SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
สรุป กลุ่ม ที่ 1
ความรู้พ ื้น ฐานเกี่ย วกับ ระบบฐานข้อ มูล
งานในองค์การไม่ว่าจะเป็นองค์การขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ ต่างก็ต้องมีข้อมูลของการทำา งาน หรือ
ข้อมูลทางธุรกิจในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นอาจมีทั้งข้อมูลพนักงาน ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลที่เป็นความลับทาง
ธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนั้นข้อมูลขององค์การดังกล่าวยังอาจมีความสำาคัญมากน้อยต่างกัน มีผู้ใช้ข้อมูลเฉพาะกลุ่ม
หรือทุกกลุ่มได้ตามความจำาเป็นและตามลำาดับชั้นความลับ สิ่งสำาคัญคือ ข้อมูลขององค์การหนึ่งย่อมมีความเกี่ยวข้อง
กันและควรที่จะนำามารวมไว้ใน “ฐานข้อมูล” (Database)
ความหมาย
มีคำาอธิบายความหมายของ “ฐานข้อมูล” อยู่มากมายหลายคามหมาย ตัวอย่างเช่น
ฐานข้ อ มู ล อาจถื อ ได้ ว่ า เป็ น ตู้ เ ก็ บ เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ค ส์ ช นิ ด หนึ่ ง เช่ น เป็ น ที่ ร วมหรื อ เป็ น ที่ บ รรจุ แ ฟ้ ม ข้ อ มู ล
คอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง เป็นต้น (A database can be regarded as a kind of electronic filing cabinet.)
ฐานข้อมูลเป็นชุดของข้อมูลที่คงทน (Persistent Data) ซึ่งถูกเรียกใช้โดยระบบโปรแกรมของกิจการใดกิจการหนึ่ง
(A database is a collection of persistent data that is used by the application systems of some given enterprise.)
ข้อมูลจะคงทนอยู่ในฐานข้อมูลเพราะเมื่อระบบจัดการฐานข้อมูลรับข้อมูลนั้นเข้าสู่ฐานข้อมูลแล้ว ใครจะขจัดหรือ
เอาข้อมูลออกไปจากฐานข้อมูลได้ต้องมีการร้องขอต่อระบบจัดการฐานข้อมูลเท่านั้น ตัวอย่างข้อมูลที่คงทนในฐาน
ข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูล ในที่นี้หมายถึง ตัวแบบข้อมูล (Data Model) ของฐานข้อมูลชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีผู้รู้คิดค้นขึ้นมา
ก่อนอื่นเราควรต้องทราบความหมายของคำาว่า “ข้อมูล” ก่อน
ข้อ มูล คือ ข้อ เท็จ จริงที่ใ ห้มา ซึ่งสามารถอนุมานข้อ เท็จ จริงเพิ่มเติมขึ้ นมาได้ (“Data” refers to given facts from
which additional facts can be inferred.)
ข้ อ เท็จ จริ ง ที่ ใ ห้ ม า คือ ประพจน์ ที่ เ ป็ น จริ ง เชิ ง ตรรกศาสตร์ (“Given fact” is a logically true proposition.) ดั ง นั้ น
ความหมายฐานข้อมูลในมุมมองนี้ ก็คือ ชุดของประพจน์ที่เป็นจริงดังกล่าว (A database is a collection of such true
propositions.)
ตัวแบบข้อมูล เป็นคำา จำา กัดความเชิงตรรกะ เป็นนามธรรม บริบูรณ์ในตัวเอง ของวัตถุ ตัวกระทำา ทางคณิตศาสตร์
และ ฯลฯ ซึ่งรวมกันแล้วประกอบเข้าเป็นเครื่องจักรนามธรรมที่ผู้ใช้โต้ตอบได้ วัตถุดังกล่าวทำาให้เราสามารถจำาลอง
โครงสร้างข้อมูลได้

