากเกินไป*
สาเหตุการเกิดความหิว
- กระเพาะอาหารบีบตัว
- ระดับน้าตาลในเลือดต่า
- ตับ หากตับได้รับน้าตาลแล้วจะหยุดหิว
ความอยากอาหาร
- การตอบสนองต่อสิ่งที่มองเห็น ได้กลิ่น หรือ ชิม
หรือ จินตนาการ
- เกิดจากการได้เห็นโฆษณาในทีวี หรือการได้ชิม
อาหารแล้วอยากกินอีก
นิสัยการรับประทานที่ไม่ดี
๑. รีบรับประทาน ไม่เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
๒. กินจุบจิบ ดื่มเครื่องดื่มก่อนอาหาร
๓. รับประทานมื้อหลักไม่เป็นเวลา
๔. กินก่อนนอนไม่เกิน ๔ ช.ม.
๕. กินอาหาร/ผลไม้/เครื่องดื่มรสหวานเป็นประจา
นิสัยการรับประทานที่ไม่ดี (ต่อ)
๖. รับประทานอาหารหวาน มัน เค็มมากเกินไป
๗. กินอาหารประเภท ผัด ทอด ชุบแป้งทอด และ
ใส่เนย เนยเทียม กะทิ
๘. ไม่ชอบกินผัก ปลา ผลไม้รสไม่หวาน
๙. งดอาหารมื้อเช้า
๑๐.ชอบกินอาหารในงานเลี้ยงและอาหารบุฟเฟต์บ่อยๆ
ทาไมคนมีนิสัยรับประทานอาหารต่างกัน
๑. ชนชาติ
๒. ศาสนา
๓. ภาวะภูมิศาสตร์และการคมนาคม
๔. การฝึกอบรมให้ครอบครัว
๕. ความเชื่อ
๖. ความเคยชิน
ปัจจัยกาหนดพฤติกรรมเสี่ยงด้านการบริโภคอาหาร
๑. ไม่มีความตระหนักหรือสนใจ/ขาดความรู้ที่
จาเป็นในการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการ
๒. ค่านิยมการบริโภคอาหารจานด่วนแบบชาติ
ตะวันตกเพิ่มมากขึ้น
ปัจจัยกาหนดพฤติกรรมเสี่ยงด้านการบริโภคอาหาร
๓. มีพฤติกรรมกินอาหารนอกบ้านเพิ่มขึ้น
๔. ความเคยชินในการรับประทานอาหาร
ติดรสหวาน มัน เค็ม
๕. อิทธิพลของสื่อโฆษณาต่อการบริโภคอาหาร
ที่ไม่ถูกต้อง
โรคที่เกิดจากวิถีชีวิต
การบริโภค
อาหารที่ไม่
เหมาะสม
ปัจจัยสาเหตุของการเกิดโรค
- ความดันโลหิตสูง - โรคหัวใจ
- น้าตาลในเลือดสูง - โรคมะเร็ง
- อ้วน - โรคเบาหวาน
- ไขมันในเลือดสูง
ลูกโซ่การรับประทานอาหาร
นานาเลิกงาน นั่งรถเมล์กลับบ้าน คนแน่นมาก ร้อนมาก
ถึงบ้านเปิดตู้เย็นเจอเป็บซี่แช่อยู่ ยกดื่มหมดขวด
อาบน้าเสร็จ ทานข้าวเย็น
หยิบมันฝรั่งทอดถุงใหญ่ ๒ ถุง ช็อคโฝกแลต ๑ แท่ง มา กินไป ดูไป
เปิดทีวีดู เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ
กินหมดเมื่อไหร่ไม่รู้ตัว รู้สึกตัวอีกทีว่าตนเองอ้วนแล้ว กินอีก
เราจะแก้นิสัยการรับประทานอย่างไร?
๑. เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
๒. ให้ความรู้เรื่องโภชนาการ
๓. เปลี่ยนแปลงนิสัยการบริโภค
อันเกิดจากความเชื่อใน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
๑. ตัด/ลดสิ่งกระตุ้นการกินที่ไม่เหมาะสม
: ไม่จ่ายของขณะหิว
: ตัดสิ่งตกแต่งบนอาหาร
: ทาอาหารส่วนเล็กให้ดูใหญ่
: ใช้จานอาหารที่เล็กลง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ต่อ)
: ควบคุมความหิวโหยโดย
- กินอาหารเป็นเวลา
- ไม่งดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง
- หลีกเลี่ยงความเบื่อ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ต่อ)
๒. สนับสนุนสิ่งกระตุ้นที่เหมาะสม
: ชวนคนอื่นกินอาหารที่เหมาะสมร่วมกัน
: เก็บอาหารที่ชอบและเหมาะสมในตู้เย็น
: เรียนรู้ขนาดสัดส่วนอาหาร
๓. เน้นผลด้านลบที่ตามมา
: ขอให้ผู้อื่นเตือนเมื่อไม่ทาตามแผน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ต่อ)
๔. เน้นผลด้านบวกที่ตามมา
: ทาบันทึกอาหารที่บริโภค ออกกาลังกาย
และชั่งน้าหนักสม่าเสมอ
: ให้รางวัลตนเอง
: ขอให้ครอบครัวและเพื่อนชมและให้กาลังใจ
การสร้างพฤติกรรมใหม่
เดิม : กลับบ้าน เหนื่อย หิวมาก ต้องการพัก
ใหม่ : ไม่ปล่อยให้หิวมาก อาจรองท้องด้วย
อาหารเบาๆ เพื่อสุขภาพ เช่น ผลไม้ไม่หวาน
นมไขมันต่าก่อนกลับบ้าน
การสร้างพฤติกรรมใหม่ (ต่อ)
เก่า : นั่งหน้าทีวี กินขนมขบเคี้ยว น้าอัดลมไปดูไป
ใหม่ : ให้แยกการกินอาหาร ออกจากกิจกรรมอื่นๆ
กินอาหารบนโต๊ะอาหาร หากดูทีวี ให้มีแต่น้าเปล่า
หรือเครื่องดื่มที่ไม่มีพลังงานอยู่บนโต๊ะ
การสร้างพฤติกรรมใหม่ (ต่อ)
เก่า : เหงา เบื่อ เซ็ง... ดูทีวี กินอาหารไป
ใหม่ : หากเหงา เบื่อ คุยกับเพื่อนหรือญาติที่ไว้ใจ
หรืออาจจะระบายความรู้สึกโดยการเขียนไดอารี
หรือวาดรูป หรือไปเล่นกีฬา ทาสวน รดน้าต้นไม้
หรือไปทาผมทาเล็บ
การสร้างพฤติกรรมใหม่ (ต่อ)
เก่า : อารมณ์เศร้า เสียใจ ผิดหวัง...กิน กิน กิน
ใหม่ : วิธีการแก้ไขอารมณ์เศร้า คือ
การออกกาลังกาย เดิน วิ่ง ว่ายน้า ตีเทนนิส
ปั่นจักรยาน ไปฟิตเนส ทาให้อารมณ์ไปปลดปล่อย
หลังออกกาลังกาย สารแห่งความสุข (endophine) หลั่ง
การลดน้าหนัก
๑. ปรับวิถีชีวิต วิถีชีวิตที่มีสุขภาพดีโดยต้องมี
: ความรู้ อาหาร และออกกาลังกาย
: ทัศนคติที่ดี (ทางบวก)
: แรงจูงใจ
๒. ลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลงทีละน้อย
๓. ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหว และการออกกาลังกาย
ที่เหมาะสม
- ทาตัวสดชื่นมีชีวิตชีวาตลอดวัน กระฉับกระเฉง
- มีความกระตือรือร้นที่จะออกกาลังกายอยู่เสมอ
- ทาตัวสนุกสนานมีความสุขกับชีวิต
- ลดกิจกรรมที่อยู่กับที่
๔. จัดการกับความเครียดและอารมณ์
การเปลี่ยนแปลงนิสัย
การรับประทานอาหาร
ที่เกิดจากความเชื่อ
๑. รับประทานปลาดิบแล้วเป็นโรคพยาธิตัวจี๊ด
ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ไข่
โรคพยาธิตัวจี๊ด ตัวอ่อนจะไชไปตามบริเวณ
ต่าง ๆ ในร่างกายทาให้เกิดอาการแสดงตาม
ตาแหน่งที่มีพยาธิอยู่ เช่น ไชไปตามเนื้อเยื่อใต้
ผิวหนังก็เกิดอาการบวมเคลื่อนที่ หรือเข้าสมอง
ก็เกิดสมองอักเสบ เป็นต้น
๒. รับประทานตับไก่ แก้โรคตาฟาง และ
ตานขโมยได้
๓. รับประทานไข่ไก่ทาให้ร่างกายแข็งแรง
๔. ไข่ไก่และไข่เป็ดมีคุณค่าทางอาหารใกล้เคียง
กัน