สรุป กลุ่ม ที่2
สถาปัต ยกรรมระบบฐานข้อ มูล (Database System Architecture)
เป็นกรอบสำาหรับใช้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลทั่วไปและสำาหรับอธิบายโครงสร้างของระบบฐานข้อมูล
แต่ไม่ได้หมายความว่าระบบฐานข้อมูลทุกระบบจะต้องเป็นไปตามกรอบ
เพราะบางระบบที่เป็นระบบขนาดเล็กอาจไม่จำาเป็นต้องทุกลักษณะตามสถาปัตยกรรมนี้
อย่างไรก็ตาม
เราถือว่าสถาปัตยกรรมนี้เหมาะสมกับระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นอย่างดีและเป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงาน AN
SI/SPARC ได้กำาหนดไว้ ANSI/SPARC Study Group on Data Base Management System เป็นหน่วยงานที่
ทำาหน้าทีกำาหนดมาตรฐานทั่วไปของระบบฐานข้อมูลในสหรัฐฯ
่
ระดับ ของสถาปัต ยกรรม แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับภายใน (The Internal Level) บางทีเรียกว่า the physical level ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียงกับการจัดเก็บทาง
กายภาพมากที่สุด
2. ระดับภายนอก (The External Level) ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียงกับผูใช้มากที่สุด
้
3. ระดับแนวคิด (The Conceptual Level) ซึ่งเป็นระดับที่อยูกลางทางระหว่างของระดับที่กล่าวมา
่
ความสำา คัญ ของระบบฐานข้อ มูล
1. ความกะทัดรัด การบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลไว้ได้เป็นจำานวนมากในที่เดียวกัน อยู่ในสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งประหยัดพื้นที่
ไม่เกะกะอย่างในเอกสารที่เป็นกระดาษ
2. ความรวดเร็ว เครืองคอมพิวเตอร์ในระบบฐานข้อมูลสามารถค้นคืนและปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ได้เร็วกว่า
่
มือมนุษย์มาก
3. ความเบือหน่ายน้อยกว่า
่
ในการดูแลรักษาแฟ้มข้อมูลที่เป็นกระดาษเป็นงานที่หนักกว่ามากหากเปรียบเทียบกับแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่
ในระบบฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
4. ความถูกต้องเป็นปัจจุบัน
ประโยชน์ข องระบบฐานข้อ มูล
ความเป็น อิส ระของข้อ มูล (Dataindependence)
จุดประสงค์หลักของสถาปัตยกรรม
3 ระดับ
ความเป็น อิส ระของข้อ มูล ทางตรรกะ (Logical dataindependence)
ความเป็น อิส ระของข้อ มูล ในระดับ กายภาพ (Physical datindependence)
แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models)
แบบจำา ลองข้อ มูล เชิง วัต ถุ( Object- BasedData Models)
แบบจำา ลองเชิง รายการ (Record- BasedData Models)
แบบจำา ลองแบบลำา ดับ ชั้น (HierarchicalData Model)
การออกแบบแฟ้ม ข้อ มูล และฐานข้อ มูล
3.

(Designing Databases)

การออกแบบฐานข้อ มูล (database design)
3.1 แบบจำำ ลองข้อ มูล อีอ ำร์ด ี (Entity- Relationship Diagram -ERD)
3.2

กำรทำำ ข้อ มูล ให้เ ป็น บรรทัด ฐำน (normalization)

สรุป กลุ่ม ที่3

ระบบฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational
Database) เป็นฐำนข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์
(Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิง
สัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช้หลักพื้นฐำนทำง
คณิตศำสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของแบบจำำลองแบบนี้มี
ลักษณะที่คนใช้กันทั่วกล่ำวคือมีกำรเก็บเป็นตำรำง ทำำให้
ง่ำยต่อกำรเข้ำใจและกำรประยุกต์ใช้งำน ด้วยเหตุนี้
ระบบฐำนข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับควำมนิยมมำกที่สุด ใน
แง่ของ entity แบบจำำลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูลในรูป
ตำรำง และ attribute ก็เปรียบเหมือนเขตข้อมูล ส่วน
ควำมสัมพันธ์คือควำมสัมพันธ์ระหว่ำง entity
ฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ กำรเก็บข้อมูลในรูปของตำรำง
(Table) หลำยๆตำรำงที่มีควำมสัมพันธ์กัน ในแต่ละ
ตำรำงแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็น
คอลัมน์ (Column) ในทำงทฤษฎีจะมีคำำศัพท์เฉพำะแตก
ต่ำงออกไป เนื่องจำกแบบจำำลองแบบนี้เกิดจำกทฤษฎีทำง
คณิตศำสตร์เรื่องเซ็ท (Set)
1 ควำมหมำยของฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์
2 โครงสร้ำงของข้อมูล (Data Structure)
3 กฎที่เกี่ยวข้องกับกำรรักษำควำมถูกต้อง
4 กำรจัดกำรกับข้อมูล (Data manipulation)
สรุป กลุ่ม ที่5

กำรใช้งำนคำำสั่งภำษำ SQL
บทนำำ สู่ก ำรเขีย นโปรแกรม SQL ใน Access
เมื่อคุณต้องกำรเรียกใช้ข้อมูลจำกฐำนข้อมูล คุณขอข้อมูลนั้นโดยใช้ Structured Query
Language (SQL) SQL เป็นภำษำคอมพิวเตอร์ที่มีควำมคล้ำยคลึงกับภำษำอังกฤษ ที่ใช้สื่อสำร
กับโปรแกรมฐำนข้อมูล ทุกแบบสอบถำมที่คุณเรียกใช้จะใช้ SQL อยู่เบื้องหลัง
กำรทำำควำมเข้ำใจวิธีกำรทำำงำนของ SQL จะช่วยให้คุณสำมำรถสร้ำงแบบสอบถำมที่ดยิ่งขึ้น
ี
และยังช่วยให้คุณเข้ำใจวิธแก้ไขแบบสอบถำม ซึงไม่สงกลับผลลัพธ์ที่คุณต้องกำรได้งำยขึ้นด้วย
ี
่
่
่
หมำยเหตุ คุณไม่สำมำรถแก้ไข SQL ของแบบสอบถำมเว็บได้
SQL คือ อะไร
SQL เป็นภำษำคอมพิวเตอร์สำำหรับทำำงำนกับชุดข้อมูลและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงชุดข้อมูลต่ำงๆ
โปรแกรมฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เช่น Microsoft Office Access จะใช้ SQL ในกำรทำำงำนกับ
ข้อมูล SQL เป็นภำษำทีผู้ใช้สำมำรถอ่ำนและทำำควำมเข้ำใจได้ไม่ยำก แม้แต่กับผู้ใช้ระดับเริ่ม
่
ต้น ซึงต่ำงจำกภำษำคอมพิวเตอร์อื่นๆ SQL เป็นมำตรฐำนระดับสำกลที่หน่วยงำนกำำหนด
่
มำตรฐำน เช่น ISO และ ANSI ให้กำรรับรอง เช่นเดียวกับภำษำคอมพิวเตอร์อื่นๆ
คำำ สัง SELECT
่
เมื่อต้องกำรอธิบำยเกี่ยวกับชุดข้อมูลโดยใช้ SQL คุณจะใช้คำำสัง SELECT คำำสัง SELECT
่
่
ประกอบด้วยคำำอธิบำยอย่ำงละเอียดเกี่ยวกับชุดข้อมูลที่คุณต้องกำรจำกฐำนข้อมูล
ส่ว นคำำ สั่ง SQL
คำำสัง SQL หนึ่งคำำสังประกอบด้วยส่วนคำำสั่งต่ำงๆ เหมือนกับประโยค ซึ่งแต่ละส่วนคำำสั่งจะทำำ
่
่
หนึ่งหน้ำที่สำำหรับคำำสัง SQL ส่วนคำำสั่งบำงอย่ำงนั้นจำำเป็นต้องมีในคำำสัง SELECT ตำรำงต่อ
่
่
ไปนี้แสดงส่วนคำำสัง SQL ที่ใช้บ่อย
่
คำำ ที่ใ ช้ใ น SQL
ส่วนคำำสั่ง SQL แต่ละส่วนจะประกอบด้วยคำำต่ำงๆ ซึ่งเทียบได้กับส่วนต่ำงๆ ของประโยค ตำรำง
ต่อไปนีแสดงชนิดของคำำที่ใช้ใน SQL
้
ส่ว นคำำ สั่ง SQL พื้น ฐำน: SELECT, FROM และ WHERE
คำำสัง SQL มีรูปแบบทั่วไป
่
สรุป กลุ่ม ที่6
ฐานข้อ มูล คือ อะไร
ฐานข้อมูลเป็นเครืองมือสำาหรับการเก็บรวบรวมและจัดระเบียบข้อมูล ฐานข้อมูลสามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
่
ผลิตภัณฑ์ ใบสั่งซื้อ หรือสิ่งอื่นใดก็ได้ ฐานข้อมูลจำานวนมากเริ่มมาจากรายการในโปรแกรมประมวลผลคำาหรือ
โปรแกรมกระดาษคำานวณ เมื่อรายการมีขนาดใหญ่ขึ้น ความซำ้าซ้อนและความไม่สอดคล้องกันของข้อมูลจะเริ่ม
ปรากฏขึ้น การดูข้อมูลในฟอร์มรายการเริ่มไม่เข้าใจ และมีข้อจำากัดในการค้นหาหรือดึงเซตย่อยของข้อมูลมาตรวจ
ทาน เมื่อปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นแล้ว จึงเป็นการดีที่จะโอนถ่ายข้อมูลไปยังฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นด้วยระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล (DBMS) เช่น Office Access 2007
ฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์เป็นคอนเทนเนอร์ของวัตถุ โดยฐานข้อมูลหนึ่งชุดสามารถมีตารางได้มากกว่าหนึ่ง
ตาราง ตัวอย่างเช่น ระบบติดตามสินค้าคงคลังหนึ่งระบบจะใช้ข้อมูลจากตารางสามตารางไม่ใช่จากฐานข้อมูลสาม
ชุด แต่ฐานข้อมูลหนึ่งชุดนั้นสามารถมีตารางได้สามตาราง เว้นแต่ว่าฐานข้อมูลนั้นจะถูกออกแบบพิเศษให้ใช้ข้อมูล
หรือโค้ดจากแหล่งข้อมูลอื่นได้ ฐานข้อมูล Access จะเก็บตารางไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียว พร้อมกับวัตถุอื่นด้วย เช่น
ฟอร์ม รายงาน แมโคร และโมดูล โดยฐานข้อมูลที่สร้างในรูปแบบ Access 2007 จะมีนามสกุลเป็น .accdb และฐาน
ข้อมูลที่สร้างในรูปแบบของ Access รุ่นก่อนหน้าจะมีนามสกุลแฟ้มเป็น .mdb คุณสามารถใช้ Access 2007 สร้าง
แฟ้มข้อมูลในรูปแบบแฟ้มของรุ่นก่อนหน้าได้ (ตัวอย่างเช่น Access 2000 และ Access 2002-2003)
การใช้ Access จะทำาให้คุณสามารถ
เพิ่มข้อมูลใหม่ลงในฐานข้อมูล เช่น รายการใหม่ในสินค้าคงคลัง
แก้ไขข้อมูลที่มอยู่ในฐานข้อมูล เช่น การเปลี่ยนตำาแหน่งที่ตั้งปัจจุบันของรายการ
ี
ลบข้อมูล ถ้ารายการถูกขายออกหรือละทิ้งแล้ว
จัดระเบียบและดูขอมูลด้วยวิธต่างๆ
้
ี
ใช้ข้อมูลร่วมกันกับผูอื่นผ่าานทางรายงาน ข้อความอีเมล อินทราเน็ต หรืออินเทอร์เน็ต
้
1 Access สามารถช่ว ยเราทำา อะไรได้บ ้า ง
1. สามารถสร้างระบบฐานข้อมูลใช้งานต่างๆได้โดยง่าย เช่นโปรแกรมบัญชีรายรับ รายจ่ายโปรแกรมควบคุมสินค้า
โปรแกรมฐานข้อมูลอื่นๆเป็นต้นซึ่งสามารถทำาได้โดยงานเพราะ Access มีเครื่องมือต่างๆ ให้ใช้ในการสร้าง
โปรแกรมได้โดยง่าย และรวดเร็วโปรแกรมที่สร้างขึ้นสามารถตอบสนองผู้ใช้ได้ตาม
ต้องการ เช่น การสอบถามยอดสินค้าการเพิ่มสินค้า การลบสินค้า การแก้ไขข้อมูลสินค้า เป็นต้น
2. สามารถสร้างรายงานเพื่อ แสดงข้อมูลที่ตองการ ตามที่ผู้ใช้งานต้องการ
้
3. สามารถสร้างระบบฐานข้อมูล เพื่อนำาไปใช้ร่วมกับฐานข้อมูลอื่น ๆ ได้ โดยง่าย เช่น SQL SERVER
ORACLE ได้
4. สามารถนำาเสนอข้อมูลออกสู่ ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ก็สามารถทำาได้โดยง่าย และอีกมากมายในระบบฐาน
ข้อมูลที่ผใช้งานต้องการ
ู้
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access
ส่วนต่างๆ ต่อไปนี้เป็นการอธิบายส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access โดยทั่วไปแบบย่อ เมื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติม
ในแต่ละส่วน ให้ติดตามการเชื่อมโยงในส่วน ดูเ พิ่ม เติม ของบทความนี้
ส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access
ส่วนต่างๆ ต่อไปนี้เป็นการอธิบายส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access โดยทั่วไปแบบย่อ เมื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติม
ในแต่ละส่วน ให้ติดตามการเชื่อมโยงในส่วน ดูเ พิ่ม เติม ของบทความนี้

More Related Content

What's hot

หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุAmIndy Thirawut
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkanjana123
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisSakarin Habusaya
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลkunanya12
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 

What's hot (16)

หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcis
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 

Viewers also liked

Ahli jawatankuasa
Ahli jawatankuasaAhli jawatankuasa
Ahli jawatankuasasabiha1965
 
положение о формах получения образования
положение о формах получения образованияположение о формах получения образования
положение о формах получения образованияMichael Manzik
 
กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน
กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน
กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน Khanut Anusatsanakul
 
Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015
Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015
Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015DEDI SUTARDI
 
Chapter 3: Persuading Your Audience
Chapter 3:  Persuading Your AudienceChapter 3:  Persuading Your Audience
Chapter 3: Persuading Your Audiencejoancrittenden
 
Chapter 5: Teamwork and Global Considerations
Chapter 5: Teamwork and Global ConsiderationsChapter 5: Teamwork and Global Considerations
Chapter 5: Teamwork and Global Considerationsjoancrittenden
 
Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)
Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)
Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)Nagita Devi
 
Chapter 4: Weighing the Ethical Issues
Chapter 4: Weighing the Ethical IssuesChapter 4: Weighing the Ethical Issues
Chapter 4: Weighing the Ethical Issuesjoancrittenden
 
Chapter 2: Meeting the Needs of Specific Audiences
Chapter 2: Meeting the Needs of Specific AudiencesChapter 2: Meeting the Needs of Specific Audiences
Chapter 2: Meeting the Needs of Specific Audiencesjoancrittenden
 
Thinking Critically about the Research Process
Thinking Critically about the Research ProcessThinking Critically about the Research Process
Thinking Critically about the Research Processjoancrittenden
 
Chapter 6: An Overview of the Technical Writing Process
Chapter 6: An Overview of the Technical Writing ProcessChapter 6: An Overview of the Technical Writing Process
Chapter 6: An Overview of the Technical Writing Processjoancrittenden
 
Powerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah Kudus
Powerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah KudusPowerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah Kudus
Powerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah KudusNagita Devi
 
Chapter 1: Introduction to Technical Communications
Chapter 1: Introduction to Technical CommunicationsChapter 1: Introduction to Technical Communications
Chapter 1: Introduction to Technical Communicationsjoancrittenden
 

Viewers also liked (15)

Ahli jawatankuasa
Ahli jawatankuasaAhli jawatankuasa
Ahli jawatankuasa
 
положение о формах получения образования
положение о формах получения образованияположение о формах получения образования
положение о формах получения образования
 
กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน
กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน
กิจกรรม ร่วมการแข่งขัน
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015
Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015
Permen Desa, Pemb Daerah Tertinggal & Transmigrasi No. 5 Th 2015
 
Relato autobiografico
Relato autobiograficoRelato autobiografico
Relato autobiografico
 
Chapter 3: Persuading Your Audience
Chapter 3:  Persuading Your AudienceChapter 3:  Persuading Your Audience
Chapter 3: Persuading Your Audience
 
Chapter 5: Teamwork and Global Considerations
Chapter 5: Teamwork and Global ConsiderationsChapter 5: Teamwork and Global Considerations
Chapter 5: Teamwork and Global Considerations
 
Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)
Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)
Powerpoint Posisi Meneran Saat Persalinan-Gita(Stikes Muhammadiyah Kudus)
 
Chapter 4: Weighing the Ethical Issues
Chapter 4: Weighing the Ethical IssuesChapter 4: Weighing the Ethical Issues
Chapter 4: Weighing the Ethical Issues
 
Chapter 2: Meeting the Needs of Specific Audiences
Chapter 2: Meeting the Needs of Specific AudiencesChapter 2: Meeting the Needs of Specific Audiences
Chapter 2: Meeting the Needs of Specific Audiences
 
Thinking Critically about the Research Process
Thinking Critically about the Research ProcessThinking Critically about the Research Process
Thinking Critically about the Research Process
 
Chapter 6: An Overview of the Technical Writing Process
Chapter 6: An Overview of the Technical Writing ProcessChapter 6: An Overview of the Technical Writing Process
Chapter 6: An Overview of the Technical Writing Process
 
Powerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah Kudus
Powerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah KudusPowerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah Kudus
Powerpoint Menstruasi-Gita Stikes Muhammadiyah Kudus
 
Chapter 1: Introduction to Technical Communications
Chapter 1: Introduction to Technical CommunicationsChapter 1: Introduction to Technical Communications
Chapter 1: Introduction to Technical Communications
 

Similar to สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6

การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 

Similar to สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6 (20)

การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Data Mining
Data MiningData Mining
Data Mining
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
Act
ActAct
Act
 

สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6

  • 1. สรุป กลุ่ม ที่ 1 ความรู้พ ื้น ฐานเกี่ย วกับ ระบบฐานข้อ มูล งานในองค์การไม่ว่าจะเป็นองค์การขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ ต่างก็ต้องมีข้อมูลของการทำา งาน หรือ ข้อมูลทางธุรกิจในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นอาจมีทั้งข้อมูลพนักงาน ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลที่เป็นความลับทาง ธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนั้นข้อมูลขององค์การดังกล่าวยังอาจมีความสำาคัญมากน้อยต่างกัน มีผู้ใช้ข้อมูลเฉพาะกลุ่ม หรือทุกกลุ่มได้ตามความจำาเป็นและตามลำาดับชั้นความลับ สิ่งสำาคัญคือ ข้อมูลขององค์การหนึ่งย่อมมีความเกี่ยวข้อง กันและควรที่จะนำามารวมไว้ใน “ฐานข้อมูล” (Database) ความหมาย มีคำาอธิบายความหมายของ “ฐานข้อมูล” อยู่มากมายหลายคามหมาย ตัวอย่างเช่น ฐานข้ อ มู ล อาจถื อ ได้ ว่ า เป็ น ตู้ เ ก็ บ เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ค ส์ ช นิ ด หนึ่ ง เช่ น เป็ น ที่ ร วมหรื อ เป็ น ที่ บ รรจุ แ ฟ้ ม ข้ อ มู ล คอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง เป็นต้น (A database can be regarded as a kind of electronic filing cabinet.) ฐานข้อมูลเป็นชุดของข้อมูลที่คงทน (Persistent Data) ซึ่งถูกเรียกใช้โดยระบบโปรแกรมของกิจการใดกิจการหนึ่ง (A database is a collection of persistent data that is used by the application systems of some given enterprise.) ข้อมูลจะคงทนอยู่ในฐานข้อมูลเพราะเมื่อระบบจัดการฐานข้อมูลรับข้อมูลนั้นเข้าสู่ฐานข้อมูลแล้ว ใครจะขจัดหรือ เอาข้อมูลออกไปจากฐานข้อมูลได้ต้องมีการร้องขอต่อระบบจัดการฐานข้อมูลเท่านั้น ตัวอย่างข้อมูลที่คงทนในฐาน ข้อมูล รูปแบบของฐานข้อมูล ในที่นี้หมายถึง ตัวแบบข้อมูล (Data Model) ของฐานข้อมูลชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีผู้รู้คิดค้นขึ้นมา ก่อนอื่นเราควรต้องทราบความหมายของคำาว่า “ข้อมูล” ก่อน ข้อ มูล คือ ข้อ เท็จ จริงที่ใ ห้มา ซึ่งสามารถอนุมานข้อ เท็จ จริงเพิ่มเติมขึ้ นมาได้ (“Data” refers to given facts from which additional facts can be inferred.) ข้ อ เท็จ จริ ง ที่ ใ ห้ ม า คือ ประพจน์ ที่ เ ป็ น จริ ง เชิ ง ตรรกศาสตร์ (“Given fact” is a logically true proposition.) ดั ง นั้ น ความหมายฐานข้อมูลในมุมมองนี้ ก็คือ ชุดของประพจน์ที่เป็นจริงดังกล่าว (A database is a collection of such true propositions.) ตัวแบบข้อมูล เป็นคำา จำา กัดความเชิงตรรกะ เป็นนามธรรม บริบูรณ์ในตัวเอง ของวัตถุ ตัวกระทำา ทางคณิตศาสตร์ และ ฯลฯ ซึ่งรวมกันแล้วประกอบเข้าเป็นเครื่องจักรนามธรรมที่ผู้ใช้โต้ตอบได้ วัตถุดังกล่าวทำาให้เราสามารถจำาลอง โครงสร้างข้อมูลได้ สรุป กลุ่ม ที่2
  • 2. สถาปัต ยกรรมระบบฐานข้อ มูล (Database System Architecture) เป็นกรอบสำาหรับใช้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลทั่วไปและสำาหรับอธิบายโครงสร้างของระบบฐานข้อมูล แต่ไม่ได้หมายความว่าระบบฐานข้อมูลทุกระบบจะต้องเป็นไปตามกรอบ เพราะบางระบบที่เป็นระบบขนาดเล็กอาจไม่จำาเป็นต้องทุกลักษณะตามสถาปัตยกรรมนี้ อย่างไรก็ตาม เราถือว่าสถาปัตยกรรมนี้เหมาะสมกับระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นอย่างดีและเป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงาน AN SI/SPARC ได้กำาหนดไว้ ANSI/SPARC Study Group on Data Base Management System เป็นหน่วยงานที่ ทำาหน้าทีกำาหนดมาตรฐานทั่วไปของระบบฐานข้อมูลในสหรัฐฯ ่ ระดับ ของสถาปัต ยกรรม แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับภายใน (The Internal Level) บางทีเรียกว่า the physical level ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียงกับการจัดเก็บทาง กายภาพมากที่สุด 2. ระดับภายนอก (The External Level) ซึ่งเป็นระดับที่ใกล้เคียงกับผูใช้มากที่สุด ้ 3. ระดับแนวคิด (The Conceptual Level) ซึ่งเป็นระดับที่อยูกลางทางระหว่างของระดับที่กล่าวมา ่ ความสำา คัญ ของระบบฐานข้อ มูล 1. ความกะทัดรัด การบันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลไว้ได้เป็นจำานวนมากในที่เดียวกัน อยู่ในสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งประหยัดพื้นที่ ไม่เกะกะอย่างในเอกสารที่เป็นกระดาษ 2. ความรวดเร็ว เครืองคอมพิวเตอร์ในระบบฐานข้อมูลสามารถค้นคืนและปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ได้เร็วกว่า ่ มือมนุษย์มาก 3. ความเบือหน่ายน้อยกว่า ่ ในการดูแลรักษาแฟ้มข้อมูลที่เป็นกระดาษเป็นงานที่หนักกว่ามากหากเปรียบเทียบกับแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ ในระบบฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ 4. ความถูกต้องเป็นปัจจุบัน ประโยชน์ข องระบบฐานข้อ มูล ความเป็น อิส ระของข้อ มูล (Dataindependence) จุดประสงค์หลักของสถาปัตยกรรม 3 ระดับ ความเป็น อิส ระของข้อ มูล ทางตรรกะ (Logical dataindependence) ความเป็น อิส ระของข้อ มูล ในระดับ กายภาพ (Physical datindependence) แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models) แบบจำา ลองข้อ มูล เชิง วัต ถุ( Object- BasedData Models) แบบจำา ลองเชิง รายการ (Record- BasedData Models) แบบจำา ลองแบบลำา ดับ ชั้น (HierarchicalData Model) การออกแบบแฟ้ม ข้อ มูล และฐานข้อ มูล 3. (Designing Databases) การออกแบบฐานข้อ มูล (database design)
  • 3. 3.1 แบบจำำ ลองข้อ มูล อีอ ำร์ด ี (Entity- Relationship Diagram -ERD) 3.2 กำรทำำ ข้อ มูล ให้เ ป็น บรรทัด ฐำน (normalization) สรุป กลุ่ม ที่3 ระบบฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ระบบฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐำนข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิง สัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช้หลักพื้นฐำนทำง คณิตศำสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของแบบจำำลองแบบนี้มี ลักษณะที่คนใช้กันทั่วกล่ำวคือมีกำรเก็บเป็นตำรำง ทำำให้ ง่ำยต่อกำรเข้ำใจและกำรประยุกต์ใช้งำน ด้วยเหตุนี้ ระบบฐำนข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับควำมนิยมมำกที่สุด ใน แง่ของ entity แบบจำำลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูลในรูป ตำรำง และ attribute ก็เปรียบเหมือนเขตข้อมูล ส่วน ควำมสัมพันธ์คือควำมสัมพันธ์ระหว่ำง entity ฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ กำรเก็บข้อมูลในรูปของตำรำง (Table) หลำยๆตำรำงที่มีควำมสัมพันธ์กัน ในแต่ละ ตำรำงแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็น คอลัมน์ (Column) ในทำงทฤษฎีจะมีคำำศัพท์เฉพำะแตก ต่ำงออกไป เนื่องจำกแบบจำำลองแบบนี้เกิดจำกทฤษฎีทำง คณิตศำสตร์เรื่องเซ็ท (Set) 1 ควำมหมำยของฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2 โครงสร้ำงของข้อมูล (Data Structure) 3 กฎที่เกี่ยวข้องกับกำรรักษำควำมถูกต้อง 4 กำรจัดกำรกับข้อมูล (Data manipulation)
  • 4. สรุป กลุ่ม ที่5 กำรใช้งำนคำำสั่งภำษำ SQL บทนำำ สู่ก ำรเขีย นโปรแกรม SQL ใน Access เมื่อคุณต้องกำรเรียกใช้ข้อมูลจำกฐำนข้อมูล คุณขอข้อมูลนั้นโดยใช้ Structured Query Language (SQL) SQL เป็นภำษำคอมพิวเตอร์ที่มีควำมคล้ำยคลึงกับภำษำอังกฤษ ที่ใช้สื่อสำร กับโปรแกรมฐำนข้อมูล ทุกแบบสอบถำมที่คุณเรียกใช้จะใช้ SQL อยู่เบื้องหลัง กำรทำำควำมเข้ำใจวิธีกำรทำำงำนของ SQL จะช่วยให้คุณสำมำรถสร้ำงแบบสอบถำมที่ดยิ่งขึ้น ี และยังช่วยให้คุณเข้ำใจวิธแก้ไขแบบสอบถำม ซึงไม่สงกลับผลลัพธ์ที่คุณต้องกำรได้งำยขึ้นด้วย ี ่ ่ ่ หมำยเหตุ คุณไม่สำมำรถแก้ไข SQL ของแบบสอบถำมเว็บได้ SQL คือ อะไร SQL เป็นภำษำคอมพิวเตอร์สำำหรับทำำงำนกับชุดข้อมูลและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงชุดข้อมูลต่ำงๆ โปรแกรมฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เช่น Microsoft Office Access จะใช้ SQL ในกำรทำำงำนกับ ข้อมูล SQL เป็นภำษำทีผู้ใช้สำมำรถอ่ำนและทำำควำมเข้ำใจได้ไม่ยำก แม้แต่กับผู้ใช้ระดับเริ่ม ่ ต้น ซึงต่ำงจำกภำษำคอมพิวเตอร์อื่นๆ SQL เป็นมำตรฐำนระดับสำกลที่หน่วยงำนกำำหนด ่ มำตรฐำน เช่น ISO และ ANSI ให้กำรรับรอง เช่นเดียวกับภำษำคอมพิวเตอร์อื่นๆ คำำ สัง SELECT ่ เมื่อต้องกำรอธิบำยเกี่ยวกับชุดข้อมูลโดยใช้ SQL คุณจะใช้คำำสัง SELECT คำำสัง SELECT ่ ่ ประกอบด้วยคำำอธิบำยอย่ำงละเอียดเกี่ยวกับชุดข้อมูลที่คุณต้องกำรจำกฐำนข้อมูล ส่ว นคำำ สั่ง SQL คำำสัง SQL หนึ่งคำำสังประกอบด้วยส่วนคำำสั่งต่ำงๆ เหมือนกับประโยค ซึ่งแต่ละส่วนคำำสั่งจะทำำ ่ ่ หนึ่งหน้ำที่สำำหรับคำำสัง SQL ส่วนคำำสั่งบำงอย่ำงนั้นจำำเป็นต้องมีในคำำสัง SELECT ตำรำงต่อ ่ ่ ไปนี้แสดงส่วนคำำสัง SQL ที่ใช้บ่อย ่ คำำ ที่ใ ช้ใ น SQL ส่วนคำำสั่ง SQL แต่ละส่วนจะประกอบด้วยคำำต่ำงๆ ซึ่งเทียบได้กับส่วนต่ำงๆ ของประโยค ตำรำง ต่อไปนีแสดงชนิดของคำำที่ใช้ใน SQL ้ ส่ว นคำำ สั่ง SQL พื้น ฐำน: SELECT, FROM และ WHERE คำำสัง SQL มีรูปแบบทั่วไป ่
  • 5. สรุป กลุ่ม ที่6 ฐานข้อ มูล คือ อะไร ฐานข้อมูลเป็นเครืองมือสำาหรับการเก็บรวบรวมและจัดระเบียบข้อมูล ฐานข้อมูลสามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ่ ผลิตภัณฑ์ ใบสั่งซื้อ หรือสิ่งอื่นใดก็ได้ ฐานข้อมูลจำานวนมากเริ่มมาจากรายการในโปรแกรมประมวลผลคำาหรือ โปรแกรมกระดาษคำานวณ เมื่อรายการมีขนาดใหญ่ขึ้น ความซำ้าซ้อนและความไม่สอดคล้องกันของข้อมูลจะเริ่ม ปรากฏขึ้น การดูข้อมูลในฟอร์มรายการเริ่มไม่เข้าใจ และมีข้อจำากัดในการค้นหาหรือดึงเซตย่อยของข้อมูลมาตรวจ ทาน เมื่อปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นแล้ว จึงเป็นการดีที่จะโอนถ่ายข้อมูลไปยังฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นด้วยระบบการจัดการ ฐานข้อมูล (DBMS) เช่น Office Access 2007 ฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์เป็นคอนเทนเนอร์ของวัตถุ โดยฐานข้อมูลหนึ่งชุดสามารถมีตารางได้มากกว่าหนึ่ง ตาราง ตัวอย่างเช่น ระบบติดตามสินค้าคงคลังหนึ่งระบบจะใช้ข้อมูลจากตารางสามตารางไม่ใช่จากฐานข้อมูลสาม ชุด แต่ฐานข้อมูลหนึ่งชุดนั้นสามารถมีตารางได้สามตาราง เว้นแต่ว่าฐานข้อมูลนั้นจะถูกออกแบบพิเศษให้ใช้ข้อมูล หรือโค้ดจากแหล่งข้อมูลอื่นได้ ฐานข้อมูล Access จะเก็บตารางไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียว พร้อมกับวัตถุอื่นด้วย เช่น ฟอร์ม รายงาน แมโคร และโมดูล โดยฐานข้อมูลที่สร้างในรูปแบบ Access 2007 จะมีนามสกุลเป็น .accdb และฐาน ข้อมูลที่สร้างในรูปแบบของ Access รุ่นก่อนหน้าจะมีนามสกุลแฟ้มเป็น .mdb คุณสามารถใช้ Access 2007 สร้าง แฟ้มข้อมูลในรูปแบบแฟ้มของรุ่นก่อนหน้าได้ (ตัวอย่างเช่น Access 2000 และ Access 2002-2003) การใช้ Access จะทำาให้คุณสามารถ เพิ่มข้อมูลใหม่ลงในฐานข้อมูล เช่น รายการใหม่ในสินค้าคงคลัง แก้ไขข้อมูลที่มอยู่ในฐานข้อมูล เช่น การเปลี่ยนตำาแหน่งที่ตั้งปัจจุบันของรายการ ี ลบข้อมูล ถ้ารายการถูกขายออกหรือละทิ้งแล้ว จัดระเบียบและดูขอมูลด้วยวิธต่างๆ ้ ี ใช้ข้อมูลร่วมกันกับผูอื่นผ่าานทางรายงาน ข้อความอีเมล อินทราเน็ต หรืออินเทอร์เน็ต ้ 1 Access สามารถช่ว ยเราทำา อะไรได้บ ้า ง 1. สามารถสร้างระบบฐานข้อมูลใช้งานต่างๆได้โดยง่าย เช่นโปรแกรมบัญชีรายรับ รายจ่ายโปรแกรมควบคุมสินค้า โปรแกรมฐานข้อมูลอื่นๆเป็นต้นซึ่งสามารถทำาได้โดยงานเพราะ Access มีเครื่องมือต่างๆ ให้ใช้ในการสร้าง โปรแกรมได้โดยง่าย และรวดเร็วโปรแกรมที่สร้างขึ้นสามารถตอบสนองผู้ใช้ได้ตาม ต้องการ เช่น การสอบถามยอดสินค้าการเพิ่มสินค้า การลบสินค้า การแก้ไขข้อมูลสินค้า เป็นต้น 2. สามารถสร้างรายงานเพื่อ แสดงข้อมูลที่ตองการ ตามที่ผู้ใช้งานต้องการ ้ 3. สามารถสร้างระบบฐานข้อมูล เพื่อนำาไปใช้ร่วมกับฐานข้อมูลอื่น ๆ ได้ โดยง่าย เช่น SQL SERVER ORACLE ได้ 4. สามารถนำาเสนอข้อมูลออกสู่ ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ก็สามารถทำาได้โดยง่าย และอีกมากมายในระบบฐาน ข้อมูลที่ผใช้งานต้องการ ู้
  • 6. ส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access ส่วนต่างๆ ต่อไปนี้เป็นการอธิบายส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access โดยทั่วไปแบบย่อ เมื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติม ในแต่ละส่วน ให้ติดตามการเชื่อมโยงในส่วน ดูเ พิ่ม เติม ของบทความนี้
  • 7. ส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access ส่วนต่างๆ ต่อไปนี้เป็นการอธิบายส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access โดยทั่วไปแบบย่อ เมื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติม ในแต่ละส่วน ให้ติดตามการเชื่อมโยงในส่วน ดูเ พิ่ม เติม ของบทความนี้