๕. รับประทานเนื้อดิบ เลือดดิบ บารุงกาลัง
และให้ประโยชน์ดีกว่ารับประทานสุก
๖. รับประทานไข่ ทาให้แผลผ่าตัดนูน


ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารประเภทแป้ง
๑. รับประทานทั้งทอฟฟี่ หรือขนมหวานทาให้ฟันผุ
๒. ข้าวแดงข้าวซ้อมมือมีคุณค่าสู้ข้าวขาวไม่ได้
๓. เวลาเป็นแผลห้ามรับประทานข้าวเหนี่ยวเพราะ
จะทาให้เป็นหนอง



ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารประเภทผักและผลไม้
๑. รับประทานผักบุ้งทาให้ตาหวาน
๒. รับประทานมะเขือเทศทาให้แก้มแดงและ
ผิวพรรณดี
๓. รับประทานมะละกอสุกเป็นยาระบายท้อง
๔. รับประทานน้ามะนาวช่วยลดความอ้วน
๕. รับประทานเมล็ดมะเขือ เมล็ดฝรั่ง ทาให้เป็น
ไส้ติ่งอักเสบ


ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหารเสริม
๑. ซุปไก่สกัด เป็นอาหารเสริมบารุงกาลัง
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหารเสริม (ต่อ)
๒. รังนก เป็นอาหารชั้นสูง มีราคาแพง
ความรู้เกี่ยวกับอาหารจานด่วน
อาหารจานด่วนคืออะไร?
อาหารที่ปรุงเสร็จในเวลา
อันรวดเร็ว ทันเวลา และพร้อม
กินได้ทันที
โรคที่แฝงมากับอาหารจานด่วน
๑. โรคกระดูกข้ออักเสบ
กระดูกสัน
หลังข้อสะโพก
และข้อเข่าล้า
ทาให้กระดูกอ่อน
เสื่อมสภาพ
ช่องข้อต่อจะหด
แคบลงและ
กระดูกข้อต่อจะ
บดทับกัน
๒. โรคหัวใจ
การสะสมลิ่มเลือดในหลอดเลือดแดง ความดันโลหิต
ความเค็มปริมาณสูง
๓. โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่
๔. โรคตับ
๕. โรคเบาหวาน
ร่างกายเกิดภาวะการต่อต้านอินซูลิน ทาให้มีการสะสมกลูโคส
๖. ภาวะไขมันในเลือดสูง
๖. ภาวะไขมันในเลือดสูง
เมนูทางเลือก : อาหารจานด่วน
๑. ปลาและมันฝรั่งทอด
ทางเลือก : ขนมปังโฮลวีท สลัดผักกาดแก้ว มะเขือเทศ
หอม น้ามันมะกอก และน้ามะนาว
เมนูทางเลือก : อาหารจานด่วน
๒. แซนวิชกับแอปเปิ้ล ๑ ผล
ทางเลือก : แซนวิชขนมปังโฮลวีทไส้ปลาทูน่ากับ
ผักกาดแก้ว และแอปเปิ้ลไม่ปอกเปลือก
เมนูทางเลือก : อาหารจานด่วน
๓. พิซซ่า
ทางเลือก : แป้งพิซซ่าที่ทาจากแป้งโฮลวีทจะช่วย
เพิ่มใยอาหารมะเขือเทศให้ โปรตีน แคลเซียม และฟอสฟอรัส
เมนูทางเลือก : อาหารจานด่วน
๔. เบอร์เกอร์เนื้อ มันฝรั่งทอดและมิลกเชก์ (นมปั่น)
ทางเลือก : สลัดที่ใส่พาสต้าชนิดที่ทาจากแป้งโฮลวีทกับ
ผักสดนึ่งพอสุก
ผลที่เกิดจากการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง
๑. เกิดโรคขาดสารอาหาร
๑.๑ โรคขาดโปรตีนและแคลอรี
๑.๒ โรคขาดวิตามิน
๑.๓ โรคขาดแร่ธาตุ
ผลที่เกิดจากการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง
๒. ร่างกายไม่เจริญเติบโตตามพัฒนาการของร่างกาย
๓. ได้ประชาชนที่มีคุณภาพต่า
๔. ทาให้เศรษฐกิจของประเทศเสียหาย
๕. ปัญหาการได้รับสารอาหารเกินและโรคที่เกี่ยวข้อง
ภาวะน้าหนักเกิน หรือโรคอ้วน
สุขนิสัยการบริโภค
- บริโภคอาหารสุก
- ใช้ช้อนกลาง
- การล้างมือก่อนการรับประทานอาหาร
- การหยิบจับภาชนะไม่ควรจับบริเวณที่สัมผัสอาหาร
- ไม่ควรไอ-จามลงสู่อาหารและภาชนะอุปกรณ์
- เลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
- ไม่รับประทานอาหารร่วมกับผู้ป่วยที่เป็นโรคร้ายแรง

More Related Content

What's hot

โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารWanlop Chimpalee
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 

What's hot (20)

โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 

Similar to บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค

งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว4LIFEYES
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษาkrusupkij
 
Healthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdf
Healthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdfHealthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdf
Healthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdfmaruay songtanin
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 

Similar to บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค (20)

งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
Healthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdf
Healthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdfHealthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdf
Healthy at 100 สุขภาวะถึง 100 ปี.pdf
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 

บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค